SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 25
Descargar para leer sin conexión
1 
 
2 
 

ขอบเขตเนื้อหา
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ กรมบังคับคดี
ความรูเกี่ยวกับกรมบังคับคดี
ประวัติกรมบังคับคดี
วิสัยทัศน
พันธกิจและอํานาจหนาที่
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
อํานาจหนาที่ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
ประเภทของการบังคับคดี
การยึดทรัพย
การอายัดทรัพย
การบังคับคดีในการฟองขับไลรื้อถอน
การจําหนายทรัพย
การบังคับคดีลมละลาย
กระบวนการลมละลาย
การฟนฟูกิจการ
เงื่อนไขการฟนฟูกิจการ
การวางทรัพย
เหตุของการวางทรัพย
ทรัพยที่วางได
วิธีปฏิบัติและหนาที่ของผูวางทรัพย
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีแพง
แผนผังขั้นตอนการอายัดเงินในคดีแพง
แผนขั้นตอนการบังคับคดีขับไล-รื้อถอน
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีลมละลาย
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีแพง
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการฟนฟูกจการของลูกหนี้
ิ
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการวางทรัพย

5
5
5
6
6
7
7
8
9
9
10
10
10
11
13
13
14
15
15
16
18
20
21
22
23
25
27
3 
 

พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน 2551
ระเบียบฯ วาดวยพนักงานราชการ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง การยื่นและสงคําคูความและเอกสาร
ความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอร
ระบบเครือขาย
อินเตอรเน็ต
โปรแกรมประยุกตใชงานประเภทตางๆ
การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟแวร
ไวรัสคอมพิวเตอร
Microsoft Word
Microsoft Excel
Microsoft Powerpoint
แนวขอสอบ Microsoft Excel
แนวขอสอบ Microsoft Word
แนวขอสอบ Microsoft Powerpoint
แนวขอสอบ พนักงานราชการ
แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน
แนวขอสอบ คอมพิวเตอร

27
73
84
91
106
109
111
115
116
118
121
123
124
128
133
135
147
168
4 
 

ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมบังคับคดี
ประวัติกรมบังคับคดี
เดิ ม งานของกรมบั ง คั บ คดี มี ที่ ม าจากหน ว ยงานราชการระดั บ กองในสํ า นั ก
ปลัดกระทรวงยุติธรรม 2 กอง คือ กองบังคับคดีแพง และ กองบังคับคดีลมละลาย จนกระทั่ง
ป พ.ศ.2517 สมัยรัฐบาล ฯพณฯ ศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ เปนนายกรัฐมนตรี ทาน
กิ ต ติ สี ห นนท เปน รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงยุติธ รรมไดเห็น ความสํ าคั ญ ของทั้ ง สองกอง
ดังกลาว ประกอบกับงานบังคับคดีแพงและงานบังคับคดีลมละลายเพิ่มขึ้นมาก หนวยงานที่
จัดไวแตเดิม ไมเหมาะสมกับงานที่นับวันแตจะทวีปริมาณมากขึ้นทุกๆ ป
ดังนั้นเพื่อใหการดําเนินงานเกี่ยวกับการบังคับคดีแพง คดีลมละลาย งานเกี่ยวกับการ
วางทรัพยไดขยายอํานาจหนาที่ทั่วราชอาณาจักร รวมทั้งงานชําระบัญชีหางหุนสวนบริษัท
หรือ นิติบุคคลตามคําสั่งศาล ไดดําเนินการโดยเจาหนาที่ที่มีความรูความสามารถชํานาญ
งานในหนาที่ไดเปนไปอยางถูกตอง มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
รัฐบาลจึงไดออกพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216
ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2515 (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2517 ใหยกฐานะกองบังคับคดีแพงและกอง
บังคับคดีลมละลาย รวมจัดตั้งขึ้นเปนกรมบังคับคดีอยูในสังกัดกระทรวงยุติธรรม แลวไดตรา
พระราชบั ญ ญั ติ โ อนกิ จ การบริ ห ารงานบางส ว นของสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม
พ.ศ.2517 โดยใหโอนบรรดาอํานาจหนาที่ในสวนเกี่ยวกับกองบังคับคดีแพงและกองบังคับ
คดี ล ม ละลาย รวมทั้ ง ให โ อนบรรดากิ จ การ ทรั พ ย สิ น หนี้ ข า ราชการ ลู ก จ า ง และเงิ น
งบประมาณของสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เฉพาะสวนที่เกี่ยวกับกองบังคับคดีแพง
และกองบังคับคดีลมละลายไปเปนของกรมบังคับคดี และนอกจากนี้ ยังไดจัดตั้งหนวยงาน
ใหมไ ด แก สํา นั ก งานวางทรั พ ย ก ลางและงานอนุ ญ าโตตุ ล าการ เพื่ อ ชี้ข าดถึ ง ข อ พิพ าท
เกี่ยวกับการวางทรัพยภูมิภาคขึ้น รวม 9 ภาค กรมบังคับคดีจึงมีอํานาจหนาที่บังคับคดีแพง
และคดีลมละลาย ตลอดจนวางทรัพยทั่วประเทศ แลวเริ่มดําเนินการในฐานะเปนกรมบังคับ
คดีนับแตนั้นเปนตนมา
5 
 

วิสัยทัศน
มุงมั่นพัฒนาการบังคับคดีอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เสมอภาค เปนธรรม ดวย
จิตมุงบริการ เพื่อใหประชาชนเขาถึง เชื่อมั่น ยอมรับ ไดรับประโยชนสูงสุด

พันธกิจและอํานาจหนาที่
ใหบริการดานการบังคับคดีแพง คดีลมละลาย การฟนฟูกิจการของลูกหนี้ การชําระ
บัญชี และการวางทรัพยอยางมีประสิทธิภาพ เสมอภาค เปนธรรม
ศึก ษา วิเคราะห วิ จั ย เพื่ อ พัฒ นาระบบการปฏิ บัติ ง านของการบั ง คั บ คดี แพ ง คดี
ลมละลาย การฟนฟูกิจการของลูกหนี้ การชําระบัญชี การวางทรัพยในแตละระบบใหเปน
มาตรฐานเดียวกัน สอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งเสริมสรางศักยภาพการ
เปนผูนําในดานการบังคับคดีใหสามารถแขงขันกับองคกรตาง ๆ
พั ฒ นากฏหมายที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การบั ง คั บ คดี ใ ห ทั น สมั ย และเป น มาตรฐานสากล
รองรับตอการเปลี่ยนแปลงตามสภาวการณ เพื่อเอื้ออํานวยตอการปฏิบัติงานและบริการ
ประชาชน โดยคํานึงถึงความสะดวก รวดเร็ว เปนธรรมในสังคมและสิทธิมนุษยชน
พัฒนาองคกร และระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ คลองตัว โดยประสาน
สงเสริม รวมถึงสรางเครือขายความรวมมือการบังคับคดีทั้งในและตางประเทศ สามารถ
ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงตามภาวการณโดยยึดหลักธรรมาภิบาล
พัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีความรูความสามารถ และความเชี่ยวชาญดานการบังคับ
คดีและมีจิตสํานึกในการบริการ อยางมีคุณธรรมและจริยธรรม
เผยแพรความรูทางกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับคดใหประชาชนไดเขาใจอยางทั่วถึง
ตลอดจนไกลเกลี่ยขอพิพาทในการบังคับคดี และสงเสริมความรวมมือการมีสวนรวมในการ
บังคับคดีของภาครัฐและภาคเอกชน
6 
 

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
การบังคับคดีแพง
ในการบังคับคดีแพง ศาลตองออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงาน กรมบังคับคดีหรือ
พนักงานอื่นใด เปนเจาพนักงานบังคับคดี เพื่อจัดการบังคับคดีใหเปนไปตามคําพิพากษา
หรือคําสั่ง ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 1(14) เจาพนักงาน
บังคับคดีหมายถึงเจาพนักงานในสังกัดกรมบังคับคดีหรือเจาพนักงานอื่นผูมีอํานาจตาม
บทบัญญัติแหงกฎหมายที่ใชอยูในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการที่บัญญัติไวในภาค 4 แหง
ประมวลกฎหมายนี้ เพื่อคุมครองสิทธิของคูความในระหวางพิจารณาหรือเพื่อบังคับคดีตาม
คําพิพากษาหรือคําสั่ง ในสวนกลาง เจาพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี มีอํานาจบังคับคดี
ในเขตอํานาจของศาล ซึ่งตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ยกเวนศาลจังหวัดมีนบุรี ในสวน
ภูมิภาค เจาพนักงานบังคับคดีของสํานักงานงานบังคับคดีจังหวัด สํานักงานบังคับคดีจังหวัด
สาขา เปนเจาพนักงานบังคับคดีของสํานักงานบังคับคดีจังหวัด นั้น
เดิม เจา พนักงานบัง คับ คดีเปนเจ า พนักงานของศาล เมื่อศาลมีคําสั่ งเกี่ยวกับการ
บังคับคดีอยางใดแลวเจาพนักงานบังคับคดีตองปฏิบัติตามจะอุทธรณฎีกาคัดคานคําสั่งศาล
ไมได แตปจจุบันเจาพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี สังกัดกระทรวงยุติธรรมจึงไมใชเจา
พนักงานศาล (ทั้งนี้ตามมาตรา 275 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2540 ราชกิจจานุเบกษา 11 ตุลาคม 2540 ประกอบกับกฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร
ราชการศาลยุติธรรม กําหนดใหสํานักงานศาลยุติธรรม เปนหนวยงานธุรการอิสระของศาล
ยุติธรรม แตมิไดกําหนดใหกรมบังคดีเปนหนวยงานธุรการของศาลยุติธรรม ตามราชกิจจา
นุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม 117 ตอนที่ 103 ก วันที่ 13 พฤศจิกายน 2543) จึงจะใชสิทธิ
คัดคานหรืออุทธรณฎีกาคําสั่งศาลไดหรือไม ควรศึกษาตอไป
อํานาจหนาที่ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
1. อํานาจหนาที่เกี่ยวกับวิธีการชั่วคราวกอนมีคําพิพากษา ตามประมวลวิธีพิจารณา
ความแพงมาตรา 254 ซึ่งศาลมีคําสั่งใหยึดหรืออายัดทรัพยสินหรือกักเรือของจําเลยไว
ชั่วคราวกอนศาลจะมีคําพิพากษา เชนนี้ศาลจะออกหมายยึดทรัพยชั่วคราว หมายกักเรือ ตั้ง
เจาพนักงานบังคับคดีจัดการยึดทรัพยสินหรือเรือของจําเลยไว เพื่อไมใหจําเลยยักยายถาย
ทรัพยสิน
7 
 

2. อํานาจหนาที่เกี่ยวกับการบังคับคดีอันเปนการบังคับคดีใหเปนไปตามคําพิพากษา
หรือคําสั่งตามประมวลวิธีพิจารณาความแพง เมื่อศาลมีคําพิพากษาใหคูความฝายใดแพคดี
และใหฝายแพคดี(ลูกหนี้ตามคําพิพากษา)ปฏิบัติการชําระหนี้อยางใดอยางหนึ่งตามฟอง
หากเปนกรณีที่ตองดําเนินการทางเจาพนักงานบังคับคดี โดยการบังคับคดีชําระหนี้เอาจาก
บรรดาทรั พ ยสินของลูกหนี้ตามคําพิพากษา คู ค วามฝายที่ช นะคดี (เจ า พนักงานตามคํา
พิพากษา) ชอบที่จะรองขอใหศาลออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงานบังคับคดีเพื่อจัดการ
อายัด ทรั พ ย สิ น ของลูก หนี้ต ามคํ าพิ พ ากษาออกขายทอดตลาด และเอาเงิ น ชํา ระหนี้แ ก
เจาหนี้ตามคําพิพากษา หรือหากการชําระหนี้ตามคําพิพากษานั้นเปนการสงมอบทรัพยสิน
กระทําการ งดเวนกระทําการหรือขับไลลูกหนี้ตามคําพิพากษา ศาลจะออกหมายบังคับคดีได
โดยการกําหนดเงื่อนไขแหงการบังคับคดีลงในหมายนั้น และกําหนดการบังคับคดีเพียงเทาที่
สภาพแหงการบังคับคดีจะเปดชองใหทําไดโดยทางศาลหรือโดยทางเจาพนักงานบังคับคดี
ตามประมวลวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 276 วรรคทายอํานาจหนาที่ตามกฎหมายอื่น
1. กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เปนกรณีศาลในคดีอาญามีคําสั่งใหปรับ
นายประกันจําเลย ฐานผิดสัญญาประกันที่ทําไวตอศาล โดยศาลจะออกหมายบังคับคดีตั้งเจา
พนักงานบังคับคดีของศาลจัดการยึดทรัพยสิน ซึ่งนายประกันยื่นเปนหลักประกันตอศาล
แลวนําออกขายทอดตลาดนําเงินชําระคาปรับ (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา 119)
2. กฎหมายอาญา กรณีตามประมวลหมายอาญา มาตรา 29 ผูใดตองโทษปรับ
และไมชําระคาปรับภายใน 30 วันนับแตวันที่ศาลมีคําสั่งพิพากษา ผูนั้นจะตองถูกยึดทรัพย
สินใชคาปรับ ดังนี้ศาลจะออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงานบังคับคดีของศาลจัดการยึด
ทรัพยสิน ของจําเลยขายทอดตลาดนําเงินชําระคาปรับ
3. พระราชบัญญัติลมละลาย ในทางปฏิบัติและระเบียบกระทรวงยุติธรรมวา
ดวยการบังคับคดี เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะบังคับคดีกับทรัพยของลูกหนี้ (จําเลย) ในคดี
ลมละลายเองหรืออาจมีบันทึกเปนหนังสือแจงใหเจาพนักงานบังคับคดีทําการยึดแทน

ประเภทของการบังคับคดี
ในการออกหมายบั ง คั บ คดี ศาลจะระบุ เ งื่ อ นไขแห ง การบั ง คั บ คดี ต ามที่ ร ะบุ ไ ว ใ น
มาตรา 213 แหง ปพพ. และจะกําหนดสภาพแหงการบังคับคดีเพียงเทาที่เปดชองใหกระทํา
ทางศาลหรือโดยทางเจาพนักงานบังคับคดี
8 
 

1. การยึดทรัพย
2. การอายัดทรัพย
3. การขายทอดตลาด
4. การบังคับคดีขับไล , รื้อถอน
5. อื่น ๆ เชนการหามชั่วคราว การหามทํานิติกรรม จําหนาย จาย โอน

การยึดทรัพย
การยึดทรัพยมีอยู 4 ลักษณะดังนี้คือ
1. การยึดทรัพยตามความหมายบังคับคดีรวมถึงการยึดทรัพยตามหมายยึดทรัพย
ชั่วคราว ทั้งนี้เจาพนักงานบังคับคดีมหนาที่ตองดําเนินการตามที่ศาลสั่งมาโดยเฉพาะเจาะจง
ี
จะยึดทรัพยอื่นไมได
2. การยึดทรัพยขามเขตอํานาจศาล
3. การยึดทรัพยตามหมายบังคับคดีของศาลอื่น เปนการบังคับคดีแทน
4. การยึดทรัพยซึ่งตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานครแทนศาลตางจังหวัด
สังหาริมทรัพยที่ไดรับการยกเวน ไมอยูในอํานาจหนาที่การบังคับคดี ไดแก
1. เครื่องใชสอยสวนตัว เชนที่นอน เครื่องใชครัวเรือน รวมกันเปนเงินไมเกิน 5,000
บาท หากลูกหนี้ตามคําพิพากษาประสงคจะไดรับการยกเวนเกินกวาที่กําหนด ตองไปรองตอ
ศาล
2. ทรัพยสินที่ลูกหนี้มีไวใชในการประกอบอาชีพ เชน เครืองใชตาง ๆ ดังนี้กฎหมาย
่
กําหนด ยกเวนใหในจํานวนเงิน 10,000 บาท หากลูกหนี้ตามคําพิพากษาประสงคจะใช
เครื่องมือเครื่องใชใดที่มจํานวนเงินเกินกวาที่กําหนด ตองไปรองตอศาล
ี
3. ทรัพยสินที่มีไวใชแทนอวัยวะ ตาง ๆ เชน แขนขาเทียม
4. ทรัพยสินที่เปนของวงศตระกูล เชน สมุด หนังสือประจําตระกูล เปนตน

การอายัดทรัพย
ตามลักษณะการปฏิบัติงานของเจาพนักงานบังคับคดีมี 2 กรณี คือ
1. การอายัดสิทธิรองขอใหชําระเงิน จํานวนหนึ่งหรือเรียกวาการอายัดเงิน
2. การขอใหงดหรือหามจําหนาย จายโอน หรือ ทํานิติกรรมเกี่ยวกับทรัพยสินหรือ
เรียกวา การอายัดหามโอน
9 
 

การบังคับคดีในการฟองขับไล รื้อถอน
เมือศาลมีคําสั่งใหตั้งเจาพนักงานบังคับคดี จัดการใหเจาหนี้ตามคําพิพากษาได
่
ครอบครองทรัพย ดังกลาว
1. กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาถูกศาลพิพากษาใหขับไล หรือตองออกไปจากที่
อยูอาศัย หรือทรัพยที่ครอบครอง
2. กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาตองรื้อถอนสิ่งปลูกสรางออกไปจาก
อสังหาริมทรัพย ที่อยูอาศัย หรือทรัพยที่ครอบครอง

การจําหนายทรัพย
การขายทอดตลาดทรัพย เจาพนักงานบังคับคดี ตองตรวจสํานวนกอนวามีการปฏิบติ
ั
ตามขั้นตอน ที่ ป.วิ.พ. มาตรา 303 และมาตรา 304
1. ไดมีการแจงการยึดทรัพยใหลูกหนี้ตามคําพิพากษา และผูที่มีสวนไดเสียอื่น ๆ
ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 287
2. ถาเปนอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยที่ตองมีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียน ไดมีการ
แจงใหนายทะเบียนทราบ
ในการบังคับคดีนั้น เจาพนักงานบังคับคดีมอํานาจตามหมายบังคับคดีของศาลที่มี
ี
เขตอํานาจทีสํานักงานบังคับคดีตั้งอยูเทานั้น อยางไรก็ตาม หากมีการรองขอ เจาพนักงาน
่
บังคับคดียอมมีอํานาจในการบังคับคดีแทนตามหมายบังคับคดีที่ออกโดยศาลอื่นไดเชนกัน

การบังคับคดีลมละลาย
การล มละลายเกิดจากการมีหนี้สิน ลนพนตัวคื อมีหนี้สินมากกวาทรัพยสิน จึ งเกิด
กฎหมายลมละลายขึ้นมาเพื่อจัดระบบใหเกิดความเปนธรรม แกบรรดาเจาหนี้ทุกราย เพื่อให
ไดรับชําระหนี้เต็มจํานวนหรือโดยสวนเฉลี่ยที่เทาเทียมกัน ตามสัดสวนแหงหนี้จากหนี้ที่
ลูกหนี้มีอยูกับเจาหนี้รายนั้น ๆ ในคดีลมละลายเพื่อที่จะทราบวา ลูกหนี้คดีนี้มีเจาหนี้อยูกี่ราย
เปนจํานวนหนี้เทาใดกฎหมายจึงกําหนดใหตองมีการโฆษณาคําสั่งพิทักษทรัพย เมื่อศาลมี
คําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดแลว บรรดาเจาหนี้ทั้งหลายตองมายื่นคําขอรับชําระหนี้ตอเจา
พนักงานพิทักษทรัพย ภายในเวลา 2 เดือน เพื่อที่ลูกหนี้จะไดทราบวาตนเองมีหนี้สินเทาใด
หากตองการจะจัดการกับหนี้สินดังกลาวควรจะทําอยางไร เชนอาจจะยื่นคําขอประนอมหนี้
ตามจํานวนที่คิดวาจะสามารถชําระแกเจาหนี้ได หรือหากไมสามารถจะประนอมหนี้ไดก็ตอง
10 
 

เปนบุคคลลมละลายตอไป เมื่อศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ.2483
แลว คําสั่งพิทักษทรัพยมี 2 อยาง คือ
1. คําสั่งพิทักษทรัพยชั่วคราว คําสั่งนี้เปนคําสั่งใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยเขา
รวบรวมทรัพยสินของลูกหนี้ไวชั่วคราว (เปนการคุมครองเจาหนี้ชั่วคราวกอนศาลมีคําสั่ง
พิทักษทรัพยเด็ดขาด) เพื่อปองกันมิใหลูกหนี้ยักยายถายเททรัพยสินนั่นเอง
2. คําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด คําสั่งนี้เปนคําสั่งใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยเขา
รวบรวมทรัพยสินของลูกหนี้โดยเด็ดขาด อันมีผลเหมือนเปนคําพิพากษา

กระบวนการลมละลาย มีดังนี้
1. การรวบรวมทรัพยสินเปนการรวบรวมทรัพยสินของเจาพนักงานพิทักษทรัพยซึ่ง
ไดมาจากการสอบสวน การรวบรวมเอกสารทางบัญชี และสืบหาทรัพยของบรรดาเจาหนี้เปน
หลักใหญ
2. การรวบรวมเจาหนี้ เมื่อศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดแลว บรรดาเจาหนี้ตอง
มายื่นคําขอรับชําระหนี้ตอเจาพนักงานพิทักษทรัพยภายใน 2 เดือนนับแตมีการประกาศ
คําสั่ ง พิ ทัก ษทรั พ ย เด็ดขาด ดั ง นั้ น เจ าหนี้ ทุกรายแม จ ะเป นเจาหนี้ ต ามคํ าพิ พากษาหรื อ
เจ า หนี้ ผู เ ป น โจทก ก็ ต อ งมายื่ น คํ า ขอรั บ ชํ า ระหนี้ ด ว ย เพื่ อ มาพิ สู จ น ห นี้ กั น ใหม ใ นคดี
ลมละลาย และเพื่อใหลูกหนี้ทราบวาตนมีหนี้สินเทาใด หากจะมีการประนอมหนี้ เมื่อเจาหนี้
มายื่นคําขอรับชําระหนี้แลว เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะนัดพรอมเพื่อตรวจคําขอรับชําระหนี้
เพื่อใหเจาหนี้มีโอกาสโตแยงคําขอรับชําระหนี้ของเจาหนี้รายอื่น หากเห็นวาไมไดเปนหนี้กัน
จริง หรือหนี้ที่ขอมาสูงกวาที่ควรจะไดรับชําระหนี้ ตอจากนั้นเจาพนักงานพิทักษทรัพยจะทํา
การสอบสวนพยานเจาหนี้ทุกรายและทําความเห็นเสนอศาล วาเจาหนี้มีสิทธิไดรับชําระหนี้
หรือไมเทาใด เมื่อศาลพิจารณาจากความเห็นของเจาพนักงานพิทักษทรัพยแลว จะมีคําสั่ง
ตาม หรือแกไข หรือยกขอรับชําระหนี้นั้น เจาพนักงานพิทัก ษทรัพยจะแจงคําสั่งศาลให
เจาหนี้ทราบ เจาหนี้ ลูกหนี้และผูโตแยง (ถามี) มีสิทธิอุทธรณคําสั่งศาลไดภายใน 1 เดือน
นับแตทราบคําสั่ง
3.
การพิจารณาหลังศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด เปนกระบวนการที่ตอง
ดําเนินการในชั้นเจาพนักงานพิทักษทรัพย ตามที่กฎหมายบัญญัติไวใหดําเนินการโดยเจา
พนักงานพิทักษทรัพยและคดีลมละลายทุกคดีจะตองทําอะไรบาง
11 
 

การประชุมเจาหนี้ครั้งแรก กฎหมายกําหนดใหตองมีการประชุมเจาหนี้ครั้งแรกโดย
ดวน และกําหนดวาตองมีหัวขอประชุมวาตองมีการพิจารณาคําขอประนอมหนี้กอนลมละลาย
หรือควรขอใหศาลพิพากษาใหลมละลาย ในการลงมติวาจะรับคําขอประนอมหนี้หรือไมนั้น
กฎหมายกําหนดวาตองมีมติพิเศษ คือตองมีจํานวนหนี้ไมนอยกวา 3 ใน 4 และมีจํานวน
เจาหนี้ฝายขางมากของเจาหนี้ที่เขาประชุมและออกเสียง
การไต ส วนลู ก หนี้ โ ดยเป ด เผย หลั ง จากมี ก ารประชุ ม เจ า หนี้ ค รั้ ง แรกแล ว เจ า
พนักงานพิทักษทรัพยจะรายงานผลการประชุมตอศาล และศาลจะนัดไตสวนลูกหนี้โดย
เปดเผยเพื่อทราบความเปนมาและกิจการทรัพยสินของลูกหนี้ เพื่อเปนขอมูลในการพิจารณา
ว า จะสมควรเห็ น ชอบกั บ การประนอมหนี้ ข องลู ก หนี้ ร วมทั้ ง การที่ ลู ก หนี้ จ ะใช สิ ท ธิ ท าง
กฎหมายอื่ น ๆ เช น การขอออกนอกประเทศ การปลดจากการล ม ละลาย การยกเลิ ก
ลมละลายเปนตน
การรวบรวมและการแบงทรั พย สิน ในกรณี ที่ ศาลพิ พ ากษาใหลูกหนี้เป น บุค คล
ลมละลาย เจาพนักงานพิทักษทรัพยยังคงมีหนี้ที่ในการรวบรวมทรัพยสินตอไป ทั้งการยึด
อายัด เก็บรวบรวมและขายทอดตลาดทรัพยสิน เพื่อนําเงินมารวบรวมไวในกองทรัพยสิน
และจะตองทําการแบงทรัพยสินทุก 6 เดือน เวนแตยังไมสามารถรวบรวมทรัพยสินได หรือ
เงินที่รวบรวมไดมีจํานวนนอยยังไมสมควรแบงก็จะรายงานศาลขออนุญาตขยายระยะเวลา
การแบงทรัพยสินออกไปกอน
การแบงทรัพยสินนี้อยูในหลักเกณฑวา เจาหนี้ทุกรายจะตองไดรับสวนเฉลี่ยใน
อัตราที่เทาเทียมกัน เวนแตเจาหนี้รายใดมีบุริมสิทธิ
การปดคดี การปดคดีไมไดทําใหคดีลมละลายเสร็จสิ้นหรือทําใหการลมละลาย
ระงับไป แตเปนกรณีที่ไมมีกิจการทรัพยสินในคดีที่จะตองดําเนินการแลว กฎหมายใหมีการ
ปดคดีไวกอน แตหากภายในเวลา 10 ปนับแตศาลมีคําสั่งปดคดี พบวาลูกหนี้มีทรัพยสินใด
ขึ้นใหม เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะขอใหศาลมีคําสั่งเปดคดีเพื่อทําการสอบสวน และนํา
ทรัพยสินนั้นเขามาไวในกองทรัพยสินเพื่อแบงใหแกเจาหนี้ตอไป
การหลุดพนจากการลมละลาย แมศาลพิพากษาใหลูกหนี้เปนบุคคลลมละลายแลว
ลูกหนี้ก็สามารถหลุดพนจากการลมละลายได โดย การประนอมหนี้ภายหลังลมละลาย การ
ปลดจาการลมละลายตาม พ.ร.บ. ลมละลาย แกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 7 พ.ศ. 2547 การยกเลิก
การลมละลาย กฎหมายกําหนดไวรวม 4 เหตุคือ
12 
 

1. กรณีไมมีเจาหนี้รายใดชวยเหลือเจาพนักงานพิทักษทรัพยในการรวบรวมทรัพยสิน
2. กรณีมีเหตุอื่น ๆ ที่ลูกหนี้ไมควรถูกพิพากษาใหลมละลาย เชน ไมมีเจาหนี้ยื่นคํา
ขอรับชําระหนี้
3. กรณีหนี้สินของลูกหนี้ไดรับชําระเต็มจํานวน
4. กรณีศาลมีคําสั่งปดคดีแลว 10
รวบรวมทรัพยสินไดอีก

ปและเจาพนักงานพิทักษทรัพยไมสามารถ

การฟนฟูกิจการ
ภาวะวิกฤติเศรษฐกิจที่ไดเกิดขึ้นในประเทศไทยในป พ.ศ. 2540 ไดสงผลกระทบ
รายแรงตอเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะภาคการเงินการธนาคารที่ไดรับความเสียหาย
โดยตรง เปนเหตุใหธุรกิจจํานวนมากตองประสบวิกฤติทางการเงินและตองลมละลายไปใน
ที่สุด ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากวิกฤติเศรษฐกิจมีดังนี้ คือ
1. ความลมเหลวในดานการลงทุนของประเทศ
2. การที่ลูกหนี้ตองเลือกชําระหนี้โดยการผอนชําระเปนงวด เพื่อหลีกเลี่ยงการถูกบังคับ
ชําระหนี้โดยมาตรการของเจาหนี้
3. ความลมเหลวในดานการจางงาน เห็นไดจากการเลิกจางจํานวนมาก และอัตราการ
วางงานที่สูงของประเทศ
ในประเทศไทย พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. 2483 เปนกฎหมายที่ไดกําหนด
กระบวนการลมละลายอยางเปนทางการ พระราชบัญญัติฉบับนี้ไดรับการแกไขในเวลาตอมา
โดยพระราชบัญญัติลมละลาย ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2541 โดยไดเพิ่มกระบวนการฟนฟูกิจการเขา
มาใหเปนอีกทางเลือกหนึ่งของการจัดการทรัพยสินลูกหนี้ที่มีหนี้สินลนพนตัว นอกเหนือจาก
การบังคับใหลมละลาย การแกไขเพิ่มเติมกฎหมายลมละลายทั้งในครั้งนี้และในครั้งตอๆมา
ลวนเปนผลมาจากความพยายามของรัฐบาลในการปรับปรุงกระบวนการลมละลายใหมีความ
สอดคลองกับยุคสมัยอยูเสมอ

เงื่อนไขเพื่อเขารับการฟนฟูกิจการ
1. ลูกหนี้ตองเปนบริษัท จํากัด, บริษทมหาชน จํากัด หรือ นิติบุคคลอืนใด
ั
่
2. ลูกหนี้ตองมีหนี้สินลนพนตัว
13 
 

3. ลูกหนี้ตองมีหนี้ทั้งหมดในจํานวนที่แนนอน ไมต่ํากวา 10 ลานบาท
การเริ่มกระบวนการฟนฟูกิจการกระทําไดโดยมีการยื่นคํารองขอฟนฟูกจการตอศาล
ิ
ลมละลาย โดยศาลอาจมีคําสั่งใหฟนฟูกิจการตามที่รองขอ เมื่อศาลเห็นวามีเหตุผลสมควร
และมีชองทางที่จะฟนฟูกิจการของลูกหนี้ ทั้งนี้ กระบวนการฟนฟูกจการถือเปนการใหโอกาส
ิ
แกลูกหนี้ที่หนี้สินลนพนตัว หากแตยังมีศักยภาพทางธุรกิจที่ดีอยู ไมใหถูกพิทักษทรัพยและ
ขณะเดียวกันก็รักษาธุรกิจของตนไว และเพื่อดําเนินการใหกระบวนการฟนฟูกจการประสบ
ิ
ผลสําเร็จ กระทรวงยุติธรรมจึงไดตั้งสํานักฟนฟูกิจการลูกหนี้ขึ้นในวันที่ 16 เมษายน พ.ศ.
2541 โดยใหเปนหนวยงานหลักในการดําเนินการใหเปนไปตามกระบวนการฟนฟูกจการ
ิ
กฎหมายลมละลายไดกําหนดอํานาจหนาที่ของเจาพนักงานพิทักษทรัพยใน
กระบวนการนี้ ใหเริ่มขึ้นทันทีที่ศาลมีคําสั่งใหฟนฟูกิจการ ภายหลังศาลมีคําสั่งแลว
ภาระหนาที่ที่สําคัญของเจาพนักงานพิทักษทรัพยไดแก
1. เรียกประชุมเจาหนี้
2. ทําความเห็นคําขอรับชําระหนี้ของเจาหนี้
3. ใหความชวยเหลือแกศาลในการติดตามความกาวหนาของขั้นตอนการฟนฟูกิจการ
วัตถุประสงคของสํานักฟนฟูกิจการลูกหนี้คือ การใหความชวยเหลือแกลูกหนี้ที่
ประสบภาวะหนี้สินลนพนตัวในการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการจนสัมฤทธิ์ผล อยางไรก็ตาม
ผูทําแผนและผูบริหารแผนตางก็มีสวนสําคัญในการชวยใหลูกหนี้สามารถฟนฟูกจการไดเปน

ิ
ผลสําเร็จ ดังนั้น เพื่อใหบุคคลดังกลาวเห็นความสําคัญของหนาที่และความรับผิดชอบของตน
ในการฟนฟูกิจการใหประสบผลสําเร็จ รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรมจึงไดออก

กฎกระทรวงลงวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2545 กําหนดใหผูที่ประสงคจะเปนผูทําแผนและ
ผูบริหารแผนทุกคนตองมีคุณสมบัตตามที่ไดกําหนดไว และตองขึ้นทะเบียน นอกจากนี้ยังได
ิ
จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้น ซึ่งประกอบดวยอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบการทํางานของ
ทั้งผูทําแผนและผูบริหารแผน ทั้งนี้เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาวอีกเชนกัน

การวางทรัพย
การวางทรัพยเปนกระบวนการที่อนุญาตใหลูกหนี้หรือบุคคลที่สามที่ยินดีจะชําระหนี้
แทนลูกหนี้มาวางทรัพย ณ สํานักงานวางทรัพย ซึ่งหากดําเนินการอยางถูกตองแลว ยอม
สงผลใหลูกหนี้หลุดพนจากหนี้ ถึงแมวาเจาหนี้ไมปฏิเสธไมยอมรับชําระหนี้
14 
 

เหตุของการวางทรัพย
เหตุที่จะวางทรัพยไดมีดังนี้
1) เจาหนี้บอกปดไมยอมรับชําระหนี้หรือปฏิเสธไมยอมรับชําระหนี้ เชน จายคาเชา
บานไมได เพราะผูใหเชาบายเบี่ยงเพื่อหาเหตุจะยกเลิกการเชา
2)
เจาหนี้ไมสามารถจะรับชําระหนี้ได ซึ่งอาจเปนเพราะเจาหนี้ไมอยูหรือไป
ตางประเทศไมทราบจะกลับมาเมื่อใด
3) ไมสามารถจะหยั่งรูถึงสิทธิของเจาหนี้ หรือรูตัวเจาหนี้ไดแนนอนโดยมิใชความผิด
ของตน เชน เจาหนี้ตาย ลูกหนี้ไมทราบวาใครเปนทายาท
4)
ตามบทบั ญ ญั ติ แ ห ง ประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย มาตรา
232,302,631,679,754,772 และ 947
5)
ตามบั ญ ญั ติ แห ง กฎหมายอื่น ให มีก ารวางทรั พ ย เช น กฎหมายเวนคื น
อสังหาริมทรัพย
6) ตามคําสั่งศาล

ทรัพยที่วางได
ทรัพยที่วางได ไดแก เงินและทรัพยสินอื่นๆ ไมวาจะเปนอสังหาริมทรัพย หรือ
สังหาริมทรัพยที่จะสงมอบกันตามกฎหมาย
1) ในกรณีที่เกี่ยวกับทรัพยที่วางเปนเงิน
1.2 วางทรัพยดวยเงินสด
1.3 วางดวยเช็คทุกชนิดถาหากใหมีผลสมบูรณในวันที่วาง ผูวางทรัพยควรวางเปน

เงินสด
2) ทรัพยที่ไมควรวาง ไดแก
2.1 สภาพทรัพยไมควรแกการวาง หรือเปนที่พงวิตกวาทรัพยนั้นตอไปจะเสื่อมเสีย
ึ
หรือทําลาย หรือบุบสลายได เชน น้ําแข็งที่สลักเปนรูปตาง ๆ เพื่อความสวยงามในงานสมรส
2.2 คารักษาทรัพยแพงเกินควร
2.3 ตึกแถว โรงแรม คอนโดมิเนียม เครื่องจักร เปนตน

ผูที่วางทรัพยได
ผูที่วางทรัพยไดคือ
1) ลูกหนี้
15 
 

2) ผูรับมอบอํานาจลูกหนี้
3) บุคคลภายนอกที่เต็มใจชําระหนี้แทนลูกหนี้ เวนแตสภาพของหนี้ที่จะชําระนั้นไม
อาจใหบุคคลภายนอกชําระแทนได

สถานที่ติดตอ
สถานที่ติดตอในการวางทรัพยคือ
1) สวนกลาง ติดตอที่สํานักงานวางทรัพยกลาง กรมบังคับคดี เลขที่ 189/1 ถนนบางขุนนนท
แขวงบางขุนนนท เขตบางกอกนอย กรุงเทพ โทรศัพท 02-881-4999
2) สวนภูมิภาค ติดตอที่
2.1 สํานักงานบังคับคดีและวางทรัพย ภูมิภาคที่ 1-9
2.2 สํานักงานบังคับคดีและวางทรัพยประจําจังหวัด

วิธีปฏิบัติและหนาที่ของผูวางทรัพย
ผูวางทรัพยตองปฏิบัติและมีหนาที่ดังนี้
1) เขียนคําขอวางทรัพยตามแบบ ว.1 หากมอบใหบุคคลอื่นวางทรัพยแทนตองทําใบ
มอบอํานาจตามแบบ ว.4
2) เตรียมหลักฐานที่เกี่ยวของกับการวางทรัพยในเรื่องนั้น ๆ มาแสดง
2.1 ถาวางตามสัญญาประนีประนอมยอมความของศาลใหมีคําพิพากษาตาม
ยอมที่จาศาลรับรอง
2.2 ถาวางตามสัญญาเชาใหมีสัญญาเชาพรอมถายสําเนาสัญญาเชาที่รับรอง
2.3 ถาวางตามสัญญาขายฝากใหมีสัญญาขายฝาก พรอมถายสําเนาสัญญา
ขายฝากที่รับรอง
3) ตองวางเงินประกันคาใชจายครั้งแรก 300 บาท
4) ในกรณีทรัพยที่วางเปนอสังหาริมทรัพยตองนําเจาพนักงานไปตรวจทรัพยกอน
5) ผูวางทรัพยหรือผูรับมอบอํานาจตองมาใหเจาพนักงานสอบสวนถึงที่มาแหงมูลหนี้
6) ผูวางทรัพยตองแจงการวางทรัพยใหเจาหนี้ทราบโดยเร็ว

ผลของการวางทรัพย
1) ทําใหทานหลุดพนจากหนี้ที่ตองชําระไมตกเปนผูผิดนัดและไมตองเสียดอกเบี้ย
ใหแก เจาหนี้หลังจากวันที่ทานวางทรัพย
16 
 

2) เจาหนี้มีสิทธิมารับทรัพยที่วางภายใน 10 ป นับแตไดรับคําบอกกลาวการวาง
ทรัพย หากเจาหนี้ไมมารับสิทธิของเจาหนี้เหนือทรัพยที่วางเปนอันระงับไป
3) เมื่อเจาหนี้มารับเงินแลว ผูวางทรัพย ตองมารับคาใชจายที่วางประกันไวคืน หากผู
วางทรัพย ไมมารับคืนภายใน 1 เดือน เงินคาใชจายวางประกันตกเปนของแผนดิน

การถอนหรือขอรับทรัพยที่วาง
ผูวางทรัพยอาจถอนหรือขอรับทรัพยที่วางคืนไดเวนแตกรณีดังตอไปนี้
1) ผูวางทรัพยไดแสดงเจตนาสละสิทธิที่จะถอนไว
2) เจาหนี้ไดแจงตอสํานักงานวางทรัพย วาจะรับทรัพยที่วางนั้นแลว
3) การวางทรัพยตามคําสั่งศาล
4) หากบุคคลใดวางทรัพยชําระหนี้แทนลูกหนี้ บุคคลนั้นจะถอนการวางทรัพยไดก็
ตอเมือ
่
ลูกหนี้ยินยอม

ผลของการถอนการวางทรัพย
เมื่อผูวางทรัพย (ลูกหนี้) ถอนทรัพยที่วางใหถือเสมือนวามิไดมีการ วางทรัพยเลย
เชนเดียวกับเช็คที่สั่งจาย เพื่อการวางทรัพยหากเรียกเก็บเงินไมได ก็ใหถือเสมือนวามิไดมี
การวางทรัพยเลย ทานจะหลุดพนจากหนี้ไดอยางไร หากเจาหนี้บอกปดไมยอมรับชําระหนี้
อาทิเชน
- คาเชาบาน
- คาเชาซื้อ
- ไถถอนการขายฝาก
- ไถถอนจํานอง ฯลฯ
สอบถามรายละเอียดไดที่
- สํานักงานวางทรัพยกลาง กรมบังคับคดีกระทรวงยุติธรรม
- สํานักงานบังคับคดีและวางทรัพยภูมิภาคที่ 1-9
- สํานักงานบังคับคดีและวางทรัพยประจําจังหวัด
17 
 
18 
 

สถานที่ติดตอ
เมื่อศาลออกหมายตั้งเจาพนักงานบังคับคดีแลว เจาหนี้ตามคําพิพากษาที่ประสงคจะ
บังคับ คดีใหติดตอเจาพนักงานบังคับคดียังสถานที่ตอไปนี้
สวนกลาง หมายบังคับคดีของศาลในกรุงเทพมหานคร ยกเวนหมายบังคับคดีของ
ศาลจังหวัดมีนบุรี ตองติดตอกับเจาพนักงานบังคับคดี กองบังคับคดีแพง 1-3 กรมบังคับคดี
นี้
(1) หมายบังคับคดี (หมายเลขคดีแดง) หรือหมายยึดทรัพยชั่วคราว (หมายเลขคดี
ดํา) ของศาล แพง ใหติดตอกับกองคดีแพง
(2) หมายบังคับคดี (หมายเลขคดีแดง) หรือหมายยึดทรัพยชั่วคราว (หมายเลขคดี
ดํา) ของศาล ศาลแพงกรุงเทพใต ใหติดตอกับกองคดีแพง 2
(3) หมายบังคับคดี (หมายเลขคดีแดง) หรือหมายยึดทรัพยชั่วคราว (หมายเลขคดี
ดํา) ของ ของศาลแพงธนบุรี ศาลอาญา ศาลอาญากรุงเทพใต ศาลอาญาธนบุรี ศาลภาษี
อากรกลาง ศาลแรงงาน กลางศาลแขวงในกรุงเทพมหานคร และการบังคับคดีแทนศาลอื่น
ทุกศาลนั้น ใหติดตอกองบังคับคดีแพง 3
สวนภูมิภาค หมายบังคับคดีของศาลในตางจังหวัด
(1) หมายบังคับคดี (หมายเลขคดีแดง) หรือหมายยึดทรัพยชั่วคราว (หมายเลขคดี
ดํา) ของศาลในจังหวัด ที่มีสํานักบังคับคดีและวางทรัพยภูมิภาคหรือสํานักงานบังคับคดี
จังหวัดนั้นๆ
(2) หมายบังคับคดีของศาลอื่นนอกจากที่กลาวในขอ (1) ใหติดตอจาศาลของศาล
นั้นๆ
19 
 
20 
 

แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
20.ขาราชการพลเรือนซึงรับราชการโดยไดรับการบรรจุแตงตัง ตามที่บญญัติไวในลักษณะ 4
่
้
ั
ของขาราชการพลเรือนสามัญเรียกวา
ก. ขาราชการพลเรือน
ข. ขาราชการพลเรือนสามัญ
ค. ขาราชการพลเรือนในพระองค
ง. ขาราชการพลเรือนพิเศษ
ตอบ ข. ขาราชการพลเรือนสามัญ
ขาราชการพลเรือนสามัญ ไดแก ขาราชการพลเรือนซึ่งรับราชการโดยไดรับบรรจุ
แตงตั้ง ตามที่บัญญัติไวในลักษณะ 4 ขาราชการพลเรือนสามัญ (พรบ.ระเบียบขาราชการพล
เรือน พ.ศ.2551 มาตรา 35)
21.ขอใดไมใชลักษณะตองหามของขาราชการพลเรือน
ก. ผูเคยกระทําการทุจริตในการสอบเขารับราชการ
ข. อยูในระหวางถูกสั่งพักราชการ
ค. เปนผูบกพรองในศีลธรรมอันดีจนเปนที่รังเกียจของสังคม
ง. มีความผิดลหุโทษ
ตอบ ง. มีความผิดลหุโทษ
ั่
ผูที่จะเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนตองมีคุณสมบัติทวไป และไมมีลักษณะ
ตองหามดังตอไปนี้
(1) เปนผูดํารงตําแหนงทางการเมือง
(2) เปนคนไรความสามารถ คนเสมือนไรความสามารถ คนวิกลจริตหรือจิตฟนเฟอน
ไมสมประกอบ หรือเปนโรคตามที่กาหนดในกฎ ก.พ.
ํ
(3) เปนผูอยูในระหวางถูกสั่งพักราชการหรือถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอนตาม
พระราชบัญญัติ นี้หรือตามกฎหมายอื่น
(4) เปนผูบกพรองในศีลธรรมอันดีจนเปนที่รังเกียจของสังคม
(5) เปนกรรมการหรือผูดํารงตําแหนงที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง หรือ
เจาหนาที่ ในพรรคการเมือง
(6) เปนบุคคลลมละลาย
(7) เปนผูเคยตองรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุกเพราะกระทําความผิด
ทางอาญา เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
21 
 

27.ตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญ มีกี่ประเภท อะไรบาง
ก. 2 ประเภท, บริหาร และอํานวยการ
ข. 3 ประเภท, บริหาร อํานวยการและวิชาการ
ค. 4 ประเภท, บริหาร อํานวยการ วิชาการและทั่วไป
ง. 5 ประเภท, บริหาร อํานวยการ วิชาการ ทั่วไป และพิเศษ
ตอบ ค. 4 ประเภท, บริหาร อํานวยการ วิชาการและทั่วไป
ตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญมี 4 ประเภท ดังตอไปนี้ บริหาร อํานวยการ
วิชาการและทั่วไป (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 45)
28.ตําแหนง หัวหนาสวนราชการและรองหัวหนาสวนราชการระดับ กระทรวง กรม เปน
ตําแหนงประเภทใดในตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญ
ก. ประเภทบริหาร
ข. ประเภทอํานวยการ
ค. ประเภทวิชาการ
ง. ประเภททั่วไป
ตอบ ก. ประเภทบริหาร
ตําแหนงประเภทบริหาร ไดแก ตําแหนงหัวหนาสวนราชการและรองหัวหนาสวน
ราชการ ระดับกระทรวง กรม และตําแหนงอื่นที่ ก.พ. กําหนดเปนตําแหนงประเภทบริหาร
(พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 45)

29.ตําแหนงหัวหนาสวนราชการที่ต่ํากวาระดับกรม เปนตําแหนงประเภทใดในตําแหนง
ขาราชการพลเรือนสามัญ
ก. ประเภทบริหาร
ข. ประเภทอํานวยการ
ค. ประเภทวิชาการ
ง. ประเภททั่วไป
ตอบ ข. ประเภทอํานวยการ
ตําแหนงประเภทอํานวยการ ไดแก ตําแหนงหัวหนาสวนราชการที่ต่ํากวาระดับกรม
และตําแหนงอื่นที่ ก.พ. กําหนดเปนตําแหนงประเภทอํานวยการ (พรบ.ระเบียบขาราชการ
พลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 45)
30.ตําแหนงที่จําเปนตองใชผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตามที่ ก.พ.กําหนดเปนตําแหนง
ประเภทใดในตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญ
22 
 

ก. ประเภทบริหาร
ข. ประเภทอํานวยการ
ค. ประเภทวิชาการ
ง. ประเภททั่วไป
ตอบ ค. ประเภทวิชาการ
ตําแหนงประเภทวิชาการ ไดแก ตําแหนงที่จําเปนตองใชผสําเร็จการศึกษาระดับ
ู
ปริญญา ตามที่ ก.พ. กําหนดเพื่อปฏิบัติงานในหนาที่ของตําแหนงนั้น (พรบ.ระเบียบ
ขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 45)
31. ตําแหนงประเภทบริหารของขาราชการพลเรือนสามัญนัน แบงเปนระดับใดบาง
้
ก. ระดับตน, ระดับสูง
ข. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับชํานาญการพิเศษ, ระดับเชี่ยวชาญ ,
ระดับทรงคุณวุฒิ
ค. ระดับปฏิบัติงาน, ระดับชํานาญการ, ระดับอาวุโส, ระดับทักษะพิเศษ
ง. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับเชียวชาญ
่
ตอบ ก. ระดับตน, ระดับสูง
ระดับตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญ ตําแหนงประเภทบริหาร มีระดับดังตอไปนี้
(ก) ระดับตน
(ข) ระดับสูง
(พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 46)
32.ตําแหนงประเภทอํานวยการของขาราชการพลเรือนสามัญนั้น แบงเปนระดับใดบาง
ก. ระดับตน, ระดับสูง
ข. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับชํานาญการพิเศษ, ระดับเชี่ยวชาญ ,
ระดับทรงคุณวุฒิ
ค. ระดับปฏิบัติงาน, ระดับชํานาญการ, ระดับอาวุโส, ระดับทักษะพิเศษ
ง. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับเชียวชาญ
่
ตอบ ก. ระดับตน, ระดับสูง
ตําแหนงประเภทอํานวยการ มีระดับดังตอไปนี้
(ก) ระดับตน
(ข) ระดับสูง
(พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 46)
23 
 

แนวขอสอบ คอมพิวเตอร
21. E – mail คืออะไร
(1) เปนบริการที่ใหผูใชสามารถเขาไปใชขอมูลที่ถกจัดเก็บในฐานขอมูลตาง ๆ ได
ู
(2) ศูนยรวมขาวสารที่องคกรตองการประกาศใหผูใชที่อยูในขายงานทราบ
(3) เปนระบบการสื่อสารที่ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรหลาย ๆ เครื่องสามารถติดตอกันได
(4) เปนระบบขายงานที่ใหผูใชในระบบขายงานสามารถสงจดหมายถึงกันได
ตอบ 4 E – mail คือ การรับสงจดหมายอิเล็กทรอนิกสบนเครือขาย ซึ่งสามารถรับสง
ขาวสารในรูปแบบตางๆ ทําใหผูใชบริการสามารถรับสงขาวสารไดอยางรวดเร็ว ถูกตอง และ
ประหยัดคาใชจาย
22. Microsoft’s Windows จัดเปนระบบปฏิบัตการประเภทใด
ิ
(1) Single-tasking
(2) Multi-tasking
(3) Multi-user
(4) Multi-programming
ตอบ 2 Microsoft Windows เปนระบบปฏิบัติการที่มีลกษณะการทํางานแบบ Multiั
tasking นั่นคือ ผูใชสามารถเรียกใชโปรแกรมตั้งแต 2 โปรแกรมขึ้นไป มาใชงานควบคูกันได
23. Excel จัดเปนโปรแกรมประยุกตที่ใชงานกับระบบคอมพิวเตอรในกลุมใดตอไปนี้
(1) กลุมที่ทํางานทางดานการจัดการระบบฐานขอมูล
(2) กลุมที่ทํางานทางดานตารางกระดาษทําการ
(3) กลุมที่ทํางานทางดานการประมวลผลคํา
(4) กลุมที่ทํางานทางดานการเสนอผล
ตอบ 2 โปรแกรมตารางทําการ (Spreadsheets) คือ โปรแกรมที่มไวสําหรับใหผูใช
ี
สรางกราฟกเชิงวิเคราะห สรางตาราง และการจัดทําบัญชี โดยการใสขอมูลลงในแถวและ
สดมภ แลวจัดเรียงเปนตะแกรงบนจอภาพของคอมพิวเตอร
24.สัญรูปที่เปนตัวแบบทางกราฟกซึ่งแสดงถึงกิจกรรมที่ผใชตองการใหกระทํา ผูใชสามารถ
ู
เลือกใชผานอุปกรณเมาส เรียกวา
(1) Form Filling Software
(2) Icon
(3) Menu Software Driven
(4) Function Key Driven Software
24 
 

ตอบ 2 Icon คือสัญรูปที่เปน User Interface ซึ่งนิยมใชกันมากบน Microsoft
Windowsในปจจุบันโดยผูใชเพียงแตใชเมาสคลิกไปที่ไอคอนที่ตองการบนจอภาพ โปรแกรม
ที่จะสนองตอความตองการดังกลาวทันที
25. แกนทชารท (Gantt Chart) เปนซอฟตแวรชนิดใดตอไปนี้
(1) Integrated Software
(2) Resident Program
(3) Desktop Manager
(4) Project Management Software
ตอบ 4 Project Management Software คือ โปรแกรมที่ใชในการสรางแผนภูมิเพื่อ
ดําเนินงานทางธุรกิจ เชน การทําแผนภาพ Gantt Chart เพื่อแสดงผังงานแตละประเภทที่
สําคัญวาใชเวลาเทาไร เปนตน
26. โปรแกรมใดต อ ไปนี้ ใ ช สํ า หรั บ ออกแบบและมาสร า งผลิ ต ภั ณ ฑ ต ามแบบ อาชี พ ที่
เกี่ยวของไดแก วิศวกร สถาปนิก นักออกแบบ
(1) PERT
(2) CAD/CAM
(3) ACCESS
(4) LOTUS Metro
ตอบ 2 CAD คือ โปรแกรมที่ใชในงานออกแบบตาง ๆ เชน การออกแบบสินคา สวน
CAM คือ โปรแกรมที่ใชคอมพิวเตอรควบคุมเครื่องจักรใหปฏิบัติการตามที่โปรแกรมสั่ง
27.บุคคลที่ทําหนาที่จัดการดูแลรับผิดชอบการควบคุมระบบฐานขอมูล กําหนดรูปแบบ
มาตรฐานของระบบฐานขอมูลที่ใชภายในองคกรของหนวยงาน เรียกวา
(1) Data dictionary
(2) Data Base Administration
(3) Normalizing Files
(4) Data Base Management System (DBMS)
ตอบ 2 Data Base Administration (DBA) จะเปรียบเสมือนกับหัวหนางานซึ่งจะทํา
หนาที่จัดการดูแลรับผิดชอบการควบคุมระบบฐานขอมูล รวมทั้งสราง Data Definition และ
กําหนดรูปแบบมาตรฐานของระบบฐานขอมูลที่จะใชภายในองคกรดวย
28. สมาชิกที่เล็กที่สุดหรือมีคานอยที่สุด ซึ่งแทนคาไดเพียงคา 0 หรือคา 1 เทานั้น เรียกวา
(1) Byte
(2) Bit
(3) Word
(4) Character
25 
 

สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมชือ และอีเมลลที่
่
LINE ID : sheetram
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740

Más contenido relacionado

Más de บ.ชีทราม จก.

ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Más de บ.ชีทราม จก. (7)

ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

ข้อสอบกรมบังคับคดี ปี 57 คู่มือเตรียมสอบพนักงานเดินหมาย กรมบังคับคดี หนังสือ E-BOOK กรมบังคับคด

  • 2. 2    ขอบเขตเนื้อหา ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ กรมบังคับคดี ความรูเกี่ยวกับกรมบังคับคดี ประวัติกรมบังคับคดี วิสัยทัศน พันธกิจและอํานาจหนาที่ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน อํานาจหนาที่ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ประเภทของการบังคับคดี การยึดทรัพย การอายัดทรัพย การบังคับคดีในการฟองขับไลรื้อถอน การจําหนายทรัพย การบังคับคดีลมละลาย กระบวนการลมละลาย การฟนฟูกิจการ เงื่อนไขการฟนฟูกิจการ การวางทรัพย เหตุของการวางทรัพย ทรัพยที่วางได วิธีปฏิบัติและหนาที่ของผูวางทรัพย แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีแพง แผนผังขั้นตอนการอายัดเงินในคดีแพง แผนขั้นตอนการบังคับคดีขับไล-รื้อถอน แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีลมละลาย แผนภูมิแสดงขั้นตอนการบังคับคดีแพง แผนภูมิแสดงขั้นตอนการฟนฟูกจการของลูกหนี้ ิ แผนภูมิแสดงขั้นตอนการวางทรัพย 5 5 5 6 6 7 7 8 9 9 10 10 10 11 13 13 14 15 15 16 18 20 21 22 23 25 27
  • 3. 3    พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน 2551 ระเบียบฯ วาดวยพนักงานราชการ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง การยื่นและสงคําคูความและเอกสาร ความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ระบบเครือขาย อินเตอรเน็ต โปรแกรมประยุกตใชงานประเภทตางๆ การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟแวร ไวรัสคอมพิวเตอร Microsoft Word Microsoft Excel Microsoft Powerpoint แนวขอสอบ Microsoft Excel แนวขอสอบ Microsoft Word แนวขอสอบ Microsoft Powerpoint แนวขอสอบ พนักงานราชการ แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน แนวขอสอบ คอมพิวเตอร 27 73 84 91 106 109 111 115 116 118 121 123 124 128 133 135 147 168
  • 4. 4    ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมบังคับคดี ประวัติกรมบังคับคดี เดิ ม งานของกรมบั ง คั บ คดี มี ที่ ม าจากหน ว ยงานราชการระดั บ กองในสํ า นั ก ปลัดกระทรวงยุติธรรม 2 กอง คือ กองบังคับคดีแพง และ กองบังคับคดีลมละลาย จนกระทั่ง ป พ.ศ.2517 สมัยรัฐบาล ฯพณฯ ศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ เปนนายกรัฐมนตรี ทาน กิ ต ติ สี ห นนท เปน รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงยุติธ รรมไดเห็น ความสํ าคั ญ ของทั้ ง สองกอง ดังกลาว ประกอบกับงานบังคับคดีแพงและงานบังคับคดีลมละลายเพิ่มขึ้นมาก หนวยงานที่ จัดไวแตเดิม ไมเหมาะสมกับงานที่นับวันแตจะทวีปริมาณมากขึ้นทุกๆ ป ดังนั้นเพื่อใหการดําเนินงานเกี่ยวกับการบังคับคดีแพง คดีลมละลาย งานเกี่ยวกับการ วางทรัพยไดขยายอํานาจหนาที่ทั่วราชอาณาจักร รวมทั้งงานชําระบัญชีหางหุนสวนบริษัท หรือ นิติบุคคลตามคําสั่งศาล ไดดําเนินการโดยเจาหนาที่ที่มีความรูความสามารถชํานาญ งานในหนาที่ไดเปนไปอยางถูกตอง มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รัฐบาลจึงไดออกพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216 ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2515 (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2517 ใหยกฐานะกองบังคับคดีแพงและกอง บังคับคดีลมละลาย รวมจัดตั้งขึ้นเปนกรมบังคับคดีอยูในสังกัดกระทรวงยุติธรรม แลวไดตรา พระราชบั ญ ญั ติ โ อนกิ จ การบริ ห ารงานบางส ว นของสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม พ.ศ.2517 โดยใหโอนบรรดาอํานาจหนาที่ในสวนเกี่ยวกับกองบังคับคดีแพงและกองบังคับ คดี ล ม ละลาย รวมทั้ ง ให โ อนบรรดากิ จ การ ทรั พ ย สิ น หนี้ ข า ราชการ ลู ก จ า ง และเงิ น งบประมาณของสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เฉพาะสวนที่เกี่ยวกับกองบังคับคดีแพง และกองบังคับคดีลมละลายไปเปนของกรมบังคับคดี และนอกจากนี้ ยังไดจัดตั้งหนวยงาน ใหมไ ด แก สํา นั ก งานวางทรั พ ย ก ลางและงานอนุ ญ าโตตุ ล าการ เพื่ อ ชี้ข าดถึ ง ข อ พิพ าท เกี่ยวกับการวางทรัพยภูมิภาคขึ้น รวม 9 ภาค กรมบังคับคดีจึงมีอํานาจหนาที่บังคับคดีแพง และคดีลมละลาย ตลอดจนวางทรัพยทั่วประเทศ แลวเริ่มดําเนินการในฐานะเปนกรมบังคับ คดีนับแตนั้นเปนตนมา
  • 5. 5    วิสัยทัศน มุงมั่นพัฒนาการบังคับคดีอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เสมอภาค เปนธรรม ดวย จิตมุงบริการ เพื่อใหประชาชนเขาถึง เชื่อมั่น ยอมรับ ไดรับประโยชนสูงสุด พันธกิจและอํานาจหนาที่ ใหบริการดานการบังคับคดีแพง คดีลมละลาย การฟนฟูกิจการของลูกหนี้ การชําระ บัญชี และการวางทรัพยอยางมีประสิทธิภาพ เสมอภาค เปนธรรม ศึก ษา วิเคราะห วิ จั ย เพื่ อ พัฒ นาระบบการปฏิ บัติ ง านของการบั ง คั บ คดี แพ ง คดี ลมละลาย การฟนฟูกิจการของลูกหนี้ การชําระบัญชี การวางทรัพยในแตละระบบใหเปน มาตรฐานเดียวกัน สอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งเสริมสรางศักยภาพการ เปนผูนําในดานการบังคับคดีใหสามารถแขงขันกับองคกรตาง ๆ พั ฒ นากฏหมายที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การบั ง คั บ คดี ใ ห ทั น สมั ย และเป น มาตรฐานสากล รองรับตอการเปลี่ยนแปลงตามสภาวการณ เพื่อเอื้ออํานวยตอการปฏิบัติงานและบริการ ประชาชน โดยคํานึงถึงความสะดวก รวดเร็ว เปนธรรมในสังคมและสิทธิมนุษยชน พัฒนาองคกร และระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ คลองตัว โดยประสาน สงเสริม รวมถึงสรางเครือขายความรวมมือการบังคับคดีทั้งในและตางประเทศ สามารถ ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงตามภาวการณโดยยึดหลักธรรมาภิบาล พัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีความรูความสามารถ และความเชี่ยวชาญดานการบังคับ คดีและมีจิตสํานึกในการบริการ อยางมีคุณธรรมและจริยธรรม เผยแพรความรูทางกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับคดใหประชาชนไดเขาใจอยางทั่วถึง ตลอดจนไกลเกลี่ยขอพิพาทในการบังคับคดี และสงเสริมความรวมมือการมีสวนรวมในการ บังคับคดีของภาครัฐและภาคเอกชน
  • 6. 6    ขั้นตอนการปฏิบัติงาน การบังคับคดีแพง ในการบังคับคดีแพง ศาลตองออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงาน กรมบังคับคดีหรือ พนักงานอื่นใด เปนเจาพนักงานบังคับคดี เพื่อจัดการบังคับคดีใหเปนไปตามคําพิพากษา หรือคําสั่ง ทั้งนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 1(14) เจาพนักงาน บังคับคดีหมายถึงเจาพนักงานในสังกัดกรมบังคับคดีหรือเจาพนักงานอื่นผูมีอํานาจตาม บทบัญญัติแหงกฎหมายที่ใชอยูในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการที่บัญญัติไวในภาค 4 แหง ประมวลกฎหมายนี้ เพื่อคุมครองสิทธิของคูความในระหวางพิจารณาหรือเพื่อบังคับคดีตาม คําพิพากษาหรือคําสั่ง ในสวนกลาง เจาพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี มีอํานาจบังคับคดี ในเขตอํานาจของศาล ซึ่งตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ยกเวนศาลจังหวัดมีนบุรี ในสวน ภูมิภาค เจาพนักงานบังคับคดีของสํานักงานงานบังคับคดีจังหวัด สํานักงานบังคับคดีจังหวัด สาขา เปนเจาพนักงานบังคับคดีของสํานักงานบังคับคดีจังหวัด นั้น เดิม เจา พนักงานบัง คับ คดีเปนเจ า พนักงานของศาล เมื่อศาลมีคําสั่ งเกี่ยวกับการ บังคับคดีอยางใดแลวเจาพนักงานบังคับคดีตองปฏิบัติตามจะอุทธรณฎีกาคัดคานคําสั่งศาล ไมได แตปจจุบันเจาพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี สังกัดกระทรวงยุติธรรมจึงไมใชเจา พนักงานศาล (ทั้งนี้ตามมาตรา 275 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ราชกิจจานุเบกษา 11 ตุลาคม 2540 ประกอบกับกฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร ราชการศาลยุติธรรม กําหนดใหสํานักงานศาลยุติธรรม เปนหนวยงานธุรการอิสระของศาล ยุติธรรม แตมิไดกําหนดใหกรมบังคดีเปนหนวยงานธุรการของศาลยุติธรรม ตามราชกิจจา นุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม 117 ตอนที่ 103 ก วันที่ 13 พฤศจิกายน 2543) จึงจะใชสิทธิ คัดคานหรืออุทธรณฎีกาคําสั่งศาลไดหรือไม ควรศึกษาตอไป อํานาจหนาที่ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง 1. อํานาจหนาที่เกี่ยวกับวิธีการชั่วคราวกอนมีคําพิพากษา ตามประมวลวิธีพิจารณา ความแพงมาตรา 254 ซึ่งศาลมีคําสั่งใหยึดหรืออายัดทรัพยสินหรือกักเรือของจําเลยไว ชั่วคราวกอนศาลจะมีคําพิพากษา เชนนี้ศาลจะออกหมายยึดทรัพยชั่วคราว หมายกักเรือ ตั้ง เจาพนักงานบังคับคดีจัดการยึดทรัพยสินหรือเรือของจําเลยไว เพื่อไมใหจําเลยยักยายถาย ทรัพยสิน
  • 7. 7    2. อํานาจหนาที่เกี่ยวกับการบังคับคดีอันเปนการบังคับคดีใหเปนไปตามคําพิพากษา หรือคําสั่งตามประมวลวิธีพิจารณาความแพง เมื่อศาลมีคําพิพากษาใหคูความฝายใดแพคดี และใหฝายแพคดี(ลูกหนี้ตามคําพิพากษา)ปฏิบัติการชําระหนี้อยางใดอยางหนึ่งตามฟอง หากเปนกรณีที่ตองดําเนินการทางเจาพนักงานบังคับคดี โดยการบังคับคดีชําระหนี้เอาจาก บรรดาทรั พ ยสินของลูกหนี้ตามคําพิพากษา คู ค วามฝายที่ช นะคดี (เจ า พนักงานตามคํา พิพากษา) ชอบที่จะรองขอใหศาลออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงานบังคับคดีเพื่อจัดการ อายัด ทรั พ ย สิ น ของลูก หนี้ต ามคํ าพิ พ ากษาออกขายทอดตลาด และเอาเงิ น ชํา ระหนี้แ ก เจาหนี้ตามคําพิพากษา หรือหากการชําระหนี้ตามคําพิพากษานั้นเปนการสงมอบทรัพยสิน กระทําการ งดเวนกระทําการหรือขับไลลูกหนี้ตามคําพิพากษา ศาลจะออกหมายบังคับคดีได โดยการกําหนดเงื่อนไขแหงการบังคับคดีลงในหมายนั้น และกําหนดการบังคับคดีเพียงเทาที่ สภาพแหงการบังคับคดีจะเปดชองใหทําไดโดยทางศาลหรือโดยทางเจาพนักงานบังคับคดี ตามประมวลวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 276 วรรคทายอํานาจหนาที่ตามกฎหมายอื่น 1. กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เปนกรณีศาลในคดีอาญามีคําสั่งใหปรับ นายประกันจําเลย ฐานผิดสัญญาประกันที่ทําไวตอศาล โดยศาลจะออกหมายบังคับคดีตั้งเจา พนักงานบังคับคดีของศาลจัดการยึดทรัพยสิน ซึ่งนายประกันยื่นเปนหลักประกันตอศาล แลวนําออกขายทอดตลาดนําเงินชําระคาปรับ (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 119) 2. กฎหมายอาญา กรณีตามประมวลหมายอาญา มาตรา 29 ผูใดตองโทษปรับ และไมชําระคาปรับภายใน 30 วันนับแตวันที่ศาลมีคําสั่งพิพากษา ผูนั้นจะตองถูกยึดทรัพย สินใชคาปรับ ดังนี้ศาลจะออกหมายบังคับคดีตั้งเจาพนักงานบังคับคดีของศาลจัดการยึด ทรัพยสิน ของจําเลยขายทอดตลาดนําเงินชําระคาปรับ 3. พระราชบัญญัติลมละลาย ในทางปฏิบัติและระเบียบกระทรวงยุติธรรมวา ดวยการบังคับคดี เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะบังคับคดีกับทรัพยของลูกหนี้ (จําเลย) ในคดี ลมละลายเองหรืออาจมีบันทึกเปนหนังสือแจงใหเจาพนักงานบังคับคดีทําการยึดแทน ประเภทของการบังคับคดี ในการออกหมายบั ง คั บ คดี ศาลจะระบุ เ งื่ อ นไขแห ง การบั ง คั บ คดี ต ามที่ ร ะบุ ไ ว ใ น มาตรา 213 แหง ปพพ. และจะกําหนดสภาพแหงการบังคับคดีเพียงเทาที่เปดชองใหกระทํา ทางศาลหรือโดยทางเจาพนักงานบังคับคดี
  • 8. 8    1. การยึดทรัพย 2. การอายัดทรัพย 3. การขายทอดตลาด 4. การบังคับคดีขับไล , รื้อถอน 5. อื่น ๆ เชนการหามชั่วคราว การหามทํานิติกรรม จําหนาย จาย โอน การยึดทรัพย การยึดทรัพยมีอยู 4 ลักษณะดังนี้คือ 1. การยึดทรัพยตามความหมายบังคับคดีรวมถึงการยึดทรัพยตามหมายยึดทรัพย ชั่วคราว ทั้งนี้เจาพนักงานบังคับคดีมหนาที่ตองดําเนินการตามที่ศาลสั่งมาโดยเฉพาะเจาะจง ี จะยึดทรัพยอื่นไมได 2. การยึดทรัพยขามเขตอํานาจศาล 3. การยึดทรัพยตามหมายบังคับคดีของศาลอื่น เปนการบังคับคดีแทน 4. การยึดทรัพยซึ่งตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานครแทนศาลตางจังหวัด สังหาริมทรัพยที่ไดรับการยกเวน ไมอยูในอํานาจหนาที่การบังคับคดี ไดแก 1. เครื่องใชสอยสวนตัว เชนที่นอน เครื่องใชครัวเรือน รวมกันเปนเงินไมเกิน 5,000 บาท หากลูกหนี้ตามคําพิพากษาประสงคจะไดรับการยกเวนเกินกวาที่กําหนด ตองไปรองตอ ศาล 2. ทรัพยสินที่ลูกหนี้มีไวใชในการประกอบอาชีพ เชน เครืองใชตาง ๆ ดังนี้กฎหมาย ่ กําหนด ยกเวนใหในจํานวนเงิน 10,000 บาท หากลูกหนี้ตามคําพิพากษาประสงคจะใช เครื่องมือเครื่องใชใดที่มจํานวนเงินเกินกวาที่กําหนด ตองไปรองตอศาล ี 3. ทรัพยสินที่มีไวใชแทนอวัยวะ ตาง ๆ เชน แขนขาเทียม 4. ทรัพยสินที่เปนของวงศตระกูล เชน สมุด หนังสือประจําตระกูล เปนตน การอายัดทรัพย ตามลักษณะการปฏิบัติงานของเจาพนักงานบังคับคดีมี 2 กรณี คือ 1. การอายัดสิทธิรองขอใหชําระเงิน จํานวนหนึ่งหรือเรียกวาการอายัดเงิน 2. การขอใหงดหรือหามจําหนาย จายโอน หรือ ทํานิติกรรมเกี่ยวกับทรัพยสินหรือ เรียกวา การอายัดหามโอน
  • 9. 9    การบังคับคดีในการฟองขับไล รื้อถอน เมือศาลมีคําสั่งใหตั้งเจาพนักงานบังคับคดี จัดการใหเจาหนี้ตามคําพิพากษาได ่ ครอบครองทรัพย ดังกลาว 1. กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาถูกศาลพิพากษาใหขับไล หรือตองออกไปจากที่ อยูอาศัย หรือทรัพยที่ครอบครอง 2. กรณีที่ลูกหนี้ตามคําพิพากษาตองรื้อถอนสิ่งปลูกสรางออกไปจาก อสังหาริมทรัพย ที่อยูอาศัย หรือทรัพยที่ครอบครอง การจําหนายทรัพย การขายทอดตลาดทรัพย เจาพนักงานบังคับคดี ตองตรวจสํานวนกอนวามีการปฏิบติ ั ตามขั้นตอน ที่ ป.วิ.พ. มาตรา 303 และมาตรา 304 1. ไดมีการแจงการยึดทรัพยใหลูกหนี้ตามคําพิพากษา และผูที่มีสวนไดเสียอื่น ๆ ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 287 2. ถาเปนอสังหาริมทรัพย หรือทรัพยที่ตองมีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียน ไดมีการ แจงใหนายทะเบียนทราบ ในการบังคับคดีนั้น เจาพนักงานบังคับคดีมอํานาจตามหมายบังคับคดีของศาลที่มี ี เขตอํานาจทีสํานักงานบังคับคดีตั้งอยูเทานั้น อยางไรก็ตาม หากมีการรองขอ เจาพนักงาน ่ บังคับคดียอมมีอํานาจในการบังคับคดีแทนตามหมายบังคับคดีที่ออกโดยศาลอื่นไดเชนกัน การบังคับคดีลมละลาย การล มละลายเกิดจากการมีหนี้สิน ลนพนตัวคื อมีหนี้สินมากกวาทรัพยสิน จึ งเกิด กฎหมายลมละลายขึ้นมาเพื่อจัดระบบใหเกิดความเปนธรรม แกบรรดาเจาหนี้ทุกราย เพื่อให ไดรับชําระหนี้เต็มจํานวนหรือโดยสวนเฉลี่ยที่เทาเทียมกัน ตามสัดสวนแหงหนี้จากหนี้ที่ ลูกหนี้มีอยูกับเจาหนี้รายนั้น ๆ ในคดีลมละลายเพื่อที่จะทราบวา ลูกหนี้คดีนี้มีเจาหนี้อยูกี่ราย เปนจํานวนหนี้เทาใดกฎหมายจึงกําหนดใหตองมีการโฆษณาคําสั่งพิทักษทรัพย เมื่อศาลมี คําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดแลว บรรดาเจาหนี้ทั้งหลายตองมายื่นคําขอรับชําระหนี้ตอเจา พนักงานพิทักษทรัพย ภายในเวลา 2 เดือน เพื่อที่ลูกหนี้จะไดทราบวาตนเองมีหนี้สินเทาใด หากตองการจะจัดการกับหนี้สินดังกลาวควรจะทําอยางไร เชนอาจจะยื่นคําขอประนอมหนี้ ตามจํานวนที่คิดวาจะสามารถชําระแกเจาหนี้ได หรือหากไมสามารถจะประนอมหนี้ไดก็ตอง
  • 10. 10    เปนบุคคลลมละลายตอไป เมื่อศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยตาม พ.ร.บ. ลมละลาย พ.ศ.2483 แลว คําสั่งพิทักษทรัพยมี 2 อยาง คือ 1. คําสั่งพิทักษทรัพยชั่วคราว คําสั่งนี้เปนคําสั่งใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยเขา รวบรวมทรัพยสินของลูกหนี้ไวชั่วคราว (เปนการคุมครองเจาหนี้ชั่วคราวกอนศาลมีคําสั่ง พิทักษทรัพยเด็ดขาด) เพื่อปองกันมิใหลูกหนี้ยักยายถายเททรัพยสินนั่นเอง 2. คําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด คําสั่งนี้เปนคําสั่งใหเจาพนักงานพิทักษทรัพยเขา รวบรวมทรัพยสินของลูกหนี้โดยเด็ดขาด อันมีผลเหมือนเปนคําพิพากษา กระบวนการลมละลาย มีดังนี้ 1. การรวบรวมทรัพยสินเปนการรวบรวมทรัพยสินของเจาพนักงานพิทักษทรัพยซึ่ง ไดมาจากการสอบสวน การรวบรวมเอกสารทางบัญชี และสืบหาทรัพยของบรรดาเจาหนี้เปน หลักใหญ 2. การรวบรวมเจาหนี้ เมื่อศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดแลว บรรดาเจาหนี้ตอง มายื่นคําขอรับชําระหนี้ตอเจาพนักงานพิทักษทรัพยภายใน 2 เดือนนับแตมีการประกาศ คําสั่ ง พิ ทัก ษทรั พ ย เด็ดขาด ดั ง นั้ น เจ าหนี้ ทุกรายแม จ ะเป นเจาหนี้ ต ามคํ าพิ พากษาหรื อ เจ า หนี้ ผู เ ป น โจทก ก็ ต อ งมายื่ น คํ า ขอรั บ ชํ า ระหนี้ ด ว ย เพื่ อ มาพิ สู จ น ห นี้ กั น ใหม ใ นคดี ลมละลาย และเพื่อใหลูกหนี้ทราบวาตนมีหนี้สินเทาใด หากจะมีการประนอมหนี้ เมื่อเจาหนี้ มายื่นคําขอรับชําระหนี้แลว เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะนัดพรอมเพื่อตรวจคําขอรับชําระหนี้ เพื่อใหเจาหนี้มีโอกาสโตแยงคําขอรับชําระหนี้ของเจาหนี้รายอื่น หากเห็นวาไมไดเปนหนี้กัน จริง หรือหนี้ที่ขอมาสูงกวาที่ควรจะไดรับชําระหนี้ ตอจากนั้นเจาพนักงานพิทักษทรัพยจะทํา การสอบสวนพยานเจาหนี้ทุกรายและทําความเห็นเสนอศาล วาเจาหนี้มีสิทธิไดรับชําระหนี้ หรือไมเทาใด เมื่อศาลพิจารณาจากความเห็นของเจาพนักงานพิทักษทรัพยแลว จะมีคําสั่ง ตาม หรือแกไข หรือยกขอรับชําระหนี้นั้น เจาพนักงานพิทัก ษทรัพยจะแจงคําสั่งศาลให เจาหนี้ทราบ เจาหนี้ ลูกหนี้และผูโตแยง (ถามี) มีสิทธิอุทธรณคําสั่งศาลไดภายใน 1 เดือน นับแตทราบคําสั่ง 3. การพิจารณาหลังศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด เปนกระบวนการที่ตอง ดําเนินการในชั้นเจาพนักงานพิทักษทรัพย ตามที่กฎหมายบัญญัติไวใหดําเนินการโดยเจา พนักงานพิทักษทรัพยและคดีลมละลายทุกคดีจะตองทําอะไรบาง
  • 11. 11    การประชุมเจาหนี้ครั้งแรก กฎหมายกําหนดใหตองมีการประชุมเจาหนี้ครั้งแรกโดย ดวน และกําหนดวาตองมีหัวขอประชุมวาตองมีการพิจารณาคําขอประนอมหนี้กอนลมละลาย หรือควรขอใหศาลพิพากษาใหลมละลาย ในการลงมติวาจะรับคําขอประนอมหนี้หรือไมนั้น กฎหมายกําหนดวาตองมีมติพิเศษ คือตองมีจํานวนหนี้ไมนอยกวา 3 ใน 4 และมีจํานวน เจาหนี้ฝายขางมากของเจาหนี้ที่เขาประชุมและออกเสียง การไต ส วนลู ก หนี้ โ ดยเป ด เผย หลั ง จากมี ก ารประชุ ม เจ า หนี้ ค รั้ ง แรกแล ว เจ า พนักงานพิทักษทรัพยจะรายงานผลการประชุมตอศาล และศาลจะนัดไตสวนลูกหนี้โดย เปดเผยเพื่อทราบความเปนมาและกิจการทรัพยสินของลูกหนี้ เพื่อเปนขอมูลในการพิจารณา ว า จะสมควรเห็ น ชอบกั บ การประนอมหนี้ ข องลู ก หนี้ ร วมทั้ ง การที่ ลู ก หนี้ จ ะใช สิ ท ธิ ท าง กฎหมายอื่ น ๆ เช น การขอออกนอกประเทศ การปลดจากการล ม ละลาย การยกเลิ ก ลมละลายเปนตน การรวบรวมและการแบงทรั พย สิน ในกรณี ที่ ศาลพิ พ ากษาใหลูกหนี้เป น บุค คล ลมละลาย เจาพนักงานพิทักษทรัพยยังคงมีหนี้ที่ในการรวบรวมทรัพยสินตอไป ทั้งการยึด อายัด เก็บรวบรวมและขายทอดตลาดทรัพยสิน เพื่อนําเงินมารวบรวมไวในกองทรัพยสิน และจะตองทําการแบงทรัพยสินทุก 6 เดือน เวนแตยังไมสามารถรวบรวมทรัพยสินได หรือ เงินที่รวบรวมไดมีจํานวนนอยยังไมสมควรแบงก็จะรายงานศาลขออนุญาตขยายระยะเวลา การแบงทรัพยสินออกไปกอน การแบงทรัพยสินนี้อยูในหลักเกณฑวา เจาหนี้ทุกรายจะตองไดรับสวนเฉลี่ยใน อัตราที่เทาเทียมกัน เวนแตเจาหนี้รายใดมีบุริมสิทธิ การปดคดี การปดคดีไมไดทําใหคดีลมละลายเสร็จสิ้นหรือทําใหการลมละลาย ระงับไป แตเปนกรณีที่ไมมีกิจการทรัพยสินในคดีที่จะตองดําเนินการแลว กฎหมายใหมีการ ปดคดีไวกอน แตหากภายในเวลา 10 ปนับแตศาลมีคําสั่งปดคดี พบวาลูกหนี้มีทรัพยสินใด ขึ้นใหม เจาพนักงานพิทักษทรัพยจะขอใหศาลมีคําสั่งเปดคดีเพื่อทําการสอบสวน และนํา ทรัพยสินนั้นเขามาไวในกองทรัพยสินเพื่อแบงใหแกเจาหนี้ตอไป การหลุดพนจากการลมละลาย แมศาลพิพากษาใหลูกหนี้เปนบุคคลลมละลายแลว ลูกหนี้ก็สามารถหลุดพนจากการลมละลายได โดย การประนอมหนี้ภายหลังลมละลาย การ ปลดจาการลมละลายตาม พ.ร.บ. ลมละลาย แกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 7 พ.ศ. 2547 การยกเลิก การลมละลาย กฎหมายกําหนดไวรวม 4 เหตุคือ
  • 12. 12    1. กรณีไมมีเจาหนี้รายใดชวยเหลือเจาพนักงานพิทักษทรัพยในการรวบรวมทรัพยสิน 2. กรณีมีเหตุอื่น ๆ ที่ลูกหนี้ไมควรถูกพิพากษาใหลมละลาย เชน ไมมีเจาหนี้ยื่นคํา ขอรับชําระหนี้ 3. กรณีหนี้สินของลูกหนี้ไดรับชําระเต็มจํานวน 4. กรณีศาลมีคําสั่งปดคดีแลว 10 รวบรวมทรัพยสินไดอีก ปและเจาพนักงานพิทักษทรัพยไมสามารถ การฟนฟูกิจการ ภาวะวิกฤติเศรษฐกิจที่ไดเกิดขึ้นในประเทศไทยในป พ.ศ. 2540 ไดสงผลกระทบ รายแรงตอเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะภาคการเงินการธนาคารที่ไดรับความเสียหาย โดยตรง เปนเหตุใหธุรกิจจํานวนมากตองประสบวิกฤติทางการเงินและตองลมละลายไปใน ที่สุด ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากวิกฤติเศรษฐกิจมีดังนี้ คือ 1. ความลมเหลวในดานการลงทุนของประเทศ 2. การที่ลูกหนี้ตองเลือกชําระหนี้โดยการผอนชําระเปนงวด เพื่อหลีกเลี่ยงการถูกบังคับ ชําระหนี้โดยมาตรการของเจาหนี้ 3. ความลมเหลวในดานการจางงาน เห็นไดจากการเลิกจางจํานวนมาก และอัตราการ วางงานที่สูงของประเทศ ในประเทศไทย พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. 2483 เปนกฎหมายที่ไดกําหนด กระบวนการลมละลายอยางเปนทางการ พระราชบัญญัติฉบับนี้ไดรับการแกไขในเวลาตอมา โดยพระราชบัญญัติลมละลาย ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2541 โดยไดเพิ่มกระบวนการฟนฟูกิจการเขา มาใหเปนอีกทางเลือกหนึ่งของการจัดการทรัพยสินลูกหนี้ที่มีหนี้สินลนพนตัว นอกเหนือจาก การบังคับใหลมละลาย การแกไขเพิ่มเติมกฎหมายลมละลายทั้งในครั้งนี้และในครั้งตอๆมา ลวนเปนผลมาจากความพยายามของรัฐบาลในการปรับปรุงกระบวนการลมละลายใหมีความ สอดคลองกับยุคสมัยอยูเสมอ เงื่อนไขเพื่อเขารับการฟนฟูกิจการ 1. ลูกหนี้ตองเปนบริษัท จํากัด, บริษทมหาชน จํากัด หรือ นิติบุคคลอืนใด ั ่ 2. ลูกหนี้ตองมีหนี้สินลนพนตัว
  • 13. 13    3. ลูกหนี้ตองมีหนี้ทั้งหมดในจํานวนที่แนนอน ไมต่ํากวา 10 ลานบาท การเริ่มกระบวนการฟนฟูกิจการกระทําไดโดยมีการยื่นคํารองขอฟนฟูกจการตอศาล ิ ลมละลาย โดยศาลอาจมีคําสั่งใหฟนฟูกิจการตามที่รองขอ เมื่อศาลเห็นวามีเหตุผลสมควร และมีชองทางที่จะฟนฟูกิจการของลูกหนี้ ทั้งนี้ กระบวนการฟนฟูกจการถือเปนการใหโอกาส ิ แกลูกหนี้ที่หนี้สินลนพนตัว หากแตยังมีศักยภาพทางธุรกิจที่ดีอยู ไมใหถูกพิทักษทรัพยและ ขณะเดียวกันก็รักษาธุรกิจของตนไว และเพื่อดําเนินการใหกระบวนการฟนฟูกจการประสบ ิ ผลสําเร็จ กระทรวงยุติธรรมจึงไดตั้งสํานักฟนฟูกิจการลูกหนี้ขึ้นในวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2541 โดยใหเปนหนวยงานหลักในการดําเนินการใหเปนไปตามกระบวนการฟนฟูกจการ ิ กฎหมายลมละลายไดกําหนดอํานาจหนาที่ของเจาพนักงานพิทักษทรัพยใน กระบวนการนี้ ใหเริ่มขึ้นทันทีที่ศาลมีคําสั่งใหฟนฟูกิจการ ภายหลังศาลมีคําสั่งแลว ภาระหนาที่ที่สําคัญของเจาพนักงานพิทักษทรัพยไดแก 1. เรียกประชุมเจาหนี้ 2. ทําความเห็นคําขอรับชําระหนี้ของเจาหนี้ 3. ใหความชวยเหลือแกศาลในการติดตามความกาวหนาของขั้นตอนการฟนฟูกิจการ วัตถุประสงคของสํานักฟนฟูกิจการลูกหนี้คือ การใหความชวยเหลือแกลูกหนี้ที่ ประสบภาวะหนี้สินลนพนตัวในการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการจนสัมฤทธิ์ผล อยางไรก็ตาม ผูทําแผนและผูบริหารแผนตางก็มีสวนสําคัญในการชวยใหลูกหนี้สามารถฟนฟูกจการไดเปน  ิ ผลสําเร็จ ดังนั้น เพื่อใหบุคคลดังกลาวเห็นความสําคัญของหนาที่และความรับผิดชอบของตน ในการฟนฟูกิจการใหประสบผลสําเร็จ รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรมจึงไดออก  กฎกระทรวงลงวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2545 กําหนดใหผูที่ประสงคจะเปนผูทําแผนและ ผูบริหารแผนทุกคนตองมีคุณสมบัตตามที่ไดกําหนดไว และตองขึ้นทะเบียน นอกจากนี้ยังได ิ จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้น ซึ่งประกอบดวยอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบการทํางานของ ทั้งผูทําแผนและผูบริหารแผน ทั้งนี้เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาวอีกเชนกัน การวางทรัพย การวางทรัพยเปนกระบวนการที่อนุญาตใหลูกหนี้หรือบุคคลที่สามที่ยินดีจะชําระหนี้ แทนลูกหนี้มาวางทรัพย ณ สํานักงานวางทรัพย ซึ่งหากดําเนินการอยางถูกตองแลว ยอม สงผลใหลูกหนี้หลุดพนจากหนี้ ถึงแมวาเจาหนี้ไมปฏิเสธไมยอมรับชําระหนี้
  • 14. 14    เหตุของการวางทรัพย เหตุที่จะวางทรัพยไดมีดังนี้ 1) เจาหนี้บอกปดไมยอมรับชําระหนี้หรือปฏิเสธไมยอมรับชําระหนี้ เชน จายคาเชา บานไมได เพราะผูใหเชาบายเบี่ยงเพื่อหาเหตุจะยกเลิกการเชา 2) เจาหนี้ไมสามารถจะรับชําระหนี้ได ซึ่งอาจเปนเพราะเจาหนี้ไมอยูหรือไป ตางประเทศไมทราบจะกลับมาเมื่อใด 3) ไมสามารถจะหยั่งรูถึงสิทธิของเจาหนี้ หรือรูตัวเจาหนี้ไดแนนอนโดยมิใชความผิด ของตน เชน เจาหนี้ตาย ลูกหนี้ไมทราบวาใครเปนทายาท 4) ตามบทบั ญ ญั ติ แ ห ง ประมวลกฎหมายแพ ง และพาณิ ช ย มาตรา 232,302,631,679,754,772 และ 947 5) ตามบั ญ ญั ติ แห ง กฎหมายอื่น ให มีก ารวางทรั พ ย เช น กฎหมายเวนคื น อสังหาริมทรัพย 6) ตามคําสั่งศาล ทรัพยที่วางได ทรัพยที่วางได ไดแก เงินและทรัพยสินอื่นๆ ไมวาจะเปนอสังหาริมทรัพย หรือ สังหาริมทรัพยที่จะสงมอบกันตามกฎหมาย 1) ในกรณีที่เกี่ยวกับทรัพยที่วางเปนเงิน 1.2 วางทรัพยดวยเงินสด 1.3 วางดวยเช็คทุกชนิดถาหากใหมีผลสมบูรณในวันที่วาง ผูวางทรัพยควรวางเปน  เงินสด 2) ทรัพยที่ไมควรวาง ไดแก 2.1 สภาพทรัพยไมควรแกการวาง หรือเปนที่พงวิตกวาทรัพยนั้นตอไปจะเสื่อมเสีย ึ หรือทําลาย หรือบุบสลายได เชน น้ําแข็งที่สลักเปนรูปตาง ๆ เพื่อความสวยงามในงานสมรส 2.2 คารักษาทรัพยแพงเกินควร 2.3 ตึกแถว โรงแรม คอนโดมิเนียม เครื่องจักร เปนตน ผูที่วางทรัพยได ผูที่วางทรัพยไดคือ 1) ลูกหนี้
  • 15. 15    2) ผูรับมอบอํานาจลูกหนี้ 3) บุคคลภายนอกที่เต็มใจชําระหนี้แทนลูกหนี้ เวนแตสภาพของหนี้ที่จะชําระนั้นไม อาจใหบุคคลภายนอกชําระแทนได สถานที่ติดตอ สถานที่ติดตอในการวางทรัพยคือ 1) สวนกลาง ติดตอที่สํานักงานวางทรัพยกลาง กรมบังคับคดี เลขที่ 189/1 ถนนบางขุนนนท แขวงบางขุนนนท เขตบางกอกนอย กรุงเทพ โทรศัพท 02-881-4999 2) สวนภูมิภาค ติดตอที่ 2.1 สํานักงานบังคับคดีและวางทรัพย ภูมิภาคที่ 1-9 2.2 สํานักงานบังคับคดีและวางทรัพยประจําจังหวัด วิธีปฏิบัติและหนาที่ของผูวางทรัพย ผูวางทรัพยตองปฏิบัติและมีหนาที่ดังนี้ 1) เขียนคําขอวางทรัพยตามแบบ ว.1 หากมอบใหบุคคลอื่นวางทรัพยแทนตองทําใบ มอบอํานาจตามแบบ ว.4 2) เตรียมหลักฐานที่เกี่ยวของกับการวางทรัพยในเรื่องนั้น ๆ มาแสดง 2.1 ถาวางตามสัญญาประนีประนอมยอมความของศาลใหมีคําพิพากษาตาม ยอมที่จาศาลรับรอง 2.2 ถาวางตามสัญญาเชาใหมีสัญญาเชาพรอมถายสําเนาสัญญาเชาที่รับรอง 2.3 ถาวางตามสัญญาขายฝากใหมีสัญญาขายฝาก พรอมถายสําเนาสัญญา ขายฝากที่รับรอง 3) ตองวางเงินประกันคาใชจายครั้งแรก 300 บาท 4) ในกรณีทรัพยที่วางเปนอสังหาริมทรัพยตองนําเจาพนักงานไปตรวจทรัพยกอน 5) ผูวางทรัพยหรือผูรับมอบอํานาจตองมาใหเจาพนักงานสอบสวนถึงที่มาแหงมูลหนี้ 6) ผูวางทรัพยตองแจงการวางทรัพยใหเจาหนี้ทราบโดยเร็ว ผลของการวางทรัพย 1) ทําใหทานหลุดพนจากหนี้ที่ตองชําระไมตกเปนผูผิดนัดและไมตองเสียดอกเบี้ย ใหแก เจาหนี้หลังจากวันที่ทานวางทรัพย
  • 16. 16    2) เจาหนี้มีสิทธิมารับทรัพยที่วางภายใน 10 ป นับแตไดรับคําบอกกลาวการวาง ทรัพย หากเจาหนี้ไมมารับสิทธิของเจาหนี้เหนือทรัพยที่วางเปนอันระงับไป 3) เมื่อเจาหนี้มารับเงินแลว ผูวางทรัพย ตองมารับคาใชจายที่วางประกันไวคืน หากผู วางทรัพย ไมมารับคืนภายใน 1 เดือน เงินคาใชจายวางประกันตกเปนของแผนดิน การถอนหรือขอรับทรัพยที่วาง ผูวางทรัพยอาจถอนหรือขอรับทรัพยที่วางคืนไดเวนแตกรณีดังตอไปนี้ 1) ผูวางทรัพยไดแสดงเจตนาสละสิทธิที่จะถอนไว 2) เจาหนี้ไดแจงตอสํานักงานวางทรัพย วาจะรับทรัพยที่วางนั้นแลว 3) การวางทรัพยตามคําสั่งศาล 4) หากบุคคลใดวางทรัพยชําระหนี้แทนลูกหนี้ บุคคลนั้นจะถอนการวางทรัพยไดก็ ตอเมือ ่ ลูกหนี้ยินยอม ผลของการถอนการวางทรัพย เมื่อผูวางทรัพย (ลูกหนี้) ถอนทรัพยที่วางใหถือเสมือนวามิไดมีการ วางทรัพยเลย เชนเดียวกับเช็คที่สั่งจาย เพื่อการวางทรัพยหากเรียกเก็บเงินไมได ก็ใหถือเสมือนวามิไดมี การวางทรัพยเลย ทานจะหลุดพนจากหนี้ไดอยางไร หากเจาหนี้บอกปดไมยอมรับชําระหนี้ อาทิเชน - คาเชาบาน - คาเชาซื้อ - ไถถอนการขายฝาก - ไถถอนจํานอง ฯลฯ สอบถามรายละเอียดไดที่ - สํานักงานวางทรัพยกลาง กรมบังคับคดีกระทรวงยุติธรรม - สํานักงานบังคับคดีและวางทรัพยภูมิภาคที่ 1-9 - สํานักงานบังคับคดีและวางทรัพยประจําจังหวัด
  • 18. 18    สถานที่ติดตอ เมื่อศาลออกหมายตั้งเจาพนักงานบังคับคดีแลว เจาหนี้ตามคําพิพากษาที่ประสงคจะ บังคับ คดีใหติดตอเจาพนักงานบังคับคดียังสถานที่ตอไปนี้ สวนกลาง หมายบังคับคดีของศาลในกรุงเทพมหานคร ยกเวนหมายบังคับคดีของ ศาลจังหวัดมีนบุรี ตองติดตอกับเจาพนักงานบังคับคดี กองบังคับคดีแพง 1-3 กรมบังคับคดี นี้ (1) หมายบังคับคดี (หมายเลขคดีแดง) หรือหมายยึดทรัพยชั่วคราว (หมายเลขคดี ดํา) ของศาล แพง ใหติดตอกับกองคดีแพง (2) หมายบังคับคดี (หมายเลขคดีแดง) หรือหมายยึดทรัพยชั่วคราว (หมายเลขคดี ดํา) ของศาล ศาลแพงกรุงเทพใต ใหติดตอกับกองคดีแพง 2 (3) หมายบังคับคดี (หมายเลขคดีแดง) หรือหมายยึดทรัพยชั่วคราว (หมายเลขคดี ดํา) ของ ของศาลแพงธนบุรี ศาลอาญา ศาลอาญากรุงเทพใต ศาลอาญาธนบุรี ศาลภาษี อากรกลาง ศาลแรงงาน กลางศาลแขวงในกรุงเทพมหานคร และการบังคับคดีแทนศาลอื่น ทุกศาลนั้น ใหติดตอกองบังคับคดีแพง 3 สวนภูมิภาค หมายบังคับคดีของศาลในตางจังหวัด (1) หมายบังคับคดี (หมายเลขคดีแดง) หรือหมายยึดทรัพยชั่วคราว (หมายเลขคดี ดํา) ของศาลในจังหวัด ที่มีสํานักบังคับคดีและวางทรัพยภูมิภาคหรือสํานักงานบังคับคดี จังหวัดนั้นๆ (2) หมายบังคับคดีของศาลอื่นนอกจากที่กลาวในขอ (1) ใหติดตอจาศาลของศาล นั้นๆ
  • 20. 20    แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 20.ขาราชการพลเรือนซึงรับราชการโดยไดรับการบรรจุแตงตัง ตามที่บญญัติไวในลักษณะ 4 ่ ้ ั ของขาราชการพลเรือนสามัญเรียกวา ก. ขาราชการพลเรือน ข. ขาราชการพลเรือนสามัญ ค. ขาราชการพลเรือนในพระองค ง. ขาราชการพลเรือนพิเศษ ตอบ ข. ขาราชการพลเรือนสามัญ ขาราชการพลเรือนสามัญ ไดแก ขาราชการพลเรือนซึ่งรับราชการโดยไดรับบรรจุ แตงตั้ง ตามที่บัญญัติไวในลักษณะ 4 ขาราชการพลเรือนสามัญ (พรบ.ระเบียบขาราชการพล เรือน พ.ศ.2551 มาตรา 35) 21.ขอใดไมใชลักษณะตองหามของขาราชการพลเรือน ก. ผูเคยกระทําการทุจริตในการสอบเขารับราชการ ข. อยูในระหวางถูกสั่งพักราชการ ค. เปนผูบกพรองในศีลธรรมอันดีจนเปนที่รังเกียจของสังคม ง. มีความผิดลหุโทษ ตอบ ง. มีความผิดลหุโทษ ั่ ผูที่จะเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนตองมีคุณสมบัติทวไป และไมมีลักษณะ ตองหามดังตอไปนี้ (1) เปนผูดํารงตําแหนงทางการเมือง (2) เปนคนไรความสามารถ คนเสมือนไรความสามารถ คนวิกลจริตหรือจิตฟนเฟอน ไมสมประกอบ หรือเปนโรคตามที่กาหนดในกฎ ก.พ. ํ (3) เปนผูอยูในระหวางถูกสั่งพักราชการหรือถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอนตาม พระราชบัญญัติ นี้หรือตามกฎหมายอื่น (4) เปนผูบกพรองในศีลธรรมอันดีจนเปนที่รังเกียจของสังคม (5) เปนกรรมการหรือผูดํารงตําแหนงที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง หรือ เจาหนาที่ ในพรรคการเมือง (6) เปนบุคคลลมละลาย (7) เปนผูเคยตองรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุกเพราะกระทําความผิด ทางอาญา เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
  • 21. 21    27.ตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญ มีกี่ประเภท อะไรบาง ก. 2 ประเภท, บริหาร และอํานวยการ ข. 3 ประเภท, บริหาร อํานวยการและวิชาการ ค. 4 ประเภท, บริหาร อํานวยการ วิชาการและทั่วไป ง. 5 ประเภท, บริหาร อํานวยการ วิชาการ ทั่วไป และพิเศษ ตอบ ค. 4 ประเภท, บริหาร อํานวยการ วิชาการและทั่วไป ตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญมี 4 ประเภท ดังตอไปนี้ บริหาร อํานวยการ วิชาการและทั่วไป (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 45) 28.ตําแหนง หัวหนาสวนราชการและรองหัวหนาสวนราชการระดับ กระทรวง กรม เปน ตําแหนงประเภทใดในตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญ ก. ประเภทบริหาร ข. ประเภทอํานวยการ ค. ประเภทวิชาการ ง. ประเภททั่วไป ตอบ ก. ประเภทบริหาร ตําแหนงประเภทบริหาร ไดแก ตําแหนงหัวหนาสวนราชการและรองหัวหนาสวน ราชการ ระดับกระทรวง กรม และตําแหนงอื่นที่ ก.พ. กําหนดเปนตําแหนงประเภทบริหาร (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 45) 29.ตําแหนงหัวหนาสวนราชการที่ต่ํากวาระดับกรม เปนตําแหนงประเภทใดในตําแหนง ขาราชการพลเรือนสามัญ ก. ประเภทบริหาร ข. ประเภทอํานวยการ ค. ประเภทวิชาการ ง. ประเภททั่วไป ตอบ ข. ประเภทอํานวยการ ตําแหนงประเภทอํานวยการ ไดแก ตําแหนงหัวหนาสวนราชการที่ต่ํากวาระดับกรม และตําแหนงอื่นที่ ก.พ. กําหนดเปนตําแหนงประเภทอํานวยการ (พรบ.ระเบียบขาราชการ พลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 45) 30.ตําแหนงที่จําเปนตองใชผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตามที่ ก.พ.กําหนดเปนตําแหนง ประเภทใดในตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญ
  • 22. 22    ก. ประเภทบริหาร ข. ประเภทอํานวยการ ค. ประเภทวิชาการ ง. ประเภททั่วไป ตอบ ค. ประเภทวิชาการ ตําแหนงประเภทวิชาการ ไดแก ตําแหนงที่จําเปนตองใชผสําเร็จการศึกษาระดับ ู ปริญญา ตามที่ ก.พ. กําหนดเพื่อปฏิบัติงานในหนาที่ของตําแหนงนั้น (พรบ.ระเบียบ ขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 45) 31. ตําแหนงประเภทบริหารของขาราชการพลเรือนสามัญนัน แบงเปนระดับใดบาง ้ ก. ระดับตน, ระดับสูง ข. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับชํานาญการพิเศษ, ระดับเชี่ยวชาญ , ระดับทรงคุณวุฒิ ค. ระดับปฏิบัติงาน, ระดับชํานาญการ, ระดับอาวุโส, ระดับทักษะพิเศษ ง. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับเชียวชาญ ่ ตอบ ก. ระดับตน, ระดับสูง ระดับตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญ ตําแหนงประเภทบริหาร มีระดับดังตอไปนี้ (ก) ระดับตน (ข) ระดับสูง (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 46) 32.ตําแหนงประเภทอํานวยการของขาราชการพลเรือนสามัญนั้น แบงเปนระดับใดบาง ก. ระดับตน, ระดับสูง ข. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับชํานาญการพิเศษ, ระดับเชี่ยวชาญ , ระดับทรงคุณวุฒิ ค. ระดับปฏิบัติงาน, ระดับชํานาญการ, ระดับอาวุโส, ระดับทักษะพิเศษ ง. ระดับปฏิบัติการ, ระดับชํานาญการ, ระดับเชียวชาญ ่ ตอบ ก. ระดับตน, ระดับสูง ตําแหนงประเภทอํานวยการ มีระดับดังตอไปนี้ (ก) ระดับตน (ข) ระดับสูง (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 46)
  • 23. 23    แนวขอสอบ คอมพิวเตอร 21. E – mail คืออะไร (1) เปนบริการที่ใหผูใชสามารถเขาไปใชขอมูลที่ถกจัดเก็บในฐานขอมูลตาง ๆ ได ู (2) ศูนยรวมขาวสารที่องคกรตองการประกาศใหผูใชที่อยูในขายงานทราบ (3) เปนระบบการสื่อสารที่ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรหลาย ๆ เครื่องสามารถติดตอกันได (4) เปนระบบขายงานที่ใหผูใชในระบบขายงานสามารถสงจดหมายถึงกันได ตอบ 4 E – mail คือ การรับสงจดหมายอิเล็กทรอนิกสบนเครือขาย ซึ่งสามารถรับสง ขาวสารในรูปแบบตางๆ ทําใหผูใชบริการสามารถรับสงขาวสารไดอยางรวดเร็ว ถูกตอง และ ประหยัดคาใชจาย 22. Microsoft’s Windows จัดเปนระบบปฏิบัตการประเภทใด ิ (1) Single-tasking (2) Multi-tasking (3) Multi-user (4) Multi-programming ตอบ 2 Microsoft Windows เปนระบบปฏิบัติการที่มีลกษณะการทํางานแบบ Multiั tasking นั่นคือ ผูใชสามารถเรียกใชโปรแกรมตั้งแต 2 โปรแกรมขึ้นไป มาใชงานควบคูกันได 23. Excel จัดเปนโปรแกรมประยุกตที่ใชงานกับระบบคอมพิวเตอรในกลุมใดตอไปนี้ (1) กลุมที่ทํางานทางดานการจัดการระบบฐานขอมูล (2) กลุมที่ทํางานทางดานตารางกระดาษทําการ (3) กลุมที่ทํางานทางดานการประมวลผลคํา (4) กลุมที่ทํางานทางดานการเสนอผล ตอบ 2 โปรแกรมตารางทําการ (Spreadsheets) คือ โปรแกรมที่มไวสําหรับใหผูใช ี สรางกราฟกเชิงวิเคราะห สรางตาราง และการจัดทําบัญชี โดยการใสขอมูลลงในแถวและ สดมภ แลวจัดเรียงเปนตะแกรงบนจอภาพของคอมพิวเตอร 24.สัญรูปที่เปนตัวแบบทางกราฟกซึ่งแสดงถึงกิจกรรมที่ผใชตองการใหกระทํา ผูใชสามารถ ู เลือกใชผานอุปกรณเมาส เรียกวา (1) Form Filling Software (2) Icon (3) Menu Software Driven (4) Function Key Driven Software
  • 24. 24    ตอบ 2 Icon คือสัญรูปที่เปน User Interface ซึ่งนิยมใชกันมากบน Microsoft Windowsในปจจุบันโดยผูใชเพียงแตใชเมาสคลิกไปที่ไอคอนที่ตองการบนจอภาพ โปรแกรม ที่จะสนองตอความตองการดังกลาวทันที 25. แกนทชารท (Gantt Chart) เปนซอฟตแวรชนิดใดตอไปนี้ (1) Integrated Software (2) Resident Program (3) Desktop Manager (4) Project Management Software ตอบ 4 Project Management Software คือ โปรแกรมที่ใชในการสรางแผนภูมิเพื่อ ดําเนินงานทางธุรกิจ เชน การทําแผนภาพ Gantt Chart เพื่อแสดงผังงานแตละประเภทที่ สําคัญวาใชเวลาเทาไร เปนตน 26. โปรแกรมใดต อ ไปนี้ ใ ช สํ า หรั บ ออกแบบและมาสร า งผลิ ต ภั ณ ฑ ต ามแบบ อาชี พ ที่ เกี่ยวของไดแก วิศวกร สถาปนิก นักออกแบบ (1) PERT (2) CAD/CAM (3) ACCESS (4) LOTUS Metro ตอบ 2 CAD คือ โปรแกรมที่ใชในงานออกแบบตาง ๆ เชน การออกแบบสินคา สวน CAM คือ โปรแกรมที่ใชคอมพิวเตอรควบคุมเครื่องจักรใหปฏิบัติการตามที่โปรแกรมสั่ง 27.บุคคลที่ทําหนาที่จัดการดูแลรับผิดชอบการควบคุมระบบฐานขอมูล กําหนดรูปแบบ มาตรฐานของระบบฐานขอมูลที่ใชภายในองคกรของหนวยงาน เรียกวา (1) Data dictionary (2) Data Base Administration (3) Normalizing Files (4) Data Base Management System (DBMS) ตอบ 2 Data Base Administration (DBA) จะเปรียบเสมือนกับหัวหนางานซึ่งจะทํา หนาที่จัดการดูแลรับผิดชอบการควบคุมระบบฐานขอมูล รวมทั้งสราง Data Definition และ กําหนดรูปแบบมาตรฐานของระบบฐานขอมูลที่จะใชภายในองคกรดวย 28. สมาชิกที่เล็กที่สุดหรือมีคานอยที่สุด ซึ่งแทนคาไดเพียงคา 0 หรือคา 1 เทานั้น เรียกวา (1) Byte (2) Bit (3) Word (4) Character
  • 25. 25    สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740 แจงการโอนเงิน พรอมชือ และอีเมลลที่ ่ LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740