SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 30
Descargar para leer sin conexión
1
2
ขอบเขตเนื้อหา
สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
ประวัติ สกย. 5
ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 11
วิสัยทัศน 12
คานิยมองคกร 12
พันธกิจ 13
วัตถุประสงค 13
เปาหมายหลัก 13
ยุทธศาสตร 14
ภารกิจ/บริการ 15
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง 19
การปลูกยางพารา 19
การบํารุงรักษา 32
โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา 37
การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 45
การแปรรูปผลผลิต 47
มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 50
สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ
พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 53
พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503
แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 68
แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4)
แกไขเพิ่มเติมถึงพ.ศ. 2530 79
แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 86
สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนง
3
นโยบาย 93
แผน (Plan) 104
โครงการ (Program) 129
การบริหารแบบมุงผลสัมฤทธิ์ 143
กระบวนการของการบริหารแบบมุงผลสัมฤทธิ์ 143
การจัดทําแผนยุทธศาสตรตามแนวทางของสํานักงาน ก.พ.ร. 144
การวางแผนเชิงยุทธศาสตร 160
แนวทางการจัดทําแผนยุทธศาสตรที่มีประสิทธิภาพ 162
ระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงานตามยุทธศาสตร 173
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกระบวนการงบประมาณ 173
งบประมาณแผนดิน 191
แนวความคิดในการจัดทํางบประมาณแผนดิน 202
เทคนิคในการวิเคราะหงบประมาณแผนดิน 204
งบประมาณแบบวางแผนวางโครงการ 210
การติดตามประเมินผลโครงการ (Program Evaluation) 224
การวิจัยและการพัฒนาระบบงาน 240
การวิจัย 240
การบริหารการพัฒนา 246
สวนที่ 4 กฎหมายที่เกี่ยวของ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 250
สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 259
แนวขอสอบ ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 274
ระเบียบสํานักนายสรุปพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 296
สรุประเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 310
แนวขอสอพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 320
แนวขอสอบ วิเคราะหนโยบายและแผน 328
ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
4
ประวัติ สกย.
ทศวรรษแรก (ป 2503-2513) สรางความเชื่อมั่นแกชาวสวนยาง
การ ดําเนินงานในทศวรรษแรก สมัยรัฐบาลจอม พลสฤษดิ์ ธนรัชต มีสํานักงานใหญ
ตั้งอยูที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีสํานักงานสวนภูมิภาค ตั้งอยูในเขตปลูกยาง
หนาแนน ในภาคใต และภาคตะวันออก รวม 6 เขต ไดแก ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สงขลา
ยะลา และจันทบุรี มีขุนวิจิตรพา หนการ เปนผูอํานวยการ คนแรก ดํารงตําแหนงระหวาง
วันที่ 1 มกราคม 2504 – 30 กันยายน 2508 คณะทํางานชุดแรกเปน พนักงานที่สําเร็จ
การศึกษาระดับ ปริญญาตรีดานการเกษตร จํานวน 11 คนเปนหลัก ทํางานทั้งดาน
ภาคสนามและการเงิน การบัญชี ซึ่งพนักงานชุดแรกนี้ตอมาไดเปน ผอ.สกย. ถึง 3 คน คือ
นายณรงค สุจเร นายสมศักดิ์ โรหิตรัตนะ และนายเสวต ทองรมย
หลังจากนั้นอีก ประมาณ 5-6 เดือน จึงมีพนักงาน ดานการเกษตรและดานการเงิน
และบัญชี เขามาปฏิบัติงานเสริมอีก 25 คน ทําใหการสงเคราะห ดําเนินการไดรวดเร็ว และ
คลองตัวยิ่งขึ้น ดวยความที่งานดานการสงเคราะหเปนงานใหมของประเทศ ไทย การทํางาน
ในยุคเริ่มตน จึงประสบความ ลําบาก ในการทําความเขาใจกับประชาชน พอสมควร แตดวย
ความมุงมั่น และอุดมการณอันแรงกลา ที่จะพลิกสถานการณ การผลิตยาง ของประเทศ และ
นํามาซึ่งความอยูดีกินดีของชาวสวนยาง ในขณะนั้น ทําใหเกษตรกรเขาใจในเหตุผล และ
ประโยชนที่จะไดรับในที่สุด อีกทั้งใหความเชื่อมั่นและไววางใจเปนอยางสูง อยางที่ไมมี
หนวยงานราชการใดเคยไดรับมากอน
โดยเฉพาะอยาง ยิ่งสิ่งที่พนักงาน สกย. ตองจดจํา ไวเปนพิเศษ คือในชวงป 2505
หลังจากกอตั้ง สกย. เพียง 2 ปเศษ ไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่ จ.นครศรีธรรมราช สงผลให
ประชาชนตองประสบความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน สกย. ไดระดมพนักงานจํานวนมาก
ไปชวยเหลือเกษตรกร ชาว สวนยางที่ประสบภัยพิบัติอันรายแรงอยางไมเคยเปนมากอน
พนักงาน สกย. ทั้งหมดตางเรงเขาไปในพื้นที่ ระดมพลังทุมเท ความสามารถที่มีอยู เพื่อ
บรรเทาความเดือดรอนใหเกษตรกรผูประสบภัยเหลานั้น อยางไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย แมทุก
คนจะ ทุกขกายแตตางสุขใจและภาคภูมิที่ได ชวยเหลือสังคมอยางเต็มกําลัง ทําใหชื่อเสียง
ของ สกย. โดดเดนขึ้นมาอยูในความ ทรงจําของชาวสวนยางพาราทั่วไป
วิสัยทัศน
5
"มุงพัฒนายางพาราครบวงจร นําสังคมชาวสวนยางไปสูความเขมแข็งและยั่งยืน”
พัฒนายางพาราจากการผลิต เริ่มตั้งแตการปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวผลผลิต การแปรรูป
เบื้องตน เปนผลิตภัณฑยางอุตสาหกรรมและการตลาด โดยเริ่มจากตัวเกษตรกรมีความรูสู
ครอบครัวที่อบอุน ชุมชน และสังคมชาวสวนยางเขมแข็ง
คานิยมองคกร
สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใชเปน
หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคลื่อนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้
O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน
R : Responsibility ความรับผิดชอบ
R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน
A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม
F : Faith ซื่อสัตยสุจริต
พันธกิจ
1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่
ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม
2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความเขมแข็ง
ใหกับสถาบันเกษตรกร
3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาดยางพารา
ระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความรวมมือของ
เกษตรกร
4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอม
5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
วัตถุประสงค
1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่มรายได
และลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร
6
2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มีการ
ดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง
3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมีความ
เหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหาร
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงาน
อยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค
เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล
เปาหมายหลัก
1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางที่ใหผลิตสูงกวา ตน
ยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถให
ผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม
2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยาง
คุมคา อนุรักษสิ่งแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษา
สวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการจําหนาย
ผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ
3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรม
และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ
ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล
4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูก
ยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคา
ในตลาดทองถิ่น
5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และเสริมสราง
ทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึง เสริมสราง
ศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล
7
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง
การปลูกยางพารา
การเตรียมพื้นที่
การเตรียมพื้นที่ปลูกสรางสวนยาง เปนการปรับพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสําหรับปลูก
ยางทั้งดานการปฏิบัติงานในสวนยางและการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนตองวางแผนการใช
พื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความสะดวกในการดูแลบํารุงรักษาตนยาง การเตรียมพื้นที่
ปลูกยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่ การวางแนว การขุดหลุม และการจัดทําขั้นบันได
เปนตน
การวางแนวปลูก
การวางแนวปลูกในพื้นที่ราบ เริ่มจากการวางแถวหลัก หางจากแนวเขตสวนไมนอย
กวา 1.5 เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไมขวางทิศทางลม
การวางแนวปลูกในพื้นที่ลาดเท ในพื้นที่ลาดเทหรือพื้นที่ที่อยูบนควนเขา การวาง
แนวปลูกไมสามารถใชวิธีแบบเดียวกับพื้นที่ราบได เนื่องจากที่ลาดเทหรือที่ควนเขามีการ
ไหลบาของน้ําในขณะที่มีฝนตก เปนผลใหเกิดการชะลางและพังทลายของหนาดิน ดังนั้น
เพื่อปองกันการชะลางและการพังทลายของดินจึงจําเปนตองวางแนวปลูกตามแนวระดับ
หากพื้นที่มีความลาดเทมากกวา 15 องศา ตองทําขั้นบันได
ประโยชนของการทําแนวระดับและขั้นบันได
- ปองกันการพังทลายของหนาดิน
- ปองกันการชะลางปุยที่ใสใหกับตนยาง
- ทําใหรากตนยางยึดแนนกับดิน ไมถูกน้ําเซาะลมไดงาย
- ชวยรักษาความชุมชื้นในดิน
- งายและสะดวกแกการปฏิบัติงานในสวน
ระยะปลูก
เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับตนยาง จึงกําหนดระยะปลูกเปน 2 ระยะ
ตามความตองการปลูกพืชแซมและลักษณะประจําพันธุยาง
การเตรียมหลุมปลูก
การขุดหลุมปลูกยางใหขุดดานใดดานหนึ่งของไมชะมบตลอดแนว โดยแยกดินที่ขุด
เปน 2 กอง คือ ดินชั้นบนและดินชั้นลาง ผึ่งแดดไวประมาณ 10 วัน เพื่อใหดินแหง แลวยอย
8
ดินชั้นบนใสรองกนหลุม สวนดินชั้นลางใหผสมกับปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตราหลุมละ 170
กรัม ในแหลงปลูกยางใหมควรใสปุยอินทรียตนละ 5 กก. รองกนหลุมรวมกับปุยหินฟอสเฟต
แลวกลบหลุม ขนาดของหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร (กวาง x ยาว x ลึก)
สําหรับการขุดหลุมปลูกในพื้นที่ลาดเท เมื่อปกไมชะมบเรียบรอยแลวควรขุดหลุม
เยื้องไปดานในควนเล็กนอย เมื่อปลูกยางไปแลวอาจตองแตงชานเพิ่มเติม โดยขุดดินบนควน
มากลบดานนอก ซึ่งจะทําใหตนยางอยูกลางขั้นบันไดพอดี
การปลูก
วัสดุปลูกและวิธีการปลูก
วัสดุปลูก
วัสดุปลูก หรือตนยางที่ใชปลูก แบงออกเปน ตนตอตาและตนยางชําถุงขนาด 1-2
ฉัตร ควรเลือกวัสดุปลูกที่แข็งแรงสมบูรณปราศจากโรคและศัตรูพืช
ตนตอตา
ตนตอตา หมายถึง ตนกลายางที่ไดรับการติดตาดวยยางพันธุดี แตตายังไมแตก
ออกมา มีแผนตาและตาที่เปนตุมติดอยูเทานั้น ขุดถอนแลวตัดตนเดิมเหนือแผนตาขึ้นไปไม
นอยกวา 8 ซม. เพื่อนําไปปลูกในแปลงที่เตรียมพื้นที่ไวเรียบรอยแลว
ตนยางชําถุง
ตนยางชําถุง หมายถึง วัสดุปลูกที่ไดจากการนําเอาตนตอตามาชําในถุง โดยใชเวลา
ชําในถุงประมาณ 2-3 เดือน จนไดตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ซึ่งมีสภาพพรอมที่จะนําไป
ปลูกในแปลงได ขนาดของถุงที่ใชชําคือ 5 x 15 นิ้ว สีดํา เจาะรูขนาด 3 มม. ประมาณ 3
แถว ๆ ละ 5-7 รู
พันธุยาง
กรมวิชาการเกษตร ไดแนะนําพันธุยาง 3 กลุม
1. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางสูง
เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงเปนหลัก มี4 พันธุคือ พันธุสาถาบันวิจัยยาง 251
สถาบันวิจัยยาง226 BPM 24 และ RRIM 600
2. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางและเนื้อไมสูง
เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงและมีการเจริญเติบโตดีลักษณะลําตนตรง และใหปริมาตร
เนื้อไมในสวนลําตนสูง มี4 พันธุ คือ พันธุPB 235 PB 255 PB 260 และ RRIC 110
3. กลุมพันธุยางผลผลิตเนื้อไมสูง
9
พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542
เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา
โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการควบคุมยาง
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ
ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง
กฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ
ยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ.
2542”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา 3 ใหยกเลิก
(1) พระราชบัญญัติควบคุมยาง พุทธศักราช 2481
(2) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2483
(3) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2490
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
“ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea brasiliensis) และหมายความ
รวมถึงตนยางชนิดอื่นซึ่งรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหเปนตนยางที่อยูภายใตการควบคุมตาม
พระราชบัญญัตินี้
“ตนยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดวาเปนตน
ยางพันธุที่เหมาะสมที่จะใชปลูกเปนสวนยาง
“ยาง” หมายความวา น้ํายางสด ยางกอน เศษยาง น้ํายางขน ยางแผน ยาง
แทง ยางเครพ หรือยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง และ
10
หมายความรวมถึงยางผสมไมวาในสภาพของแข็งหรือของเหลวซึ่งมียางธรรมชาติผสมกับ
สารเคมีหรือสารอื่น แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐสําเร็จรูปจากยาง
“เนื้อยาง” หมายความวา เนื้อยางที่มีอยูในน้ํายางหรือยางแตละชนิดโดย
คํานวณเปนน้ําหนักตามกรรมวิธีที่กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณกําหนด
“สวนยาง” หมายความวา ที่ดินซึ่งมีตนยางปลูกอยูในเนื้อที่ไมนอยกวาหนึ่ง
ไร แตละไรมีตนยางไมนอยกวาสิบตน หรือในกรณีที่มีเนื้อที่ปลูกยางติดตอกันมากกวาหนึ่ง
ไร ตองมีสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตนของจํานวนเนื้อที่ทั้งหมด
“ทําสวนยาง” หมายความวา ปลูกตนยางในสภาพที่เปนสวนยาง บํารุงรักษา
ตนยาง กรีดตนยาง หรือทําน้ํายางสดใหเปนยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบ
“เขตควบคุมการขนยายยาง” หมายความวา เขตพื้นที่ที่รัฐมนตรีประกาศ
กําหนดเปนเขตควบคุมการขนยายยาง
“โรงทํายาง” หมายความวา สถานที่ที่ใชน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือ
ยางแผนดิบมาแปรรูปเปนน้ํายางขน ยางผึ่งแหง ยางแผนรมควัน ยางแทง ยางเครพ ยางดิบ
ชนิดอื่น ๆ อยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึงสถานที่ที่ผลิต
ยางผสม แตไมรวมถึงสถานที่ที่ทํายางแผนดิบ
“ปริมาณควบคุมเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรี
ประกาศกําหนดใหผูทําสวนยางทําการผลิตเนื้อยางไดตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรี
ประกาศกําหนด
“ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรีประกาศ
จัดสรรใหผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก นําเนื้อยางเขามาในหรือสงเนื้อยางออกไปนอก
ราชอาณาจักรได ตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
“มาตรฐานยาง” หมายความวา ลักษณะของยางแตละชนิดหรือชั้นตามที่
รัฐมนตรีประกาศกําหนด
“วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยาง” หมายความวา วิธีการมัดยางและ
การบรรจุหีบหอยางตามวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
“คายาง” หมายความวา ซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนยาง และหมายความ
รวมถึงซื้อยาง ขายยาง ตามตราสารที่บุคคลหนึ่งบุคคลใดเปนผูออกตราสารนั้นหรือโดย
ประการอื่น แตไมรวมถึงกรณีที่ผูทําสวนยางขายน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือยางแผน
ดิบ ซึ่งเปนผลิตผลจากสวนยางของตน
“ผูอนุญาต” หมายความวา อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย
11
แนวขอสอบพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530
6. “ปสงเคราะห” หมายความถึงระยะเวลาใด
ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 เมษายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 มีนาคมของปถัดไป
ข. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 เมษายนของปถัดไป
ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป
ง. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 ตุลาคมของปถัดไป
ตอบ ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของป
ถัดไป
“ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30
กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น
7. สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินกวาเทาใด
ไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห
ก. 1 กิโลกรัม ข. 3 กิโลกรัม
ค. 5 กิโลกรัม ง. 7 กิโลกรัม
ตอบ ค. 5 กิโลกรัม
สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินหา
กิโลกรัม หรือยางที่กระทรวง ทบวง กรม เปนผูสงออกเพื่อประโยชนใด ๆ อันมิใชเพื่อการคา
ไมวาจะมีน้ําหนักเทาใด ใหไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห
8. ขอใดเจาของสวนยางจะไดรับการสงเคราะหสวนยาง
ก. ตนยางอายุยี่สิบหาปขึ้นไป ข. ตนยางทรุดโทรมเสียหาย
ค. ตนยางที่ไดผลนอย ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ผูจะไดรับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนเจาของสวนยางที่มีตนยางอายุ
กวายี่สิบหาปขึ้นไป หรือตนยางทรุดโทรมเสียหาย หรือตนยางที่ไดผลนอย
12
9. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอ
วาอะไร
ก. ก.ส.ย. ข. กสย.
ค. คสย. ง. ค.ส.ย.
ตอบ ก. ก.ส.ย.
10. รองประธานกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด
ก. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร
ตอบ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
11.กรรมการที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับ
การยางมีจํานวนเทาใด
ก. 2 คน / 2 คน ข. 4 คน / 2 คน
ค. 4 คน / 4 คน ง. 5 คน / 2 คน
ตอบ ข. 4 คน / 2 คน
คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดย
ยอวา “ก.ส.ย.” ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือรัฐมนตรีชวย
วาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
มอบหมายเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรองประธาน
กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูอํานวยการ
สํานักงบประมาณ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร อธิบดีกรม
ศุลกากร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เปนกรรมการ และกรรมการอื่น
อีกไมเกินหกคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางสี่คนและบุคคลอื่นซึ่งมีสวน
เกี่ยวของกับการยางสองคน
13
12. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง มีวาระอยูในตําแหนง
คราวละกี่ป
ก. 1 ป ข. 2 ป
ค. 3 ป ง. 4 ป
ตอบ ข. 2 ป
กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองป
13. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ
ดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยาง จํานวนเทาใด
ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด
ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ
ตอบ ก. รอยละหา
ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอย
ละหา เปนคาใชจายในการดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยางในอันที่จะเปน
ประโยชนแกเจาของสวนยางโดยเฉพาะ มอบไวแกกรมวิชาการเกษตรเปนงวด ๆ ตาม
หลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีกําหนด เงินที่กรมวิชาการเกษตรไดรับนี้มิใหถือวาเปน
รายรับตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ
14. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ
บริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
จํานวนเทาใด
ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด
ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ
ตอบ ง. รอยละสิบ
ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอย
ละสิบ เปนคาใชจายในการบริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุน
สงเคราะหการทําสวนยาง หากเงินจํานวนที่ตั้งไวนี้ไมพอจายในงานตาง ๆ ดังกลาว ให
รัฐบาลตั้งรายจายเพิ่มเติมในงบประมาณประจําปตามความจําเปน
14
ความรูเกี่ยวกับตําแหนงวิเคราะหนโยบายและแผน
นโยบายและนโยบายสาธารณะ
การศึกษานโยบายนั้นโดยทั่วไปอาจจําแนกการศึกษาออกเปน 2 แนวทาง คือ
การศึกษานโยบายทั่วๆ ไป (General Policy) และการศึกษานโยบายสาธารณะ (Public
Policy)
ในความหมายทั่วไป นโยบาย หมายถึง แนวทางกวางๆ ในการปฏิบัติงาน ซึ่ง
ในความหมายนี้จะไมแยกแยะวาจะเปนนโยบายของเอกชนหรือของรัฐก็ลวนแลวแตเปน
แนวทางกวางๆ ในการปฏิบัติงานทั้งสิ้น เชน นโยบายของธนาคารกรุงเทพฯ ก็หมายถึง
แนวทางกวางๆ ในการปฏิบัติงานของรัฐ เปนตน
สําหรับในกรณีนี้จะกลาวถึงเฉพาะนโยบายสาธารณะเปนสําคัญ ซึ่งใน
ความหมายของนโยบายสาธารณะมีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายไวดังนี้
Thomas R. Dye กลาววา นโยบายสาธารณะเปนสิ่งที่เกี่ยวของกับเรื่องราว
หรือกิจกรรมที่รัฐบาลเลือกจะกระทําหรือไมกระทํา และเกี่ยวของกับเหตุผลวาทําไมจึงเลือก
เชนนั้น
William T. Greenwood กลาววา นโยบาย หมายถึง การตัดสินใจขั้นตนที่
กําหนดแนวทางทั่วไปอยางกวางๆ เพื่อนําไปสูการปฏิบัติ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว
Ira Sharkansky นโยบายสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมตางๆ ที่รัฐบาลหรือ
องคกรของรัฐจัดทําขึ้น เชน การจัดบริการสาธารณะ การออกกฎหมายและการบังคับใช
กฎหมาย การจัดพิธีกรรมอันเปนสัญลักษณของสังคม และการควบคุมกระบวนการกําหนด
นโยบายหรือการกระทําทางการเมืองอื่นๆ เปนตน
ดร.กระมล ทองธรรมชาติ กลาววา นโยบาย คือ แนวทางที่แตละประเทศได
เลือกปฏิบัติเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคอยางใดอยางหนึ่งตามที่กําหนดไว อันเปนวัตถุประสงค
ที่เชื่อวาถาทําไดสําเร็จจะยังเปนประโยชนกับประเทศของตนได
สรุปก็คือ นโยบายสาธารณะ (Public Policy) นั้น อาจเปนนโยบายของ
รัฐบาลหรือของเอกชนก็ได หากนโยบายนั้นมุงผลประโยชนของสวนรวมเปนสําคัญ แต
สําหรับนโยบายของรัฐบาล (Government Policy)แลว จะตองเปนนโยบายสาธารณะเทานั้น
15
ลักษณะทั่วไปของนโยบาย
จากความหมายทั้งหมดจะเห็นวา นโยบายทั่วๆ ไปจะมีลักษณะดังนี้
1. เปนแนวทางอยางกวางๆ คือ ไมเจาะจง ยังมีลักษณะยืดหยุนอยูมาก
2. มีจุดมุงหมาย ซึ่งอาจเปนวัตถุประสงคอยางหนึ่งอยางใดที่สําคัญมากๆ
เชน เปนประโยชนขององคการ เปนตน
3. เปนขอเสนอเกี่ยวกับการปฏิบัติ คือ นโยบายจะเปนเครื่องชี้นําใหมีการ
ปฏิบัติตาม พรอมทั้งเสนอแนะแนวทางที่สามารถปฏิบัติเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ไดวางไว
ดวย
องคประกอบที่สําคัญของนโยบาย
1. นโยบายจะตองแสดงถึงความแนนอน และชัดเจนในการทํางาน กลาวคือ
ในการกําหนดนโยบายแหงรัฐนั้นจะตองคํานึงถึงความแนนอนในการที่จะทําใหนโยบาย
บรรลุผลดวย
2. นโยบายจะตองนําไปสูการสรางเสถียรภาพ และความมั่นคงของประเทศ
3. นโยบายจะตองทําและปฏิบัติอยางตอเนื่อง และกระบวนการทํางาน
ทั้งหลายจะตองมีการเปลี่ยนแปลงตามกระบวนการดวย
รูปรางของนโยบาย
นโยบายมีหลายรูปรางและหลายลักษณะตามการใชประโยชนของนโยบาย ซึ่ง
พอจะสรุปไดดังนี้
1. มีรูปเปนกฎหมาย กฎ ระเบียบ คือ เปนนโยบายที่มีลักษณะบังคับให
ตองปฏิบัติตาม ไดแก กฎหมายตางๆ ของรัฐ เปนตน
2. มีรูปเปนแผนงาน โครงการ คือ เปนนโยบายที่มีลักษณะเปน
ขอเสนอแนะ และเปนแนวทางสําหรับการปฏิบัติงานขององคการ และไมมีลักษณะบังคับให
ทุกคนตองปฏิบัติตาม
3. มีรูปเปนประกาศ แจงความ คือ มีลักษณะเพื่อแจงขาวสาร เชิญชวน
และมีลักษณะบังคับนอยที่สุด เชน นโยบายเชิญชวนเฉลิมฉลองในวาระโอกาสที่สําคัญๆ
เปนตน
4. มีรูปเปนสัญญา คือ เปนนโยบายที่รัฐใหสัญญากับสังคม เชน การแถลง
นโยบายของรัฐบาลตอรัฐสภา เปนตน
16
นักวางแผน (Planner)
หมายถึง บุคคลหรือคณะบุคคลซึ่งไดรับมอบหมายใหมีหนาที่วางแผน เพื่อ
สรางสรรคแผนงาน (Plan) ตามแนวทางที่องคการตองการ โดยปกติหนาที่ในการวางแผนใน
ระดับองคการนั้นจะถือเปนหนาที่ของนักบริหารระดับกลาง (Middle – Level Administrator)
คือนักบริหารระดับหัวหนาหนวย (Department) นั่นเอง
สวนนักบริหารระดับสูง (Top – Level Administrator) จะวางนโยบายและนัก
บริหารระดับลาง (Lower – Level Administrator) จะวางโครงการ
ทักษะสําหรับนักวางแผน
การวางแผนเปนการใชสติปญญาเพื่อกําหนดแนวทางสําหรับการดําเนินงาน
ขององคการในอนาคต ดังนั้นการวางแผนจึงตองอาศัยทักษะหลายดานประกอบกัน เชน
ตองใชทั้งการจินตนาการที่กวางไกล มีความคิดริเริ่มสรางสรรคที่ดี ตองมีความรูในหลัก
วิชาการหลายๆ สาขา ตองรูจักใชเทคนิค – ทฤษฎีการพยากรณใหเหมาะสม เปนตน จึงจะ
ชวยใหการวางแผนสมบูรณไดมากขึ้น
จะเห็นไดวากิจกรรมการวางแผนมีขอจํากัดมาก ดังนั้นงานวางแผนจึงมักเปน
งานระดับกลุมหรือตองประกอบดวยผูเชี่ยวชาญหลายๆ สาขามารวมกันสรางแผน โดยมีนัก
วางแผนเปนตัวประสานใหการวางแผนไปสูจุดหมายรวมกันขององคการได
บทบาทของนักวางแผนในองคการ
Cleland และ King กลาววา บทบาทของนักวางแผนในองคการจําแนกไดตาม
ระดับความรับผิดชอบดังนี้
1. ในระดับองคการ นักวางแผนจะมีบทบาทได 2 ลักษณะ ดังนี้
1) ชวยกําหนดยุทธวิธีหลักตางๆ เพื่อชวยผูบริหาร ไดแก
- เลือกแบบแผนของแนวความคิดในระบบการวางแผนเชิงยุทธวิธีที่
เหมาะสม
- ชวยอํานวยความสะดวกในการใชระบบการวางแผน โดยอภิปราย
รวมกับผูบริหารเพื่อเลือกใชระบบที่เหมาะสม
- รับผิดชอบในการปรับปรุงระบบ เชน เปลี่ยนรูปแบบ ขยาย
ขอบเขต เปลี่ยนจุดเนนและอื่นๆ
2) ปรับปรุงดานกายภาพของระบบราชการ เชน ปรับปรุง แจกจายคูมือ
การวางแผน ปฏิบัติการวางแผน เปนตน
17
ขั้นตอนการวางแผน (Planning Processes)
กลาวโดยสรุป ขั้นตอนทั้งหลายในการวางแผนอาจจําแนกยอยๆ ได 3
กระบวนการ ไดแก
1. ขั้นเตรียมการ เปนการกําหนดเคาโครงกลยุทธของแผน ซึ่งมีกิจกรรม
สําคัญๆ ไดแก
1) การกําหนดวัตถุประสงคของแผน
2) การกําหนดแนวทางของแผน
2. ศึกษาวิเคราะหสถานการณ เปนการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการ
วิเคราะหความถูกตองของงานในขั้นเตรียมการ ซึ่งขอมูลในการวางแผนอาจจําแนกไดเปน 2
กลุม คือ
1) ความเปนจริง (Fact) เกี่ยวกับขอมูลที่ตองใชในการวางแผน
2) ความโนมเอียง (Trend) เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของขอมูลที่ตองใช
ในการวางแผนในอนาคต
3. ลงมือวางแผน หลังจากกําหนดความถูกตองของแผนไดแลวจึงลงมือ
เขียนแผนใหถูกตองตามรูปแบบที่ควรจะเปนของแผนงาน โดยตองกําหนดรายละเอียดให
ชัดเจนวาจะทําที่ไหน เมื่อไหร อยางไร เปนตน
นอกจากนี้กระบวนการหรือขั้นตอนของการวางแผนนั้น ยังสามารถแบงได
เปน 2 ระยะ คือ
1) การวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning Process)
2) การวางแผนดําเนินการ (Operational Planning Process)
อยางไรก็ตาม มีนักวิชาการหลายทานไดเสนอแนะขั้นตอนการวางแผนอยาง
ละเอียดตางๆ กันไป ซึ่งจะยกตัวอยางดังตอไปนี้
1. กระบวนการวางแผนตามทัศนะของ ศ. Le Breton มี 14 ขั้นตอน คือ
1. พิจารณาถึงความจําเปนที่จะตองมีการวางแผน วามีความจําเปนมาก
นอยขนาดไหนที่จะตองมีการกําหนดแผนเพื่อนํามาปฏิบัติ
โดยปกติตองมั่นใจวาการวางแผนจะตองเปนเรื่องสําคัญ และไมมีวิธีอื่นใด
จะชวยแกไขปญหาใหมีประสิทธิภาพไดมากกวาการวางแผน จึงจะมีการวางแผน ทั้งนี้เพราะ
การวางแผนตองเสียคาใชจาย กําลังงาน ตองใชเวลามาก และมีขั้นตอนที่ยุงยากหลาย
ขั้นตอน
18
กระบวนการของโครงการ (Processes of Program)
กระบวนการของโครงการมีลักษณะเชนเดียวกับกระบวนการนโยบายและ
แผน กลาวคือ ประกอบดวยกระบวนการยอยๆ 4 ขั้นตอน คือ
1. การรางหรือวางโครงการ (Program Planning)
2. การวิเคราะหและประเมินโครงการ (Program Analysis Appraisal
Processes)
3. การบริหารหรือการนําโครงการไปปฏิบัติ (Program Implementation)
4. การติดตามประเมินผลโครงการ (Program Evaluation)
รายละเอียดของแตละขั้นตอนมีดังนี้
กระบวนการวางโครงการ (Program Planning Processes)
ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนการกอรูป (Formulation) ของโครงการซึ่งโดยทั่วไปมี
แนวคิดดังนี้
1. ใชหลักการวางแผนทั่วไป
2. มีหลักเพิ่มเติมคือ
- โครงการทั้งหลายจะไมอยูโดดเดี่ยว จะตองสัมพันธกับโครงการอื่นอยู
เสมอ ไมวาจะเปนดานการสงเสริมกัน หรือขัดแยงกันก็ตาม
- การวางโครงการตองมีรายละเอียดซึ่งสามารถมองเห็นเปนรูปธรรมได
เพื่อฝายปฏิบัติและฝายติดตามประเมินผลจะไดปฏิบัติตามไดโดยสะดวก
1. หลักทั่วไปในการวางแผนโครงการ
ในทางทฤษฎีการวางโครงการแบงออกไดเปน 2 ระยะ คือ
1. การวางโครงการขั้นกลยุทธ (Strategic Program Planning)
2. การวางโครงการขั้นกําหนดรายละเอียดและวิธีดําเนินการ
(Operation Program Planning)
ระยะที่ 1 การวางโครงการกลยุทธ
กิจกรรมในขั้นตอนนี้เปนงานกําหนดเคาโครง และแนวทางสําคัญของ
โครงการ โดยมีเปาหมายที่สําคัญเพื่อใหไดแนวทางในการดําเนินโครงการที่ดีที่สุด (The
best way program) หรือเพื่อวิเคราะหหาทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด (The best alternative)
ของโครงการใหไดนั่นเอง
ระยะที่ 2 การวางโครงการดําเนินการ
19
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559)
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ทุกภาคสวนในสังคมไทยเห็นพองรวมกันนอมนาหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนปรัชญานาทางในการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่อง เพื่อ
มุงใหเกิดภูมิคุมกันและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม เพื่อใหการพัฒนา
ประเทศสูความสมดุลและยั่งยืน มุงสู “สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอ
ภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง”
การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 มีแนวคิดที่มีความตอเนื่องจาก
แนวคิดของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-10 โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
และ “คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา” รวมทั้ง “สรางสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ
และขับเคลื่อนใหบังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกระดับ เพื่อใหการพัฒนาและ
บริหารประเทศเปนไปบนทางสายกลาง
การกําหนดทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 11 ตองเรงสรางภูมิคุมกันเพิ่มขึ้นในมิติการพัฒนาดานตางๆ ดังนี้
1. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ
1.1 การสรางความเปนธรรมในสังคม
1.2 การพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต
2. การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม ที่มุงพัฒนา
เศรษฐกิจภายในประเทศใหเขมแข็ง เพื่อลดการพึ่งพาปจจัยภายนอก
2.1 การสรางความเขมแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน
2.2 การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเติบโตอยางมีคุณภาพและยั่งยืน ให
ความสําคัญกับ
การปรับโครงสรางเศรษฐกิจบนฐานความรู ความคิดสรางสรรค และภูมิปญญา
2.3 การสรางความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทาง
เศรษฐกิจและสังคม
ใหความสําคัญกับการเชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศกับความรวมมือระหวาง
ประเทศในภูมิภาคตางๆ
3. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
20
สรุปสาระสําคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559)
2. การประเมินสถานการณ ความเสี่ยงและการสรางภูมิคุมกันของประเทศ
2.1 สถานการณการเปลี่ยนแปลงที่มีผลตอการพัฒนาประเทศ ประเทศไทยยัง
ตองเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญทั้งในระดับโลก และภายในประเทศ ซึ่งมีผลกระทบทั้ง
ที่เปนโอกาสและความเสี่ยงตอการพัฒนาประเทศ ดังนี้
2.1.1 การเปลี่ยนแปลงสําคัญระดับโลก
1) กฎ กติกาใหมของโลกหลายดานสงผลใหทุกประเทศตองปรับตัว
2) การปรับตัวเขาสูเศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนยกลาง รวมทั้งภูมิภาค
เอเชียทวีความสําคัญเพิ่มขึ้น การรวมกลุมเศรษฐกิจที่สําคัญตอประเทศไทยในชวง
แผนพัฒนาฯฉบับที่ 11 ไดแก การรวมกลุมในภูมิภาคเอเชีย ภายใตกรอบการคาเสรีของ
อาเซียนกับจีน ญี่ปุน และอินเดียและการเปนประชาคมอาเซียนในป 2558
3) การเขาสูสังคมผูสูงอายุของโลกอยางตอเนื่อง
4) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกสงผลใหสภาพภูมิอากาศแปรปรวน
5) ความมั่นคงทางอาหารและพลังงานของโลกมีแนวโนมจะเปนปญหา
สําคัญ
6) ความกาวหนาทางเทคโนโลยีมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมรวมทั้งตอบสนองตอการดํารงชีวิตของประชาชนมากยิ่งขึ้น
7) การกอการรายสากลเปนภัยคุกคามประชาคมโลก
2.1.2 การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ
1) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานเศรษฐกิจ
2) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานสังคม ประเทศไทยกาวสูสังคมผูสูงอายุ
จากการมีโครงสรางประชากรที่วัยสูงอายุเพิ่มขึ้น วัยเด็กและวัยแรงงานลดลง คนไทยไดรับ
การพัฒนาศักยภาพทุกชวงวัยแตมีปญหาคุณภาพการศึกษาและระดับสติปญญาของเด็ก
3) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
4) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานการบริหารจัดการการพัฒนาประเทศ
2.2 การประเมินความเสี่ยง ประเทศไทยจะเผชิญกับความเสี่ยงที่ตองเตรียมการ
สรางภูมิคุมกันใหประเทศพรอมเผชิญการเปลี่ยนแปลงอยางมีประสิทธิภาพ 6 ประการ ดังนี้
2.2.1 การบริหารภาครัฐออนแอ
2.2.2 โครงสรางทางเศรษฐกิจไมสามารถรองรับการเจริญเติบโตอยางยั่งยืน
เศรษฐกิจไทยยังคงพึ่งพาเศรษฐกิจภายนอกประเทศ
21
ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548
ความหมาย
“งานสารบรรณ” หมายความวา งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต
การจัดทําการรับ การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย
“หนังสือ” หมายความวา หนังสือราชการ
“สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานักงาน หรือหนวยงานอื่น
ใดของรัฐทั้งในราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมิภาค ราชการบริหารสวน
ทองถิ่น หรือในตางประเทศและใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดวย
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากทางราชการให
ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และใหหมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือคณะ
บุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน
ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้
ชนิดของหนังสือ
หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก
1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ
2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มีไปถึง
บุคคลภายนอก
3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงสวน
ราชการ
4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อเปนหลักฐานในราชการ
5. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ
หนังสือ มี 6 ชนิด คือ
1. หนังสือภายนอก
2. หนังสือภายใน
3. หนังสือประทับตรา
4. หนังสือสั่งการ
5. หนังสือประชาสัมพันธ
22
6. หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้น หรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ
หนังสือภายนอก
หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑ
เปนหนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวน
ราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก
หนังสือภายใน
หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอก
เปนหนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึก
ขอความ
หนังสือประทับตรา
หนังสือประทับตรา คือ หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวน
ราชการระดับกรมขึ้นไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจาก
หัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไป เปนผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตรา หนังสือประทับตรา
ใหใชไดทั้งระหวางสวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวนราชการกับบุคคลภายนอก
เฉพาะกรณีที่ไมใชเรื่องสําคัญ ไดแก
1. การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
2. การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร
3. การตอบรับทราบที่ไมเกี่ยวกับราชการสําคัญ หรือการเงิน
4. การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ
5. การเตือนเรื่องที่คาง
6. เรื่องซึ่งหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไปกําหนดโดยทําเปนคําสั่ง ใหใชหนังสือ
ประทับตรา
หนังสือประทับตรา ใชกระดาษตราครุฑ
23
แนวขอสอบ ระเบียบฯ งานสารบรรณ พ.ศ. 2526
แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548
7.ขอใดมิใชความหมายของหนังสือราชการ
ก. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ
ข. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นที่มิใชสวนราชการ
ค. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อใชเปนหลักฐานในราชการ
ง. หนังสือที่มีขึ้นเพื่อใชในการติดตอบุคคลภายนอก
ตอบ ง. หนังสือที่มีขึ้นเพื่อใชในการติดตอบุคคลภายนอก
หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก
1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ
2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มี
ไปถึงบุคคลภายนอก
3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึง
สวนราชการ
4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบหรือขอบังคับ
(ขอ 9 ระเบียบฯ งานสารบรรณ)
8."หนังสือภายนอก" หมายถึงขอใด
ก. หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธี, ใชกระดาษบันทึก
ข. หนังสือติดตอราชการทําเปนแบบพิธี, ใชกระดาษตราครุฑ
ค. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม , ใชกระดาษบันทึก
ง. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม, ใชกระดาษตราครุฑ
ตอบ ข. หนังสือติดตอราชการทําเปนแบบพิธี, ใชกระดาษตราครุฑ
หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑ
เปนหนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นซึ่งมิใชสวน
ราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก (ขอ 11 ระเบียบฯ งานสารบรรณ)
9."หนังสือภายใน" หมายถึงขอใด
ก. หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธี, ใชกระดาษบันทึก
24
ข. หนังสือติดตอราชการทําเปนแบบพิธี, ใชกระดาษตราครุฑ
ค. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม , ใชกระดาษบันทึก
ง. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม, ใชกระดาษตราครุฑ
ตอบ ค. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม , ใชกระดาษบันทึก
หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอก
เปนหนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึก
ขอความ (ขอ 12 ระเบียบฯ งานสารบรรณ)
10.ผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตราในหนังสือประทับตราคือใคร
ก. หัวหนาหนวย
ข. หัวหนาสวนราชการระดับกอง
ค. เจาหนาที่ภายในหนวยงาน
ง. หัวหนาฝาย
ตอบ ข. หัวหนาสวนราชการระดับกอง
หนังสือประทับตรา คือ หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวน
ราชการระดับกรมขึ้นไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจาก
หัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไป เปนผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตรา (ขอ 13 ระเบียบฯ
งานสารบรรณ)
11.ขอใดไมควรใชหนังสือประทับตรา
ก. การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร
ข. การตอบรับทราบที่ไมเกี่ยวกับรายการสําคัญ
ค. การเตือนเรื่องที่คาง
ง. หนังสือสําคัญเกี่ยวกับการเงิน
ตอบ ง. หนังสือสําคัญเกี่ยวกับการเงิน
หนังสือประทับตราใหใชไดทั้งระหวางสวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวน
ราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไมใชเรื่องสําคัญ ไดแก
1. การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
2. การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร
3. การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ
25
สรุปพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540
พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540”
มีผลใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
และมีายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และมีอํานาจออกกฎกระทรวง ผูรับสนอง
พระบรมราชโองการ คือ พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรี
“ขอมูลขาวสาร” หมายความวา สิ่งที่สื่อความหมายใหรูเรื่องราวขอเท็จจริง ขอมูล
หรือสิ่งใดๆ ไมวาการสื่อความหมายนั้นจะทําไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผานวิธีการ
ใดๆ และไมวาจะไดจัดทําไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่
ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร หรือวิธี
อื่นใดที่ทําใหสิ่งที่บันทึกไวปรากฏได
“ขอมูลขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครอง
หรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงาน
ของรัฐหรือขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเอกชน
“หนวยงานของรัฐ” หมายความวา ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค ราชการ
สวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ สวนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในสวนที่ไมเกี่ยวกับการ
พิจารณาพิพากษาคดี องคกรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หนวยงานอิสระของรัฐและ
หนวยงานอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
“เจาหนาที่ของรัฐ” หมายความวา ผูซึ่งปฏิบัติงานใหแกหนวยงานของรัฐ
“ขอมูลขาวสารสวนบุคคล” หมายความวา ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของ
บุคคล เชน การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการ
ทํางาน บรรดาที่มีชื่อของผูนั้นหรือมีเลขหมาย รหัส หรือสิ่งบอกลักษณะอื่นที่ทําใหรูตัวผูนั้น
ได เชน ลายพิมพนิ้วมือ แผนบันทึกลักษณะเสียงของคนหรือรูปถาย และใหหมายความ
รวมถึงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของผูที่ถึงแกกรรมแลวดวย
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ
“คนตางดาว” หมายความวา บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทยและไมมีถิ่นที่อยู
ในประเทศไทย และนิติบุคคลดังตอไปนี้
(1) บริษัทหรือหางหุนสวนที่มีทุนเกินกึ่งหนึ่งเปนของคนตางดาว ใบหุนชนิดออกใหแก
ผูถือ ใหถือวาใบหุนนั้นคนตางดาวเปนผูถือ
(2) สมาคมที่มีสมาชิกเกินกึ่งหนึ่งเปนคนตางดาว
26
(3) สมาคมหรือมูลนิธิที่มีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนของคนตางดาว
(4) นิติบุคคลอื่นใดที่มีผูจัดการหรือกรรมการเกินกึ่งหนึ่งเปนคนตางดาว
การเปดเผยขอมูลขาวสาร
หนวยงานของรัฐตองสงขอมูลขาวสารของราชการอยางนอยดังตอไปนี้ลงพิมพในราช
กิจจานุเบกษา
(1) โครงสรางและการจัดองคกรในการดําเนินงาน
(2) สรุปอํานาจหนาที่ที่สําคัญและวิธีการดําเนินงาน
(3) สถานที่ติดตอเพื่อขอรับขอมูลขาวสาร หรือคําแนะนําในการติดตอกับหนวยงาน
ของรัฐ
(4) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ขอบังคับ คําสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน
นโยบาย หรือการตีความ ทั้งนี้ เฉพาะที่จัดใหมีขึ้นโดยมีสภาพอยางกฎ เพื่อใหมีผลเปนการ
ทั่วไปตอเอกชนที่เกี่ยวของ
(5) ขอมูลขาวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกําหนด
หนวยงานของรัฐตองจัดใหมีขอมูลขาวสารของราชการอยางนอยดังตอไปนี้ไว
ใหประชาชนเขาตรวจดูได
(1) ผลการพิจารณาหรือคําวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงตอเอกชน รวมทั้งความเห็นแยงและ
คําสั่งที่เกี่ยวของในการพิจารณาวินิจฉัยดังกลาว
(2) นโยบายหรือการตีความที่ไมเขาขายตองลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา
(3) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจายประจําปของปที่กําลังดําเนินการ
(4) คูมือหรือคําสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิ
หนาที่ของเอกชน
(5) สิ่งพิมพที่ไดมีการอางอิง
(6) สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะเปนการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญารวมทุนกับ
เอกชนในการจัดทําบริการสาธารณะ
(7) มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการที่แตงตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติ
คณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ ใหระบุรายชื่อรายงานทางวิชาการ รายงานขอเท็จจริง หรือขอมูล
ขาวสารที่นํามาใชในการพิจารณาไวดวย
(8) ขอมูลขาวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกําหนด
แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส
แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส
แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส
แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส

Más contenido relacionado

Más de บ.ชีทราม จก.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรบ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...บ.ชีทราม จก.
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นบ.ชีทราม จก.
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Más de บ.ชีทราม จก. (13)

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
 
216
216216
216
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

แนวข้อสอบ กสย เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายแลแผน E-BOOK แนวข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำส

  • 1. 1
  • 2. 2 ขอบเขตเนื้อหา สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประวัติ สกย. 5 ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 11 วิสัยทัศน 12 คานิยมองคกร 12 พันธกิจ 13 วัตถุประสงค 13 เปาหมายหลัก 13 ยุทธศาสตร 14 ภารกิจ/บริการ 15 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง 19 การปลูกยางพารา 19 การบํารุงรักษา 32 โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา 37 การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 45 การแปรรูปผลผลิต 47 มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 50 สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 53 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 68 แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) แกไขเพิ่มเติมถึงพ.ศ. 2530 79 แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 86 สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนง
  • 3. 3 นโยบาย 93 แผน (Plan) 104 โครงการ (Program) 129 การบริหารแบบมุงผลสัมฤทธิ์ 143 กระบวนการของการบริหารแบบมุงผลสัมฤทธิ์ 143 การจัดทําแผนยุทธศาสตรตามแนวทางของสํานักงาน ก.พ.ร. 144 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร 160 แนวทางการจัดทําแผนยุทธศาสตรที่มีประสิทธิภาพ 162 ระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงานตามยุทธศาสตร 173 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกระบวนการงบประมาณ 173 งบประมาณแผนดิน 191 แนวความคิดในการจัดทํางบประมาณแผนดิน 202 เทคนิคในการวิเคราะหงบประมาณแผนดิน 204 งบประมาณแบบวางแผนวางโครงการ 210 การติดตามประเมินผลโครงการ (Program Evaluation) 224 การวิจัยและการพัฒนาระบบงาน 240 การวิจัย 240 การบริหารการพัฒนา 246 สวนที่ 4 กฎหมายที่เกี่ยวของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 250 สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 259 แนวขอสอบ ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 274 ระเบียบสํานักนายสรุปพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 296 สรุประเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 310 แนวขอสอพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 320 แนวขอสอบ วิเคราะหนโยบายและแผน 328 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
  • 4. 4 ประวัติ สกย. ทศวรรษแรก (ป 2503-2513) สรางความเชื่อมั่นแกชาวสวนยาง การ ดําเนินงานในทศวรรษแรก สมัยรัฐบาลจอม พลสฤษดิ์ ธนรัชต มีสํานักงานใหญ ตั้งอยูที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีสํานักงานสวนภูมิภาค ตั้งอยูในเขตปลูกยาง หนาแนน ในภาคใต และภาคตะวันออก รวม 6 เขต ไดแก ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สงขลา ยะลา และจันทบุรี มีขุนวิจิตรพา หนการ เปนผูอํานวยการ คนแรก ดํารงตําแหนงระหวาง วันที่ 1 มกราคม 2504 – 30 กันยายน 2508 คณะทํางานชุดแรกเปน พนักงานที่สําเร็จ การศึกษาระดับ ปริญญาตรีดานการเกษตร จํานวน 11 คนเปนหลัก ทํางานทั้งดาน ภาคสนามและการเงิน การบัญชี ซึ่งพนักงานชุดแรกนี้ตอมาไดเปน ผอ.สกย. ถึง 3 คน คือ นายณรงค สุจเร นายสมศักดิ์ โรหิตรัตนะ และนายเสวต ทองรมย หลังจากนั้นอีก ประมาณ 5-6 เดือน จึงมีพนักงาน ดานการเกษตรและดานการเงิน และบัญชี เขามาปฏิบัติงานเสริมอีก 25 คน ทําใหการสงเคราะห ดําเนินการไดรวดเร็ว และ คลองตัวยิ่งขึ้น ดวยความที่งานดานการสงเคราะหเปนงานใหมของประเทศ ไทย การทํางาน ในยุคเริ่มตน จึงประสบความ ลําบาก ในการทําความเขาใจกับประชาชน พอสมควร แตดวย ความมุงมั่น และอุดมการณอันแรงกลา ที่จะพลิกสถานการณ การผลิตยาง ของประเทศ และ นํามาซึ่งความอยูดีกินดีของชาวสวนยาง ในขณะนั้น ทําใหเกษตรกรเขาใจในเหตุผล และ ประโยชนที่จะไดรับในที่สุด อีกทั้งใหความเชื่อมั่นและไววางใจเปนอยางสูง อยางที่ไมมี หนวยงานราชการใดเคยไดรับมากอน โดยเฉพาะอยาง ยิ่งสิ่งที่พนักงาน สกย. ตองจดจํา ไวเปนพิเศษ คือในชวงป 2505 หลังจากกอตั้ง สกย. เพียง 2 ปเศษ ไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่ จ.นครศรีธรรมราช สงผลให ประชาชนตองประสบความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน สกย. ไดระดมพนักงานจํานวนมาก ไปชวยเหลือเกษตรกร ชาว สวนยางที่ประสบภัยพิบัติอันรายแรงอยางไมเคยเปนมากอน พนักงาน สกย. ทั้งหมดตางเรงเขาไปในพื้นที่ ระดมพลังทุมเท ความสามารถที่มีอยู เพื่อ บรรเทาความเดือดรอนใหเกษตรกรผูประสบภัยเหลานั้น อยางไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย แมทุก คนจะ ทุกขกายแตตางสุขใจและภาคภูมิที่ได ชวยเหลือสังคมอยางเต็มกําลัง ทําใหชื่อเสียง ของ สกย. โดดเดนขึ้นมาอยูในความ ทรงจําของชาวสวนยางพาราทั่วไป วิสัยทัศน
  • 5. 5 "มุงพัฒนายางพาราครบวงจร นําสังคมชาวสวนยางไปสูความเขมแข็งและยั่งยืน” พัฒนายางพาราจากการผลิต เริ่มตั้งแตการปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวผลผลิต การแปรรูป เบื้องตน เปนผลิตภัณฑยางอุตสาหกรรมและการตลาด โดยเริ่มจากตัวเกษตรกรมีความรูสู ครอบครัวที่อบอุน ชุมชน และสังคมชาวสวนยางเขมแข็ง คานิยมองคกร สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใชเปน หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคลื่อนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้ O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน R : Responsibility ความรับผิดชอบ R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม F : Faith ซื่อสัตยสุจริต พันธกิจ 1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่ ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม 2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความเขมแข็ง ใหกับสถาบันเกษตรกร 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาดยางพารา ระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความรวมมือของ เกษตรกร 4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและสิ่งแวดลอม 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ วัตถุประสงค 1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่มรายได และลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร
  • 6. 6 2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มีการ ดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง 3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมีความ เหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหาร จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม 4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงาน อยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล เปาหมายหลัก 1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางที่ใหผลิตสูงกวา ตน ยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถให ผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม 2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยาง คุมคา อนุรักษสิ่งแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษา สวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการจําหนาย ผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ 3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรม และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล 4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูก ยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคา ในตลาดทองถิ่น 5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และเสริมสราง ทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึง เสริมสราง ศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล
  • 7. 7 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง การปลูกยางพารา การเตรียมพื้นที่ การเตรียมพื้นที่ปลูกสรางสวนยาง เปนการปรับพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสําหรับปลูก ยางทั้งดานการปฏิบัติงานในสวนยางและการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนตองวางแผนการใช พื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความสะดวกในการดูแลบํารุงรักษาตนยาง การเตรียมพื้นที่ ปลูกยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่ การวางแนว การขุดหลุม และการจัดทําขั้นบันได เปนตน การวางแนวปลูก การวางแนวปลูกในพื้นที่ราบ เริ่มจากการวางแถวหลัก หางจากแนวเขตสวนไมนอย กวา 1.5 เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไมขวางทิศทางลม การวางแนวปลูกในพื้นที่ลาดเท ในพื้นที่ลาดเทหรือพื้นที่ที่อยูบนควนเขา การวาง แนวปลูกไมสามารถใชวิธีแบบเดียวกับพื้นที่ราบได เนื่องจากที่ลาดเทหรือที่ควนเขามีการ ไหลบาของน้ําในขณะที่มีฝนตก เปนผลใหเกิดการชะลางและพังทลายของหนาดิน ดังนั้น เพื่อปองกันการชะลางและการพังทลายของดินจึงจําเปนตองวางแนวปลูกตามแนวระดับ หากพื้นที่มีความลาดเทมากกวา 15 องศา ตองทําขั้นบันได ประโยชนของการทําแนวระดับและขั้นบันได - ปองกันการพังทลายของหนาดิน - ปองกันการชะลางปุยที่ใสใหกับตนยาง - ทําใหรากตนยางยึดแนนกับดิน ไมถูกน้ําเซาะลมไดงาย - ชวยรักษาความชุมชื้นในดิน - งายและสะดวกแกการปฏิบัติงานในสวน ระยะปลูก เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับตนยาง จึงกําหนดระยะปลูกเปน 2 ระยะ ตามความตองการปลูกพืชแซมและลักษณะประจําพันธุยาง การเตรียมหลุมปลูก การขุดหลุมปลูกยางใหขุดดานใดดานหนึ่งของไมชะมบตลอดแนว โดยแยกดินที่ขุด เปน 2 กอง คือ ดินชั้นบนและดินชั้นลาง ผึ่งแดดไวประมาณ 10 วัน เพื่อใหดินแหง แลวยอย
  • 8. 8 ดินชั้นบนใสรองกนหลุม สวนดินชั้นลางใหผสมกับปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตราหลุมละ 170 กรัม ในแหลงปลูกยางใหมควรใสปุยอินทรียตนละ 5 กก. รองกนหลุมรวมกับปุยหินฟอสเฟต แลวกลบหลุม ขนาดของหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร (กวาง x ยาว x ลึก) สําหรับการขุดหลุมปลูกในพื้นที่ลาดเท เมื่อปกไมชะมบเรียบรอยแลวควรขุดหลุม เยื้องไปดานในควนเล็กนอย เมื่อปลูกยางไปแลวอาจตองแตงชานเพิ่มเติม โดยขุดดินบนควน มากลบดานนอก ซึ่งจะทําใหตนยางอยูกลางขั้นบันไดพอดี การปลูก วัสดุปลูกและวิธีการปลูก วัสดุปลูก วัสดุปลูก หรือตนยางที่ใชปลูก แบงออกเปน ตนตอตาและตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ควรเลือกวัสดุปลูกที่แข็งแรงสมบูรณปราศจากโรคและศัตรูพืช ตนตอตา ตนตอตา หมายถึง ตนกลายางที่ไดรับการติดตาดวยยางพันธุดี แตตายังไมแตก ออกมา มีแผนตาและตาที่เปนตุมติดอยูเทานั้น ขุดถอนแลวตัดตนเดิมเหนือแผนตาขึ้นไปไม นอยกวา 8 ซม. เพื่อนําไปปลูกในแปลงที่เตรียมพื้นที่ไวเรียบรอยแลว ตนยางชําถุง ตนยางชําถุง หมายถึง วัสดุปลูกที่ไดจากการนําเอาตนตอตามาชําในถุง โดยใชเวลา ชําในถุงประมาณ 2-3 เดือน จนไดตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ซึ่งมีสภาพพรอมที่จะนําไป ปลูกในแปลงได ขนาดของถุงที่ใชชําคือ 5 x 15 นิ้ว สีดํา เจาะรูขนาด 3 มม. ประมาณ 3 แถว ๆ ละ 5-7 รู พันธุยาง กรมวิชาการเกษตร ไดแนะนําพันธุยาง 3 กลุม 1. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางสูง เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงเปนหลัก มี4 พันธุคือ พันธุสาถาบันวิจัยยาง 251 สถาบันวิจัยยาง226 BPM 24 และ RRIM 600 2. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางและเนื้อไมสูง เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงและมีการเจริญเติบโตดีลักษณะลําตนตรง และใหปริมาตร เนื้อไมในสวนลําตนสูง มี4 พันธุ คือ พันธุPB 235 PB 255 PB 260 และ RRIC 110 3. กลุมพันธุยางผลผลิตเนื้อไมสูง
  • 9. 9 พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542 เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการควบคุมยาง พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง กฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ ยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช กิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 ใหยกเลิก (1) พระราชบัญญัติควบคุมยาง พุทธศักราช 2481 (2) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2483 (3) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2490 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea brasiliensis) และหมายความ รวมถึงตนยางชนิดอื่นซึ่งรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหเปนตนยางที่อยูภายใตการควบคุมตาม พระราชบัญญัตินี้ “ตนยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดวาเปนตน ยางพันธุที่เหมาะสมที่จะใชปลูกเปนสวนยาง “ยาง” หมายความวา น้ํายางสด ยางกอน เศษยาง น้ํายางขน ยางแผน ยาง แทง ยางเครพ หรือยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง และ
  • 10. 10 หมายความรวมถึงยางผสมไมวาในสภาพของแข็งหรือของเหลวซึ่งมียางธรรมชาติผสมกับ สารเคมีหรือสารอื่น แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐสําเร็จรูปจากยาง “เนื้อยาง” หมายความวา เนื้อยางที่มีอยูในน้ํายางหรือยางแตละชนิดโดย คํานวณเปนน้ําหนักตามกรรมวิธีที่กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณกําหนด “สวนยาง” หมายความวา ที่ดินซึ่งมีตนยางปลูกอยูในเนื้อที่ไมนอยกวาหนึ่ง ไร แตละไรมีตนยางไมนอยกวาสิบตน หรือในกรณีที่มีเนื้อที่ปลูกยางติดตอกันมากกวาหนึ่ง ไร ตองมีสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตนของจํานวนเนื้อที่ทั้งหมด “ทําสวนยาง” หมายความวา ปลูกตนยางในสภาพที่เปนสวนยาง บํารุงรักษา ตนยาง กรีดตนยาง หรือทําน้ํายางสดใหเปนยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบ “เขตควบคุมการขนยายยาง” หมายความวา เขตพื้นที่ที่รัฐมนตรีประกาศ กําหนดเปนเขตควบคุมการขนยายยาง “โรงทํายาง” หมายความวา สถานที่ที่ใชน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือ ยางแผนดิบมาแปรรูปเปนน้ํายางขน ยางผึ่งแหง ยางแผนรมควัน ยางแทง ยางเครพ ยางดิบ ชนิดอื่น ๆ อยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึงสถานที่ที่ผลิต ยางผสม แตไมรวมถึงสถานที่ที่ทํายางแผนดิบ “ปริมาณควบคุมเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรี ประกาศกําหนดใหผูทําสวนยางทําการผลิตเนื้อยางไดตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรี ประกาศกําหนด “ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรีประกาศ จัดสรรใหผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก นําเนื้อยางเขามาในหรือสงเนื้อยางออกไปนอก ราชอาณาจักรได ตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด “มาตรฐานยาง” หมายความวา ลักษณะของยางแตละชนิดหรือชั้นตามที่ รัฐมนตรีประกาศกําหนด “วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยาง” หมายความวา วิธีการมัดยางและ การบรรจุหีบหอยางตามวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด “คายาง” หมายความวา ซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนยาง และหมายความ รวมถึงซื้อยาง ขายยาง ตามตราสารที่บุคคลหนึ่งบุคคลใดเปนผูออกตราสารนั้นหรือโดย ประการอื่น แตไมรวมถึงกรณีที่ผูทําสวนยางขายน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือยางแผน ดิบ ซึ่งเปนผลิตผลจากสวนยางของตน “ผูอนุญาต” หมายความวา อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย
  • 11. 11 แนวขอสอบพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 6. “ปสงเคราะห” หมายความถึงระยะเวลาใด ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 เมษายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 มีนาคมของปถัดไป ข. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 เมษายนของปถัดไป ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป ง. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 ตุลาคมของปถัดไป ตอบ ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของป ถัดไป “ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น 7. สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินกวาเทาใด ไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห ก. 1 กิโลกรัม ข. 3 กิโลกรัม ค. 5 กิโลกรัม ง. 7 กิโลกรัม ตอบ ค. 5 กิโลกรัม สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินหา กิโลกรัม หรือยางที่กระทรวง ทบวง กรม เปนผูสงออกเพื่อประโยชนใด ๆ อันมิใชเพื่อการคา ไมวาจะมีน้ําหนักเทาใด ใหไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห 8. ขอใดเจาของสวนยางจะไดรับการสงเคราะหสวนยาง ก. ตนยางอายุยี่สิบหาปขึ้นไป ข. ตนยางทรุดโทรมเสียหาย ค. ตนยางที่ไดผลนอย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูจะไดรับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนเจาของสวนยางที่มีตนยางอายุ กวายี่สิบหาปขึ้นไป หรือตนยางทรุดโทรมเสียหาย หรือตนยางที่ไดผลนอย
  • 12. 12 9. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอ วาอะไร ก. ก.ส.ย. ข. กสย. ค. คสย. ง. ค.ส.ย. ตอบ ก. ก.ส.ย. 10. รองประธานกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด ก. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ตอบ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 11.กรรมการที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับ การยางมีจํานวนเทาใด ก. 2 คน / 2 คน ข. 4 คน / 2 คน ค. 4 คน / 4 คน ง. 5 คน / 2 คน ตอบ ข. 4 คน / 2 คน คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดย ยอวา “ก.ส.ย.” ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือรัฐมนตรีชวย วาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ มอบหมายเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรองประธาน กรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูอํานวยการ สํานักงบประมาณ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร อธิบดีกรม ศุลกากร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เปนกรรมการ และกรรมการอื่น อีกไมเกินหกคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางสี่คนและบุคคลอื่นซึ่งมีสวน เกี่ยวของกับการยางสองคน
  • 13. 13 12. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง มีวาระอยูในตําแหนง คราวละกี่ป ก. 1 ป ข. 2 ป ค. 3 ป ง. 4 ป ตอบ ข. 2 ป กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองป 13. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ ดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยาง จํานวนเทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ ตอบ ก. รอยละหา ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอย ละหา เปนคาใชจายในการดําเนินงานคนควาทดลองเกี่ยวกับกิจการยางในอันที่จะเปน ประโยชนแกเจาของสวนยางโดยเฉพาะ มอบไวแกกรมวิชาการเกษตรเปนงวด ๆ ตาม หลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีกําหนด เงินที่กรมวิชาการเกษตรไดรับนี้มิใหถือวาเปน รายรับตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ 14. ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะห เปนคาใชจายในการ บริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง จํานวนเทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละเจ็ด ค. รอยละเกา ง. รอยละสิบ ตอบ ง. รอยละสิบ ทุก ๆ ปสงเคราะห ใหคณะกรรมการจัดสรรเงินสงเคราะหที่เก็บได จํานวนไมเกินรอย ละสิบ เปนคาใชจายในการบริหารงานการสงเคราะหการทําสวนยางของสํานักงานกองทุน สงเคราะหการทําสวนยาง หากเงินจํานวนที่ตั้งไวนี้ไมพอจายในงานตาง ๆ ดังกลาว ให รัฐบาลตั้งรายจายเพิ่มเติมในงบประมาณประจําปตามความจําเปน
  • 14. 14 ความรูเกี่ยวกับตําแหนงวิเคราะหนโยบายและแผน นโยบายและนโยบายสาธารณะ การศึกษานโยบายนั้นโดยทั่วไปอาจจําแนกการศึกษาออกเปน 2 แนวทาง คือ การศึกษานโยบายทั่วๆ ไป (General Policy) และการศึกษานโยบายสาธารณะ (Public Policy) ในความหมายทั่วไป นโยบาย หมายถึง แนวทางกวางๆ ในการปฏิบัติงาน ซึ่ง ในความหมายนี้จะไมแยกแยะวาจะเปนนโยบายของเอกชนหรือของรัฐก็ลวนแลวแตเปน แนวทางกวางๆ ในการปฏิบัติงานทั้งสิ้น เชน นโยบายของธนาคารกรุงเทพฯ ก็หมายถึง แนวทางกวางๆ ในการปฏิบัติงานของรัฐ เปนตน สําหรับในกรณีนี้จะกลาวถึงเฉพาะนโยบายสาธารณะเปนสําคัญ ซึ่งใน ความหมายของนโยบายสาธารณะมีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายไวดังนี้ Thomas R. Dye กลาววา นโยบายสาธารณะเปนสิ่งที่เกี่ยวของกับเรื่องราว หรือกิจกรรมที่รัฐบาลเลือกจะกระทําหรือไมกระทํา และเกี่ยวของกับเหตุผลวาทําไมจึงเลือก เชนนั้น William T. Greenwood กลาววา นโยบาย หมายถึง การตัดสินใจขั้นตนที่ กําหนดแนวทางทั่วไปอยางกวางๆ เพื่อนําไปสูการปฏิบัติ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว Ira Sharkansky นโยบายสาธารณะ หมายถึง กิจกรรมตางๆ ที่รัฐบาลหรือ องคกรของรัฐจัดทําขึ้น เชน การจัดบริการสาธารณะ การออกกฎหมายและการบังคับใช กฎหมาย การจัดพิธีกรรมอันเปนสัญลักษณของสังคม และการควบคุมกระบวนการกําหนด นโยบายหรือการกระทําทางการเมืองอื่นๆ เปนตน ดร.กระมล ทองธรรมชาติ กลาววา นโยบาย คือ แนวทางที่แตละประเทศได เลือกปฏิบัติเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคอยางใดอยางหนึ่งตามที่กําหนดไว อันเปนวัตถุประสงค ที่เชื่อวาถาทําไดสําเร็จจะยังเปนประโยชนกับประเทศของตนได สรุปก็คือ นโยบายสาธารณะ (Public Policy) นั้น อาจเปนนโยบายของ รัฐบาลหรือของเอกชนก็ได หากนโยบายนั้นมุงผลประโยชนของสวนรวมเปนสําคัญ แต สําหรับนโยบายของรัฐบาล (Government Policy)แลว จะตองเปนนโยบายสาธารณะเทานั้น
  • 15. 15 ลักษณะทั่วไปของนโยบาย จากความหมายทั้งหมดจะเห็นวา นโยบายทั่วๆ ไปจะมีลักษณะดังนี้ 1. เปนแนวทางอยางกวางๆ คือ ไมเจาะจง ยังมีลักษณะยืดหยุนอยูมาก 2. มีจุดมุงหมาย ซึ่งอาจเปนวัตถุประสงคอยางหนึ่งอยางใดที่สําคัญมากๆ เชน เปนประโยชนขององคการ เปนตน 3. เปนขอเสนอเกี่ยวกับการปฏิบัติ คือ นโยบายจะเปนเครื่องชี้นําใหมีการ ปฏิบัติตาม พรอมทั้งเสนอแนะแนวทางที่สามารถปฏิบัติเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคที่ไดวางไว ดวย องคประกอบที่สําคัญของนโยบาย 1. นโยบายจะตองแสดงถึงความแนนอน และชัดเจนในการทํางาน กลาวคือ ในการกําหนดนโยบายแหงรัฐนั้นจะตองคํานึงถึงความแนนอนในการที่จะทําใหนโยบาย บรรลุผลดวย 2. นโยบายจะตองนําไปสูการสรางเสถียรภาพ และความมั่นคงของประเทศ 3. นโยบายจะตองทําและปฏิบัติอยางตอเนื่อง และกระบวนการทํางาน ทั้งหลายจะตองมีการเปลี่ยนแปลงตามกระบวนการดวย รูปรางของนโยบาย นโยบายมีหลายรูปรางและหลายลักษณะตามการใชประโยชนของนโยบาย ซึ่ง พอจะสรุปไดดังนี้ 1. มีรูปเปนกฎหมาย กฎ ระเบียบ คือ เปนนโยบายที่มีลักษณะบังคับให ตองปฏิบัติตาม ไดแก กฎหมายตางๆ ของรัฐ เปนตน 2. มีรูปเปนแผนงาน โครงการ คือ เปนนโยบายที่มีลักษณะเปน ขอเสนอแนะ และเปนแนวทางสําหรับการปฏิบัติงานขององคการ และไมมีลักษณะบังคับให ทุกคนตองปฏิบัติตาม 3. มีรูปเปนประกาศ แจงความ คือ มีลักษณะเพื่อแจงขาวสาร เชิญชวน และมีลักษณะบังคับนอยที่สุด เชน นโยบายเชิญชวนเฉลิมฉลองในวาระโอกาสที่สําคัญๆ เปนตน 4. มีรูปเปนสัญญา คือ เปนนโยบายที่รัฐใหสัญญากับสังคม เชน การแถลง นโยบายของรัฐบาลตอรัฐสภา เปนตน
  • 16. 16 นักวางแผน (Planner) หมายถึง บุคคลหรือคณะบุคคลซึ่งไดรับมอบหมายใหมีหนาที่วางแผน เพื่อ สรางสรรคแผนงาน (Plan) ตามแนวทางที่องคการตองการ โดยปกติหนาที่ในการวางแผนใน ระดับองคการนั้นจะถือเปนหนาที่ของนักบริหารระดับกลาง (Middle – Level Administrator) คือนักบริหารระดับหัวหนาหนวย (Department) นั่นเอง สวนนักบริหารระดับสูง (Top – Level Administrator) จะวางนโยบายและนัก บริหารระดับลาง (Lower – Level Administrator) จะวางโครงการ ทักษะสําหรับนักวางแผน การวางแผนเปนการใชสติปญญาเพื่อกําหนดแนวทางสําหรับการดําเนินงาน ขององคการในอนาคต ดังนั้นการวางแผนจึงตองอาศัยทักษะหลายดานประกอบกัน เชน ตองใชทั้งการจินตนาการที่กวางไกล มีความคิดริเริ่มสรางสรรคที่ดี ตองมีความรูในหลัก วิชาการหลายๆ สาขา ตองรูจักใชเทคนิค – ทฤษฎีการพยากรณใหเหมาะสม เปนตน จึงจะ ชวยใหการวางแผนสมบูรณไดมากขึ้น จะเห็นไดวากิจกรรมการวางแผนมีขอจํากัดมาก ดังนั้นงานวางแผนจึงมักเปน งานระดับกลุมหรือตองประกอบดวยผูเชี่ยวชาญหลายๆ สาขามารวมกันสรางแผน โดยมีนัก วางแผนเปนตัวประสานใหการวางแผนไปสูจุดหมายรวมกันขององคการได บทบาทของนักวางแผนในองคการ Cleland และ King กลาววา บทบาทของนักวางแผนในองคการจําแนกไดตาม ระดับความรับผิดชอบดังนี้ 1. ในระดับองคการ นักวางแผนจะมีบทบาทได 2 ลักษณะ ดังนี้ 1) ชวยกําหนดยุทธวิธีหลักตางๆ เพื่อชวยผูบริหาร ไดแก - เลือกแบบแผนของแนวความคิดในระบบการวางแผนเชิงยุทธวิธีที่ เหมาะสม - ชวยอํานวยความสะดวกในการใชระบบการวางแผน โดยอภิปราย รวมกับผูบริหารเพื่อเลือกใชระบบที่เหมาะสม - รับผิดชอบในการปรับปรุงระบบ เชน เปลี่ยนรูปแบบ ขยาย ขอบเขต เปลี่ยนจุดเนนและอื่นๆ 2) ปรับปรุงดานกายภาพของระบบราชการ เชน ปรับปรุง แจกจายคูมือ การวางแผน ปฏิบัติการวางแผน เปนตน
  • 17. 17 ขั้นตอนการวางแผน (Planning Processes) กลาวโดยสรุป ขั้นตอนทั้งหลายในการวางแผนอาจจําแนกยอยๆ ได 3 กระบวนการ ไดแก 1. ขั้นเตรียมการ เปนการกําหนดเคาโครงกลยุทธของแผน ซึ่งมีกิจกรรม สําคัญๆ ไดแก 1) การกําหนดวัตถุประสงคของแผน 2) การกําหนดแนวทางของแผน 2. ศึกษาวิเคราะหสถานการณ เปนการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการ วิเคราะหความถูกตองของงานในขั้นเตรียมการ ซึ่งขอมูลในการวางแผนอาจจําแนกไดเปน 2 กลุม คือ 1) ความเปนจริง (Fact) เกี่ยวกับขอมูลที่ตองใชในการวางแผน 2) ความโนมเอียง (Trend) เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของขอมูลที่ตองใช ในการวางแผนในอนาคต 3. ลงมือวางแผน หลังจากกําหนดความถูกตองของแผนไดแลวจึงลงมือ เขียนแผนใหถูกตองตามรูปแบบที่ควรจะเปนของแผนงาน โดยตองกําหนดรายละเอียดให ชัดเจนวาจะทําที่ไหน เมื่อไหร อยางไร เปนตน นอกจากนี้กระบวนการหรือขั้นตอนของการวางแผนนั้น ยังสามารถแบงได เปน 2 ระยะ คือ 1) การวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning Process) 2) การวางแผนดําเนินการ (Operational Planning Process) อยางไรก็ตาม มีนักวิชาการหลายทานไดเสนอแนะขั้นตอนการวางแผนอยาง ละเอียดตางๆ กันไป ซึ่งจะยกตัวอยางดังตอไปนี้ 1. กระบวนการวางแผนตามทัศนะของ ศ. Le Breton มี 14 ขั้นตอน คือ 1. พิจารณาถึงความจําเปนที่จะตองมีการวางแผน วามีความจําเปนมาก นอยขนาดไหนที่จะตองมีการกําหนดแผนเพื่อนํามาปฏิบัติ โดยปกติตองมั่นใจวาการวางแผนจะตองเปนเรื่องสําคัญ และไมมีวิธีอื่นใด จะชวยแกไขปญหาใหมีประสิทธิภาพไดมากกวาการวางแผน จึงจะมีการวางแผน ทั้งนี้เพราะ การวางแผนตองเสียคาใชจาย กําลังงาน ตองใชเวลามาก และมีขั้นตอนที่ยุงยากหลาย ขั้นตอน
  • 18. 18 กระบวนการของโครงการ (Processes of Program) กระบวนการของโครงการมีลักษณะเชนเดียวกับกระบวนการนโยบายและ แผน กลาวคือ ประกอบดวยกระบวนการยอยๆ 4 ขั้นตอน คือ 1. การรางหรือวางโครงการ (Program Planning) 2. การวิเคราะหและประเมินโครงการ (Program Analysis Appraisal Processes) 3. การบริหารหรือการนําโครงการไปปฏิบัติ (Program Implementation) 4. การติดตามประเมินผลโครงการ (Program Evaluation) รายละเอียดของแตละขั้นตอนมีดังนี้ กระบวนการวางโครงการ (Program Planning Processes) ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนการกอรูป (Formulation) ของโครงการซึ่งโดยทั่วไปมี แนวคิดดังนี้ 1. ใชหลักการวางแผนทั่วไป 2. มีหลักเพิ่มเติมคือ - โครงการทั้งหลายจะไมอยูโดดเดี่ยว จะตองสัมพันธกับโครงการอื่นอยู เสมอ ไมวาจะเปนดานการสงเสริมกัน หรือขัดแยงกันก็ตาม - การวางโครงการตองมีรายละเอียดซึ่งสามารถมองเห็นเปนรูปธรรมได เพื่อฝายปฏิบัติและฝายติดตามประเมินผลจะไดปฏิบัติตามไดโดยสะดวก 1. หลักทั่วไปในการวางแผนโครงการ ในทางทฤษฎีการวางโครงการแบงออกไดเปน 2 ระยะ คือ 1. การวางโครงการขั้นกลยุทธ (Strategic Program Planning) 2. การวางโครงการขั้นกําหนดรายละเอียดและวิธีดําเนินการ (Operation Program Planning) ระยะที่ 1 การวางโครงการกลยุทธ กิจกรรมในขั้นตอนนี้เปนงานกําหนดเคาโครง และแนวทางสําคัญของ โครงการ โดยมีเปาหมายที่สําคัญเพื่อใหไดแนวทางในการดําเนินโครงการที่ดีที่สุด (The best way program) หรือเพื่อวิเคราะหหาทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด (The best alternative) ของโครงการใหไดนั่นเอง ระยะที่ 2 การวางโครงการดําเนินการ
  • 19. 19 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ทุกภาคสวนในสังคมไทยเห็นพองรวมกันนอมนาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนปรัชญานาทางในการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่อง เพื่อ มุงใหเกิดภูมิคุมกันและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม เพื่อใหการพัฒนา ประเทศสูความสมดุลและยั่งยืน มุงสู “สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอ ภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง” การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 มีแนวคิดที่มีความตอเนื่องจาก แนวคิดของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-10 โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา” รวมทั้ง “สรางสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ และขับเคลื่อนใหบังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกระดับ เพื่อใหการพัฒนาและ บริหารประเทศเปนไปบนทางสายกลาง การกําหนดทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ตองเรงสรางภูมิคุมกันเพิ่มขึ้นในมิติการพัฒนาดานตางๆ ดังนี้ 1. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ 1.1 การสรางความเปนธรรมในสังคม 1.2 การพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต 2. การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม ที่มุงพัฒนา เศรษฐกิจภายในประเทศใหเขมแข็ง เพื่อลดการพึ่งพาปจจัยภายนอก 2.1 การสรางความเขมแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน 2.2 การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเติบโตอยางมีคุณภาพและยั่งยืน ให ความสําคัญกับ การปรับโครงสรางเศรษฐกิจบนฐานความรู ความคิดสรางสรรค และภูมิปญญา 2.3 การสรางความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทาง เศรษฐกิจและสังคม ใหความสําคัญกับการเชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศกับความรวมมือระหวาง ประเทศในภูมิภาคตางๆ 3. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
  • 20. 20 สรุปสาระสําคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) 2. การประเมินสถานการณ ความเสี่ยงและการสรางภูมิคุมกันของประเทศ 2.1 สถานการณการเปลี่ยนแปลงที่มีผลตอการพัฒนาประเทศ ประเทศไทยยัง ตองเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญทั้งในระดับโลก และภายในประเทศ ซึ่งมีผลกระทบทั้ง ที่เปนโอกาสและความเสี่ยงตอการพัฒนาประเทศ ดังนี้ 2.1.1 การเปลี่ยนแปลงสําคัญระดับโลก 1) กฎ กติกาใหมของโลกหลายดานสงผลใหทุกประเทศตองปรับตัว 2) การปรับตัวเขาสูเศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนยกลาง รวมทั้งภูมิภาค เอเชียทวีความสําคัญเพิ่มขึ้น การรวมกลุมเศรษฐกิจที่สําคัญตอประเทศไทยในชวง แผนพัฒนาฯฉบับที่ 11 ไดแก การรวมกลุมในภูมิภาคเอเชีย ภายใตกรอบการคาเสรีของ อาเซียนกับจีน ญี่ปุน และอินเดียและการเปนประชาคมอาเซียนในป 2558 3) การเขาสูสังคมผูสูงอายุของโลกอยางตอเนื่อง 4) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกสงผลใหสภาพภูมิอากาศแปรปรวน 5) ความมั่นคงทางอาหารและพลังงานของโลกมีแนวโนมจะเปนปญหา สําคัญ 6) ความกาวหนาทางเทคโนโลยีมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมรวมทั้งตอบสนองตอการดํารงชีวิตของประชาชนมากยิ่งขึ้น 7) การกอการรายสากลเปนภัยคุกคามประชาคมโลก 2.1.2 การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ 1) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานเศรษฐกิจ 2) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานสังคม ประเทศไทยกาวสูสังคมผูสูงอายุ จากการมีโครงสรางประชากรที่วัยสูงอายุเพิ่มขึ้น วัยเด็กและวัยแรงงานลดลง คนไทยไดรับ การพัฒนาศักยภาพทุกชวงวัยแตมีปญหาคุณภาพการศึกษาและระดับสติปญญาของเด็ก 3) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 4) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานการบริหารจัดการการพัฒนาประเทศ 2.2 การประเมินความเสี่ยง ประเทศไทยจะเผชิญกับความเสี่ยงที่ตองเตรียมการ สรางภูมิคุมกันใหประเทศพรอมเผชิญการเปลี่ยนแปลงอยางมีประสิทธิภาพ 6 ประการ ดังนี้ 2.2.1 การบริหารภาครัฐออนแอ 2.2.2 โครงสรางทางเศรษฐกิจไมสามารถรองรับการเจริญเติบโตอยางยั่งยืน เศรษฐกิจไทยยังคงพึ่งพาเศรษฐกิจภายนอกประเทศ
  • 21. 21 ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 ความหมาย “งานสารบรรณ” หมายความวา งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต การจัดทําการรับ การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย “หนังสือ” หมายความวา หนังสือราชการ “สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานักงาน หรือหนวยงานอื่น ใดของรัฐทั้งในราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมิภาค ราชการบริหารสวน ทองถิ่น หรือในตางประเทศและใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดวย “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากทางราชการให ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และใหหมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือคณะ บุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้ ชนิดของหนังสือ หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก 1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ 2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มีไปถึง บุคคลภายนอก 3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงสวน ราชการ 4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อเปนหลักฐานในราชการ 5. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ หนังสือ มี 6 ชนิด คือ 1. หนังสือภายนอก 2. หนังสือภายใน 3. หนังสือประทับตรา 4. หนังสือสั่งการ 5. หนังสือประชาสัมพันธ
  • 22. 22 6. หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้น หรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ หนังสือภายนอก หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑ เปนหนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวน ราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก หนังสือภายใน หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอก เปนหนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึก ขอความ หนังสือประทับตรา หนังสือประทับตรา คือ หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวน ราชการระดับกรมขึ้นไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจาก หัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไป เปนผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตรา หนังสือประทับตรา ใหใชไดทั้งระหวางสวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไมใชเรื่องสําคัญ ไดแก 1. การขอรายละเอียดเพิ่มเติม 2. การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร 3. การตอบรับทราบที่ไมเกี่ยวกับราชการสําคัญ หรือการเงิน 4. การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ 5. การเตือนเรื่องที่คาง 6. เรื่องซึ่งหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไปกําหนดโดยทําเปนคําสั่ง ใหใชหนังสือ ประทับตรา หนังสือประทับตรา ใชกระดาษตราครุฑ
  • 23. 23 แนวขอสอบ ระเบียบฯ งานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 7.ขอใดมิใชความหมายของหนังสือราชการ ก. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ ข. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นที่มิใชสวนราชการ ค. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพื่อใชเปนหลักฐานในราชการ ง. หนังสือที่มีขึ้นเพื่อใชในการติดตอบุคคลภายนอก ตอบ ง. หนังสือที่มีขึ้นเพื่อใชในการติดตอบุคคลภายนอก หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก 1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ 2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มี ไปถึงบุคคลภายนอก 3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึง สวนราชการ 4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบหรือขอบังคับ (ขอ 9 ระเบียบฯ งานสารบรรณ) 8."หนังสือภายนอก" หมายถึงขอใด ก. หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธี, ใชกระดาษบันทึก ข. หนังสือติดตอราชการทําเปนแบบพิธี, ใชกระดาษตราครุฑ ค. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม , ใชกระดาษบันทึก ง. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม, ใชกระดาษตราครุฑ ตอบ ข. หนังสือติดตอราชการทําเปนแบบพิธี, ใชกระดาษตราครุฑ หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑ เปนหนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นซึ่งมิใชสวน ราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก (ขอ 11 ระเบียบฯ งานสารบรรณ) 9."หนังสือภายใน" หมายถึงขอใด ก. หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธี, ใชกระดาษบันทึก
  • 24. 24 ข. หนังสือติดตอราชการทําเปนแบบพิธี, ใชกระดาษตราครุฑ ค. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม , ใชกระดาษบันทึก ง. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม, ใชกระดาษตราครุฑ ตอบ ค. หนังสือที่ใชติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม , ใชกระดาษบันทึก หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอก เปนหนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึก ขอความ (ขอ 12 ระเบียบฯ งานสารบรรณ) 10.ผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตราในหนังสือประทับตราคือใคร ก. หัวหนาหนวย ข. หัวหนาสวนราชการระดับกอง ค. เจาหนาที่ภายในหนวยงาน ง. หัวหนาฝาย ตอบ ข. หัวหนาสวนราชการระดับกอง หนังสือประทับตรา คือ หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวน ราชการระดับกรมขึ้นไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจาก หัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไป เปนผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตรา (ขอ 13 ระเบียบฯ งานสารบรรณ) 11.ขอใดไมควรใชหนังสือประทับตรา ก. การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร ข. การตอบรับทราบที่ไมเกี่ยวกับรายการสําคัญ ค. การเตือนเรื่องที่คาง ง. หนังสือสําคัญเกี่ยวกับการเงิน ตอบ ง. หนังสือสําคัญเกี่ยวกับการเงิน หนังสือประทับตราใหใชไดทั้งระหวางสวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวน ราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไมใชเรื่องสําคัญ ไดแก 1. การขอรายละเอียดเพิ่มเติม 2. การสงสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร 3. การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ
  • 25. 25 สรุปพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540” มีผลใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป และมีายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และมีอํานาจออกกฎกระทรวง ผูรับสนอง พระบรมราชโองการ คือ พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรี “ขอมูลขาวสาร” หมายความวา สิ่งที่สื่อความหมายใหรูเรื่องราวขอเท็จจริง ขอมูล หรือสิ่งใดๆ ไมวาการสื่อความหมายนั้นจะทําไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผานวิธีการ ใดๆ และไมวาจะไดจัดทําไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร หรือวิธี อื่นใดที่ทําใหสิ่งที่บันทึกไวปรากฏได “ขอมูลขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครอง หรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ ไมวาจะเปนขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงาน ของรัฐหรือขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเอกชน “หนวยงานของรัฐ” หมายความวา ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค ราชการ สวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ สวนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลเฉพาะในสวนที่ไมเกี่ยวกับการ พิจารณาพิพากษาคดี องคกรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หนวยงานอิสระของรัฐและ หนวยงานอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง “เจาหนาที่ของรัฐ” หมายความวา ผูซึ่งปฏิบัติงานใหแกหนวยงานของรัฐ “ขอมูลขาวสารสวนบุคคล” หมายความวา ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของ บุคคล เชน การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการ ทํางาน บรรดาที่มีชื่อของผูนั้นหรือมีเลขหมาย รหัส หรือสิ่งบอกลักษณะอื่นที่ทําใหรูตัวผูนั้น ได เชน ลายพิมพนิ้วมือ แผนบันทึกลักษณะเสียงของคนหรือรูปถาย และใหหมายความ รวมถึงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของผูที่ถึงแกกรรมแลวดวย “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ “คนตางดาว” หมายความวา บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทยและไมมีถิ่นที่อยู ในประเทศไทย และนิติบุคคลดังตอไปนี้ (1) บริษัทหรือหางหุนสวนที่มีทุนเกินกึ่งหนึ่งเปนของคนตางดาว ใบหุนชนิดออกใหแก ผูถือ ใหถือวาใบหุนนั้นคนตางดาวเปนผูถือ (2) สมาคมที่มีสมาชิกเกินกึ่งหนึ่งเปนคนตางดาว
  • 26. 26 (3) สมาคมหรือมูลนิธิที่มีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนของคนตางดาว (4) นิติบุคคลอื่นใดที่มีผูจัดการหรือกรรมการเกินกึ่งหนึ่งเปนคนตางดาว การเปดเผยขอมูลขาวสาร หนวยงานของรัฐตองสงขอมูลขาวสารของราชการอยางนอยดังตอไปนี้ลงพิมพในราช กิจจานุเบกษา (1) โครงสรางและการจัดองคกรในการดําเนินงาน (2) สรุปอํานาจหนาที่ที่สําคัญและวิธีการดําเนินงาน (3) สถานที่ติดตอเพื่อขอรับขอมูลขาวสาร หรือคําแนะนําในการติดตอกับหนวยงาน ของรัฐ (4) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ขอบังคับ คําสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรือการตีความ ทั้งนี้ เฉพาะที่จัดใหมีขึ้นโดยมีสภาพอยางกฎ เพื่อใหมีผลเปนการ ทั่วไปตอเอกชนที่เกี่ยวของ (5) ขอมูลขาวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกําหนด หนวยงานของรัฐตองจัดใหมีขอมูลขาวสารของราชการอยางนอยดังตอไปนี้ไว ใหประชาชนเขาตรวจดูได (1) ผลการพิจารณาหรือคําวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงตอเอกชน รวมทั้งความเห็นแยงและ คําสั่งที่เกี่ยวของในการพิจารณาวินิจฉัยดังกลาว (2) นโยบายหรือการตีความที่ไมเขาขายตองลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา (3) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจายประจําปของปที่กําลังดําเนินการ (4) คูมือหรือคําสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิ หนาที่ของเอกชน (5) สิ่งพิมพที่ไดมีการอางอิง (6) สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะเปนการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญารวมทุนกับ เอกชนในการจัดทําบริการสาธารณะ (7) มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการที่แตงตั้งโดยกฎหมาย หรือโดยมติ คณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ ใหระบุรายชื่อรายงานทางวิชาการ รายงานขอเท็จจริง หรือขอมูล ขาวสารที่นํามาใชในการพิจารณาไวดวย (8) ขอมูลขาวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกําหนด