SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 30
ชนิดของภัยพิบัติ
Environmental Disaster and Management
ธรรมชาติ
เป็นผู้กระทา
มนุษย์
เป็นผู้กระทา
เหตุ
ฉับพลัน
สาเหตุเดี่ยว
เกิดขึ้น
ฉับพลัน
ด้วยสาเหตุ
เดี่ยว
เกิดขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง
ด้วยสาเหตุ
ที่ซับซ้อน
เหตุการณ์
ซับซ้อน
เกิดจาก
หลาย
สาเหตุ
ร่วมกัน
พายุ
คลื่นความร้อน
พายุภัยหนาว (Freeze)
แผ่นดินไหว
(Earthquake)
ภูเขาไฟระเบิด
(Volcanic
eruption)
ภัยพิบัติ
DISASTE
R
ดินถล่ม (Landslide)
ภัยแล้ง (Drought)
น้าท่วม น้าหลาก (Flood)
โรคระบาด (Epidemic)
ไฟป่า (Wildfire)
สารเคมีรั่วไหล Collision
เรือแตก Shipwreck
มลพิษทางสิ่งแวดล้อม
(Environmental pollution)
สารเคมีรั่วไหล Collision
เรือแตก Shipwreck
มลพิษทางสิ่งแวดล้อม
(Environmental
pollution)
ความสามา
รถ
ในการ
รับมือไม่พอ
สงคราม (War)
วิกฤติเศรษฐกิจ
(Economic crisis)
กิจกรรมทีเราจะทาใน
วันนี้
1) สรุปเนื้อหา
2) แนวทางในประยุกต์
เพื่อปรับตัว
วงจรการจัดการสาธารณภัยสู่การสร้างใหม่ให้ดีกว่าและปลอดภัยกว่าเดิม (แผนชาติฯ ปภ., 2558)
วัฏจักรการ
จัดการภัย
DISASTER
PREPAREDNESS
RESCUE AND RELIEF
REHABILITATION AND RECONSTRUCTION
DAMAGE ANDNEEDS ASSESSMENT
HAZARD AND RISK REDUCTION
VULNERABILITY AND HAZARD ASSESSMENT
PREVENTIONAND MITIGATION
บฟ 2549)
วงจรบริหารจัดการภัยพิบัติเชิง
การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ
เราได้ความรู้และทักษะอะไรไปบ้าง
สัปดาห์ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
11 12 13 14
ความรู ้
ที่ได้
ทักษะที่ได้
Topic
ที่เรียน
คลาส
ครั้งนั้น
มันจะดี
ขึ้นถ้า
...
รู้สึกว่าได้มา
Level
ไหน
5
4
3
2
1
ถ้าคลาสครั้ง
นั้นได้หลายสิ่ง
แปะหลายแผ่น
ซ้อนกันได้
รู้สึกว่าได้มา
Level
ไหน
5
4
3
2
1
เช่น ครั้งนั้นควรปรับปรุงการจัดการกิจกรรมเรื่อง / เนื้อหาที่ "ควรตัดออก" / สิ่ง
้ ็ ญ
โ ์ ไ ใ ใ ใ GEN
• ้ " " ใ GEN
• ้ " ึ ใ ึ้ "
ใ GEN
มีเรื่องอื่นที่อยากจะบอกมั้ย (ที่ไม่ใช่ขอ A กันซื่อๆ) เช่น สัดส่วนการเก็บคะแนน
ที่เหมาะสม วิธีตัดเกรด ไม่อยากให้โชว์คะแนนฯลฯ
ใ GEN
( 1-10)
ใ GEN
้ใ ใ ( 1-10)
ใ ใ ้ ไ
เช่น แม่งเลิกช้าทุกที / มาลงเป็นทีมอย่างน้อย 5 คนขึ้นไป / ถ้าลงคนเดียวต้องมีความสามารถในการปรับตัวเข้ากับคน
อื่น / ไม่กลัวแดด พร้อมที่จะขยับตัวทากิจกรรมในห้องเรียน / วิชานี้ไม่เหมาะกับคนที่คิดจะมานั่งฟังอะไรเฉยๆ
เรียนวิชานี้ไปแล้ว
เราจะเตรียมพร้อมรับภัยได้อย่างไรบ้าง
ซ้อมบัญชาการเหตุรวม กรณี LANDSLIDE - เตือนภัย – จัดการของบริจาค – กู้ภัย กู้
การรู้คิด
(cognition)
การควบคุม
(control)
การสื่อสาร
(communication)
การประสาน
(coordinatio
n)
(Comfort,20
ต้องรู้ว่ากลไกของ
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นคือ
อะไร แล้วเราต้องทา
ตัวอย่างไรถึงจะปลอดภัย
- ต้องติดตามข้อมูลและแปลผลได้ว่า
จะต้องจัดการตัวเองยังไง
- ต้องสื่อสารกับคนอื่นได้ว่า จะต้อง
จัดการอะไรร่วมกันอย่างไรบ้าง
ต้องประสานงานกัน
รู้ว่าใครต้องประสานงานกับใคร
ร่วมกันทาให้สิ่งที่ต้องจัดการ
ร่วมกัน
การลงมือควบคุมภัยไม่ให้เกิดขึ้น หรือ
จัดการให้มันเกิดขึ้นในระดับที่รุนแรงน้อย
ที่สุด
โดยการลดปัจจัยที่เป็นสาเหตุหรือลดสิ่งที่
จะได้รับผลกระทบให้พร้อมที่จะเผชิญเหตุ
กรอบในการทางานข้ามหน่วยงานเพ
คุณลักษณะของภัยพิบัติ (Characteristic of
disaster)
1) ภัยพิบัติเป็ นสิ่งที่มีความต่อเนื่อง ภัยหลักก่อให้เกิดภัย
อื่นตามมา (compound hazards)
แผ่นดินทรุด ถนน
เกิดรอยแยก
มีรถจักรยานยนต์
ประสบอุบัติเหตุ
ตกไหล่ทาง
เขื่อนแม่สรวยมีรอยแยก
ชาวบ้านกังวลเรื่องเขื่อนแตก
จนต้องทาเวทีสาธารณะขอให้
ชลประทานกักเก็บน้าแค่ 40%
เป็นครั้งแรกที่อาคารถล่มในประเทศ
ไทยเนื่องจากแรงแผ่นดินไหว
อาคารเสียหายกว่า 1 หมื่น
ประชาชน-ร.พ. ต้องอพยพมาอยู่นอกอาคาร
เกิดปรากฏการณ์ทรายผุด
(liquefaction)
บ่อบาดาลหรือประปาหมู่บ้านเสียหาย ทา
ให้ผู้ประสบภัยขาดน้ากินน้าใช้
คุณลักษณะของภัยพิบัติ (Characteristic of
disaster)
2) ขอบเขตของพื้นที่ภัยพิบัติมักจะเป็ นไปสภาพ
ภูมิศาสตร ์
ไม่ใช่ตามขอบเขตการปกครอง (cross jurisdiction)
มีการระดมผู้เชี่ยวชาญข้ามสายงาน ข้ามพื้นที่
เข้ามาแก้ไขสถานการณ์ ในพื้นที่ต่อเนื่องกัน
จังหวัดเชียงรายประกาศพื้นที่ประสบภัยนี้กิน
วงกว้างถึง 7อาเภอ คือ อาเภอแม่ลาว อาเภอ
พาน อาเภอแม่สรวย อาเภอเมืองเชียงราย
อาเภอป่าแดด อาเภอพญาเม็งรายและอาเภอ
เวียงชัย
คุณลักษณะของภัยพิบัติ (Characteristic of
disaster)
3) ความเปราะบางสามารถทาให้ภัยพิบัติสามารถ
เพิ่มความรุนแรงได้ (different levels of vulnerabilities)
การสร้ างบ้ านเรือนที่ไม่ได้
อ อ ก แ บ บ ม า เ พื่ อ ท น กั บ
แรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดิน การ
ใช้วัสดุก่อสร้างที่คุณภาพไม่ได้
มาตรฐาน เป็นความเปราะบาง
ทางวิศวกรรมที่ทาให้ มีคน
บาดเจ็บและเสียชีวิต
คุณลักษณะของภัยพิบัติ (Characteristic of
disaster)
4) ภัยพิบัติจะก่อให้เกิดความโกลาหล (chaos)
ในเมืองเกิดความแตกตื่น ผู้คนวิ่งออกจากห้าง
ไปเอารถที่จอดไว้ที่ชั้นใต้ดินออกมาข้างนอก
ในหมู่บ้าน ประชาชนตกใจ ขวัญเสีย ไม่กล้าเข้าบ้าน ระบบสื่อสารถูกตัด
ขาด
มีข่าวลือ เช่น เขื่อนแตก สะพานขาด ภัยพิบัติซ้าเป็นระยะๆ
คุณลักษณะของภัยพิบัติ (Characteristic of
disaster)
5) ภัยพิบัติไม่แน่นอนและคาดการณ์ไม่ได้
(unpredictable and uncertainty) แผ่นดินไหวตาม (aftershock) ที่
เกิดขึ้นตามมาในแต่ละวัน แม้ผู้เชี่ยวชาญ
จะบอกได้ว่าขนาดของความแรงจะไม่
มากกว่า 6.3ริกเตอร์ แต่ก็ไม่มีใคร
สามารถบอกได้ว่าครั้งต่อจะมีขนาดเท่าไร
จะเกิดขึ้นที่จุดใด จะเกิดขึ้นในเวลาใด จะ
แรงแค่ไหน จะเกิดต่อไปยาวนานถึงวัน
ไหน aftershock ยังทาให้อาคาร
เสียหายกว่าเดิม
ข้อสอบปรนัย
1) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่กู้ชีพและเจ้าหน้าที่กู้ภัยของประเทศไทย มีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร (3 คะแนน)
2) จงวิเคราะห์ความเสี่ยงและการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ (7 คะแนน)
โรงเรียนบ้านน้าเค็ม เป็นโรงเรียนขนาดกลาง มีข้าราชการครู 17 คน ครูพี่เลี้ยงเด็กพิการ 1 คน ครูเจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน ครูอัตราจ้าง 4 คน พนักงานขับ
ขับรถ 1 คน และนักการภารโรง 1 คน เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีนักเรียนจานวน 228 คน
โรงเรียนบ้านน้าเค็ม ตั้งอยู่ในชุมชนบ้านน้าเค็ม หมู่ 2 ต.บางม่วง อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา สภาพภูมิศาสตร์เป็นที่ราบชายทะเล ชุมชนตั้งอยู่ห่างจากตัวตลาด
และอบต.บางม่วง บนถนนเพชรเกษม 3 กิโลเมตร (ดูแผนที่ชุมชนได้ในหน้าถัดไป)ชุมชนบ้านน้าเค็มเป็นชุมชนที่มีขนาดใหญ่มีพื้นที่ประมาณ 4,060 ไร่ สภาพ
เป็นพื้นที่ราบริมชายฝั่งอยู่สูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 2 เมตร หน้าหาดกว้าง 20 เมตร เป็นชายฝั่งทะเลเปิด ลักษณะชายฝั่งเช่นนี้มีความลาดชันน้อย
ชุมชนแห่งนี้เคยถูกคลื่นสึนามิซัดเข้าทาลายหมู่บ้านในวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ด้วยสภาพทางภูมิศาสตร์ที่เป็นชายหาด คลื่นสึนามิจึงเคลื่อนที่เข้าฝั่ง
ด้วยความเร็วสูง รุกเข้าชายฝั่งได้ไกล ชุมชนซึ่งมีการตั้งบ้านเรือนอย่างหนาแน่นจึงได้รับความเสียหายอย่างหนัก จากก่อนที่จะประสบภัยชุมชนบ้านน้าเค็มมีประชากร
4,197 คน หลังคลื่นสึนามิเข้าทาลายชุมชนบ้านน้าเค็มมีผู้เสียชีวิตและสูญหายประมาณ 2,000 คน ขณะเดียวกันคลื่นยักษ์ก็สร้างความเสียหายกับอาคารเรียน
ของโรงเรียนบ้านน้าเค็ม บ้านพักครู บ้านพักนักการภารโรง ห้องน้า ห้องส้วม วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ แต่โชคดีที่วันนั้นเป็นวันหยุดจึงไม่มีครูหรือนักเรียนที่ได้รับบาดเจ็บหรือ
เสียชีวิตที่โรงเรียน
ปัจจุบัน 14 ปีผ่านไป ชุมชนบ้านน้าเค็มมีทีมเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติที่มาจากผู้รอดชีวิตในอดีต และทีมงานของหมู่บ้านนี้ได้ทาให้ชุมชนบ้านน้าเค็มได้
ได้เป็นต้นแบบของชุมชนที่มีการจัดการภัยพิบัติโดยมีชุมชนเป็นฐาน แต่เด็กรุ่นหลังที่เกิดไม่ทันเหตุการณ์ ก็ไม่มีประสบการณ์ของการประสบภัย เด็กๆในอดีตที่เคย
ประสบภัยก็โตเป็นผู้ใหญ่ หลายความทรงจาเริ่มลางเลือนไป ครูและคนที่มาทางานในโรงเรียนส่วนใหญ่ก็เป็นคนต่างถิ่น ซากความเสียหายในหมู่บ้านก็ฟื้นคืนไปจน
แทบไม่เห็นร่องรอยเก่าๆ
โจทย์ข้อนี้จะถามว่า หากท่านได้เป็นครูประจาชั้นในโรงเรียนบ้านน้าเค็ม ท่านจะวิเคราะห์ความเสี่ยงของโรงเรียนจากคลื่นยักษ์สึนามิอย่างไร และจะ
โ
“ความเสียหาย” (Damage) คือผลกระทบที่เกิดขึ้น
โดยตรงกับทรัพย์สินทางกายภาพผลิตภัณฑ์วัตถุดิบเครื่องจักร
หรือว่าทรัพย์สินต่างๆ
“ความสูญเสีย” (Loss) คือสิ่งที่ลดลงหรือผลิตภัณฑ์
ที่เสียไปหรือโอกาสในการผลิตที่เสียไป ตัวอย่างเช่น การสูญเสีย
รายได้ การลดลงของประสิทธิภาพในการผลิตหรือการเพิ่มขึ้น
ของต้นทุนที่เป็นค่าเสียโอกาสจากช่วงเวลาที่เสียไป
การฟื้นฟูจาเป็นต้องมีการพิจารณาที่การประเมินความเสียหายและการรับความ
เสียหายกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกิดความเสียหาย ความเสียหายที่เกิดขึ้นทาง
กายภาพจึงต้องถูกประมวลออกมาเพื่อลดความสูญเสียที่จะตามมาเมื่อเวลาผ่านไป
การประเมินความเสียหายจากภัยพิบัติ
3 ระยะ
ระยะ ช่วงเวลา เป้ าหมายของการประเมินข้อมูล
ระยะที่
1
ช่วงเวลา 4-8 ชั่วโมง
หลังจากเกิดภัย
ต้องมีการระบุข้อมูลขอบเขตของภัยพิบัติที่
สร้างความเสียหายแก่พื้นที่ประสบภัย และความช่วยเหลือ
ที่คนภายนอกพื้นที่ทาได้
ระยะที่
2
ช่วง 7 วันหลังภาวะ
ฉุกเฉินกระทั่งชุมชนได้รับ
ความต้องการขั้นพื้นฐาน
ต้องทาข้อมูลความเสียหายทั้งหมด ได้แก่ ระดับความ
รุนแรงและตาแหน่งที่เกิดเหตุ เพื่อประมวล
กระบวนการประเมินความต้องการและการจัดสรร
ทรัพยากรไปยังจุดเกิดเหตุ เช่น อาหารน้าสะอาด การ
บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข พลังงาน สิ่งแวดล้อม
ระยะที่
3
ช่วง 21 วันหลังจากเกิด
เหตุ ซึ่งเป็นช่วงฟื้นฟูชุมชน
หลังภาวะฉุกเฉิน
ไปจนถึงช่วงพัฒนากิจกรรม
เตรียมพร้อมป้องกันภัย
ต้องทาข้อมูลในการบริการและการฟื้นฟู
เชิงโครงสร้างแก่พื้นที่ประสบภัยไปพร้อมกับการป้องกันภัย
ในลักษณะ build back better
การประเมินความต้องการ
■ fddggggd
Bow-Tie Model
ลักษณะพิเศษของ
ภัย
Multiple Hazards (natural and
man-made).
สาเหตุการเกิดที่หลากหลาย ทาให้ต้องการความรู้
ความสามารถ และความชานาญการเฉพาะด้าน
หลายๆด้านในการเตรียมพร้อม ป้องกัน แก้ไข และทา
ให้ภาวะที่ไม่พึงประสงค์อันเกิดจากภัยกลับสู่สภาพ
ลักษณะพิเศษของ
ภัย
Compound Hazards (earthquake
then fire).
ภัยอย่างหนึ่งอาจก่อให้เกิดภัยอีกอย่างหนึ่ง เช่น
แผ่นดินไหวทาให้เกิดไฟไผม้ แผ่นดินไหวทาให้เกิดสึนา
มิ น้าท่วมฉับพลันทาให้เกิดโคลนถล่มดินถล่ม ความกด
อากาศที่ผันแปรอย่างรุนแรงทาให้เกิดคลื่นสูง เป็นต้น
Unpredictable and Uncertainty
ภัยพิบัติบางอย่างไม่สามารถคาดการณ์ หรือเตือน
ล่วงหน้าได้อย่างสมบูรณ์ อย่างเช่นการเกิดแผ่นดินไหว
หรือหากแม้คาดการณ์ได้ ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเกิด
เช่นนั้นเสมอไป
ลักษณะพิเศษของ
ภัย
Different levels of vulnerabilities.
ระดับความอ่อนไหวในการเผชิญกับภัยที่แตกต่างกันของชุมชน
หน่วยงาน และประเทศ เนื่องจากระดับความรู้ในเรื่องภัย ความ
พร้อมของเครื่องมือ อุปกรณ์ และโครงสร้างพื้นฐาน ตลอดจน
การเตรียมพร้ อมชุมชนให้สามารถตอบสนองต่อภาวะที่
เปลี่ยนไปได้
ลักษณะพิเศษของ
ภัย
•Nonlinear เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่จาเป็นต้องเป็นลาดับก่อนหลังเสมอไป
และผลกระทบที่เกิดสามารถขยายผลได้เป็น
•Large Scale ภัยมีความสามารถพิเศษในการเกิดทั้งในพื้นที่เล็กๆจนถึง
เกิดทั่วโลก
•Chaos ภัยพิบัติส่งผลให้เกิดความโกลาหล และไม่สงบสุข ซึ่งกระทบต่อการ
จัดการและแก้ไข
•Disaster is Politics การเมืองเป็นสิ่งที่บรรเทาความรุนแรงจากภัย
พิบัติก็ได้ หรือเพิ่มความรุนแรงจากภัยพิบัติก็ได้
ลักษณะพิเศษของ
ภัย

Más contenido relacionado

Más de freelance

Más de freelance (20)

Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
 
Week 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterWeek 1 intro to disaster
Week 1 intro to disaster
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
 
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคงกลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
 
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรากลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
 

Week14 summarize disaster education class

  • 1.
  • 2.
  • 3. ชนิดของภัยพิบัติ Environmental Disaster and Management ธรรมชาติ เป็นผู้กระทา มนุษย์ เป็นผู้กระทา เหตุ ฉับพลัน สาเหตุเดี่ยว เกิดขึ้น ฉับพลัน ด้วยสาเหตุ เดี่ยว เกิดขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ด้วยสาเหตุ ที่ซับซ้อน เหตุการณ์ ซับซ้อน เกิดจาก หลาย สาเหตุ ร่วมกัน พายุ คลื่นความร้อน พายุภัยหนาว (Freeze) แผ่นดินไหว (Earthquake) ภูเขาไฟระเบิด (Volcanic eruption) ภัยพิบัติ DISASTE R ดินถล่ม (Landslide) ภัยแล้ง (Drought) น้าท่วม น้าหลาก (Flood) โรคระบาด (Epidemic) ไฟป่า (Wildfire) สารเคมีรั่วไหล Collision เรือแตก Shipwreck มลพิษทางสิ่งแวดล้อม (Environmental pollution) สารเคมีรั่วไหล Collision เรือแตก Shipwreck มลพิษทางสิ่งแวดล้อม (Environmental pollution) ความสามา รถ ในการ รับมือไม่พอ สงคราม (War) วิกฤติเศรษฐกิจ (Economic crisis)
  • 6. DISASTER PREPAREDNESS RESCUE AND RELIEF REHABILITATION AND RECONSTRUCTION DAMAGE ANDNEEDS ASSESSMENT HAZARD AND RISK REDUCTION VULNERABILITY AND HAZARD ASSESSMENT PREVENTIONAND MITIGATION บฟ 2549) วงจรบริหารจัดการภัยพิบัติเชิง การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ
  • 7. เราได้ความรู้และทักษะอะไรไปบ้าง สัปดาห์ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 ความรู ้ ที่ได้ ทักษะที่ได้ Topic ที่เรียน คลาส ครั้งนั้น มันจะดี ขึ้นถ้า ... รู้สึกว่าได้มา Level ไหน 5 4 3 2 1 ถ้าคลาสครั้ง นั้นได้หลายสิ่ง แปะหลายแผ่น ซ้อนกันได้ รู้สึกว่าได้มา Level ไหน 5 4 3 2 1 เช่น ครั้งนั้นควรปรับปรุงการจัดการกิจกรรมเรื่อง / เนื้อหาที่ "ควรตัดออก" / สิ่ง
  • 8. ้ ็ ญ โ ์ ไ ใ ใ ใ GEN • ้ " " ใ GEN • ้ " ึ ใ ึ้ " ใ GEN มีเรื่องอื่นที่อยากจะบอกมั้ย (ที่ไม่ใช่ขอ A กันซื่อๆ) เช่น สัดส่วนการเก็บคะแนน ที่เหมาะสม วิธีตัดเกรด ไม่อยากให้โชว์คะแนนฯลฯ
  • 9. ใ GEN ( 1-10) ใ GEN ้ใ ใ ( 1-10) ใ ใ ้ ไ เช่น แม่งเลิกช้าทุกที / มาลงเป็นทีมอย่างน้อย 5 คนขึ้นไป / ถ้าลงคนเดียวต้องมีความสามารถในการปรับตัวเข้ากับคน อื่น / ไม่กลัวแดด พร้อมที่จะขยับตัวทากิจกรรมในห้องเรียน / วิชานี้ไม่เหมาะกับคนที่คิดจะมานั่งฟังอะไรเฉยๆ
  • 11.
  • 12. การรู้คิด (cognition) การควบคุม (control) การสื่อสาร (communication) การประสาน (coordinatio n) (Comfort,20 ต้องรู้ว่ากลไกของ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นคือ อะไร แล้วเราต้องทา ตัวอย่างไรถึงจะปลอดภัย - ต้องติดตามข้อมูลและแปลผลได้ว่า จะต้องจัดการตัวเองยังไง - ต้องสื่อสารกับคนอื่นได้ว่า จะต้อง จัดการอะไรร่วมกันอย่างไรบ้าง ต้องประสานงานกัน รู้ว่าใครต้องประสานงานกับใคร ร่วมกันทาให้สิ่งที่ต้องจัดการ ร่วมกัน การลงมือควบคุมภัยไม่ให้เกิดขึ้น หรือ จัดการให้มันเกิดขึ้นในระดับที่รุนแรงน้อย ที่สุด โดยการลดปัจจัยที่เป็นสาเหตุหรือลดสิ่งที่ จะได้รับผลกระทบให้พร้อมที่จะเผชิญเหตุ กรอบในการทางานข้ามหน่วยงานเพ
  • 13. คุณลักษณะของภัยพิบัติ (Characteristic of disaster) 1) ภัยพิบัติเป็ นสิ่งที่มีความต่อเนื่อง ภัยหลักก่อให้เกิดภัย อื่นตามมา (compound hazards) แผ่นดินทรุด ถนน เกิดรอยแยก มีรถจักรยานยนต์ ประสบอุบัติเหตุ ตกไหล่ทาง เขื่อนแม่สรวยมีรอยแยก ชาวบ้านกังวลเรื่องเขื่อนแตก จนต้องทาเวทีสาธารณะขอให้ ชลประทานกักเก็บน้าแค่ 40% เป็นครั้งแรกที่อาคารถล่มในประเทศ ไทยเนื่องจากแรงแผ่นดินไหว อาคารเสียหายกว่า 1 หมื่น ประชาชน-ร.พ. ต้องอพยพมาอยู่นอกอาคาร เกิดปรากฏการณ์ทรายผุด (liquefaction) บ่อบาดาลหรือประปาหมู่บ้านเสียหาย ทา ให้ผู้ประสบภัยขาดน้ากินน้าใช้
  • 14. คุณลักษณะของภัยพิบัติ (Characteristic of disaster) 2) ขอบเขตของพื้นที่ภัยพิบัติมักจะเป็ นไปสภาพ ภูมิศาสตร ์ ไม่ใช่ตามขอบเขตการปกครอง (cross jurisdiction) มีการระดมผู้เชี่ยวชาญข้ามสายงาน ข้ามพื้นที่ เข้ามาแก้ไขสถานการณ์ ในพื้นที่ต่อเนื่องกัน จังหวัดเชียงรายประกาศพื้นที่ประสบภัยนี้กิน วงกว้างถึง 7อาเภอ คือ อาเภอแม่ลาว อาเภอ พาน อาเภอแม่สรวย อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอป่าแดด อาเภอพญาเม็งรายและอาเภอ เวียงชัย
  • 15. คุณลักษณะของภัยพิบัติ (Characteristic of disaster) 3) ความเปราะบางสามารถทาให้ภัยพิบัติสามารถ เพิ่มความรุนแรงได้ (different levels of vulnerabilities) การสร้ างบ้ านเรือนที่ไม่ได้ อ อ ก แ บ บ ม า เ พื่ อ ท น กั บ แรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดิน การ ใช้วัสดุก่อสร้างที่คุณภาพไม่ได้ มาตรฐาน เป็นความเปราะบาง ทางวิศวกรรมที่ทาให้ มีคน บาดเจ็บและเสียชีวิต
  • 16. คุณลักษณะของภัยพิบัติ (Characteristic of disaster) 4) ภัยพิบัติจะก่อให้เกิดความโกลาหล (chaos) ในเมืองเกิดความแตกตื่น ผู้คนวิ่งออกจากห้าง ไปเอารถที่จอดไว้ที่ชั้นใต้ดินออกมาข้างนอก ในหมู่บ้าน ประชาชนตกใจ ขวัญเสีย ไม่กล้าเข้าบ้าน ระบบสื่อสารถูกตัด ขาด มีข่าวลือ เช่น เขื่อนแตก สะพานขาด ภัยพิบัติซ้าเป็นระยะๆ
  • 17. คุณลักษณะของภัยพิบัติ (Characteristic of disaster) 5) ภัยพิบัติไม่แน่นอนและคาดการณ์ไม่ได้ (unpredictable and uncertainty) แผ่นดินไหวตาม (aftershock) ที่ เกิดขึ้นตามมาในแต่ละวัน แม้ผู้เชี่ยวชาญ จะบอกได้ว่าขนาดของความแรงจะไม่ มากกว่า 6.3ริกเตอร์ แต่ก็ไม่มีใคร สามารถบอกได้ว่าครั้งต่อจะมีขนาดเท่าไร จะเกิดขึ้นที่จุดใด จะเกิดขึ้นในเวลาใด จะ แรงแค่ไหน จะเกิดต่อไปยาวนานถึงวัน ไหน aftershock ยังทาให้อาคาร เสียหายกว่าเดิม
  • 18. ข้อสอบปรนัย 1) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่กู้ชีพและเจ้าหน้าที่กู้ภัยของประเทศไทย มีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร (3 คะแนน) 2) จงวิเคราะห์ความเสี่ยงและการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ (7 คะแนน) โรงเรียนบ้านน้าเค็ม เป็นโรงเรียนขนาดกลาง มีข้าราชการครู 17 คน ครูพี่เลี้ยงเด็กพิการ 1 คน ครูเจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน ครูอัตราจ้าง 4 คน พนักงานขับ ขับรถ 1 คน และนักการภารโรง 1 คน เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีนักเรียนจานวน 228 คน โรงเรียนบ้านน้าเค็ม ตั้งอยู่ในชุมชนบ้านน้าเค็ม หมู่ 2 ต.บางม่วง อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา สภาพภูมิศาสตร์เป็นที่ราบชายทะเล ชุมชนตั้งอยู่ห่างจากตัวตลาด และอบต.บางม่วง บนถนนเพชรเกษม 3 กิโลเมตร (ดูแผนที่ชุมชนได้ในหน้าถัดไป)ชุมชนบ้านน้าเค็มเป็นชุมชนที่มีขนาดใหญ่มีพื้นที่ประมาณ 4,060 ไร่ สภาพ เป็นพื้นที่ราบริมชายฝั่งอยู่สูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 2 เมตร หน้าหาดกว้าง 20 เมตร เป็นชายฝั่งทะเลเปิด ลักษณะชายฝั่งเช่นนี้มีความลาดชันน้อย ชุมชนแห่งนี้เคยถูกคลื่นสึนามิซัดเข้าทาลายหมู่บ้านในวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ด้วยสภาพทางภูมิศาสตร์ที่เป็นชายหาด คลื่นสึนามิจึงเคลื่อนที่เข้าฝั่ง ด้วยความเร็วสูง รุกเข้าชายฝั่งได้ไกล ชุมชนซึ่งมีการตั้งบ้านเรือนอย่างหนาแน่นจึงได้รับความเสียหายอย่างหนัก จากก่อนที่จะประสบภัยชุมชนบ้านน้าเค็มมีประชากร 4,197 คน หลังคลื่นสึนามิเข้าทาลายชุมชนบ้านน้าเค็มมีผู้เสียชีวิตและสูญหายประมาณ 2,000 คน ขณะเดียวกันคลื่นยักษ์ก็สร้างความเสียหายกับอาคารเรียน ของโรงเรียนบ้านน้าเค็ม บ้านพักครู บ้านพักนักการภารโรง ห้องน้า ห้องส้วม วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ แต่โชคดีที่วันนั้นเป็นวันหยุดจึงไม่มีครูหรือนักเรียนที่ได้รับบาดเจ็บหรือ เสียชีวิตที่โรงเรียน ปัจจุบัน 14 ปีผ่านไป ชุมชนบ้านน้าเค็มมีทีมเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติที่มาจากผู้รอดชีวิตในอดีต และทีมงานของหมู่บ้านนี้ได้ทาให้ชุมชนบ้านน้าเค็มได้ ได้เป็นต้นแบบของชุมชนที่มีการจัดการภัยพิบัติโดยมีชุมชนเป็นฐาน แต่เด็กรุ่นหลังที่เกิดไม่ทันเหตุการณ์ ก็ไม่มีประสบการณ์ของการประสบภัย เด็กๆในอดีตที่เคย ประสบภัยก็โตเป็นผู้ใหญ่ หลายความทรงจาเริ่มลางเลือนไป ครูและคนที่มาทางานในโรงเรียนส่วนใหญ่ก็เป็นคนต่างถิ่น ซากความเสียหายในหมู่บ้านก็ฟื้นคืนไปจน แทบไม่เห็นร่องรอยเก่าๆ โจทย์ข้อนี้จะถามว่า หากท่านได้เป็นครูประจาชั้นในโรงเรียนบ้านน้าเค็ม ท่านจะวิเคราะห์ความเสี่ยงของโรงเรียนจากคลื่นยักษ์สึนามิอย่างไร และจะ
  • 19.
  • 20. “ความเสียหาย” (Damage) คือผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยตรงกับทรัพย์สินทางกายภาพผลิตภัณฑ์วัตถุดิบเครื่องจักร หรือว่าทรัพย์สินต่างๆ “ความสูญเสีย” (Loss) คือสิ่งที่ลดลงหรือผลิตภัณฑ์ ที่เสียไปหรือโอกาสในการผลิตที่เสียไป ตัวอย่างเช่น การสูญเสีย รายได้ การลดลงของประสิทธิภาพในการผลิตหรือการเพิ่มขึ้น ของต้นทุนที่เป็นค่าเสียโอกาสจากช่วงเวลาที่เสียไป การฟื้นฟูจาเป็นต้องมีการพิจารณาที่การประเมินความเสียหายและการรับความ เสียหายกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกิดความเสียหาย ความเสียหายที่เกิดขึ้นทาง กายภาพจึงต้องถูกประมวลออกมาเพื่อลดความสูญเสียที่จะตามมาเมื่อเวลาผ่านไป
  • 21. การประเมินความเสียหายจากภัยพิบัติ 3 ระยะ ระยะ ช่วงเวลา เป้ าหมายของการประเมินข้อมูล ระยะที่ 1 ช่วงเวลา 4-8 ชั่วโมง หลังจากเกิดภัย ต้องมีการระบุข้อมูลขอบเขตของภัยพิบัติที่ สร้างความเสียหายแก่พื้นที่ประสบภัย และความช่วยเหลือ ที่คนภายนอกพื้นที่ทาได้ ระยะที่ 2 ช่วง 7 วันหลังภาวะ ฉุกเฉินกระทั่งชุมชนได้รับ ความต้องการขั้นพื้นฐาน ต้องทาข้อมูลความเสียหายทั้งหมด ได้แก่ ระดับความ รุนแรงและตาแหน่งที่เกิดเหตุ เพื่อประมวล กระบวนการประเมินความต้องการและการจัดสรร ทรัพยากรไปยังจุดเกิดเหตุ เช่น อาหารน้าสะอาด การ บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข พลังงาน สิ่งแวดล้อม ระยะที่ 3 ช่วง 21 วันหลังจากเกิด เหตุ ซึ่งเป็นช่วงฟื้นฟูชุมชน หลังภาวะฉุกเฉิน ไปจนถึงช่วงพัฒนากิจกรรม เตรียมพร้อมป้องกันภัย ต้องทาข้อมูลในการบริการและการฟื้นฟู เชิงโครงสร้างแก่พื้นที่ประสบภัยไปพร้อมกับการป้องกันภัย ในลักษณะ build back better
  • 24.
  • 25.
  • 26. ลักษณะพิเศษของ ภัย Multiple Hazards (natural and man-made). สาเหตุการเกิดที่หลากหลาย ทาให้ต้องการความรู้ ความสามารถ และความชานาญการเฉพาะด้าน หลายๆด้านในการเตรียมพร้อม ป้องกัน แก้ไข และทา ให้ภาวะที่ไม่พึงประสงค์อันเกิดจากภัยกลับสู่สภาพ
  • 27. ลักษณะพิเศษของ ภัย Compound Hazards (earthquake then fire). ภัยอย่างหนึ่งอาจก่อให้เกิดภัยอีกอย่างหนึ่ง เช่น แผ่นดินไหวทาให้เกิดไฟไผม้ แผ่นดินไหวทาให้เกิดสึนา มิ น้าท่วมฉับพลันทาให้เกิดโคลนถล่มดินถล่ม ความกด อากาศที่ผันแปรอย่างรุนแรงทาให้เกิดคลื่นสูง เป็นต้น
  • 28. Unpredictable and Uncertainty ภัยพิบัติบางอย่างไม่สามารถคาดการณ์ หรือเตือน ล่วงหน้าได้อย่างสมบูรณ์ อย่างเช่นการเกิดแผ่นดินไหว หรือหากแม้คาดการณ์ได้ ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเกิด เช่นนั้นเสมอไป ลักษณะพิเศษของ ภัย
  • 29. Different levels of vulnerabilities. ระดับความอ่อนไหวในการเผชิญกับภัยที่แตกต่างกันของชุมชน หน่วยงาน และประเทศ เนื่องจากระดับความรู้ในเรื่องภัย ความ พร้อมของเครื่องมือ อุปกรณ์ และโครงสร้างพื้นฐาน ตลอดจน การเตรียมพร้ อมชุมชนให้สามารถตอบสนองต่อภาวะที่ เปลี่ยนไปได้ ลักษณะพิเศษของ ภัย
  • 30. •Nonlinear เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่จาเป็นต้องเป็นลาดับก่อนหลังเสมอไป และผลกระทบที่เกิดสามารถขยายผลได้เป็น •Large Scale ภัยมีความสามารถพิเศษในการเกิดทั้งในพื้นที่เล็กๆจนถึง เกิดทั่วโลก •Chaos ภัยพิบัติส่งผลให้เกิดความโกลาหล และไม่สงบสุข ซึ่งกระทบต่อการ จัดการและแก้ไข •Disaster is Politics การเมืองเป็นสิ่งที่บรรเทาความรุนแรงจากภัย พิบัติก็ได้ หรือเพิ่มความรุนแรงจากภัยพิบัติก็ได้ ลักษณะพิเศษของ ภัย

Notas del editor

  1. - อธิบายบทบาทหน้าที่ของการบัญชาเหตุและการรับมือกับภาวะฉุกเฉิน ของเจ้าหน้าที่อยู่ในเหตุการณ์ ระดับความรุนแรง (ตาราง) ระดับไหน ใครบัญชาการอะไร รับคำสั่งใคร แนวทางการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่สนับสนุนการลดผลกระทบจากเหตุแผ่นดินไหวของจังหวัดเชียงราย การรับรู้ (cognition) หน่วยงานฝ่ายปกครองและท้องถิ่นจังหวัดควรมีการเปิดกว้างทางวัฒนธรรม มีทัศนคติในการมองว่าท้องถิ่นมีความเข้มแข็งและสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีความตื่นตัวที่จะการจัดการภัยพิบัติในเชิงรุกเพื่อลดความเสี่ยงในพื้นที่ของตัวเองด้วยการจัดการตนเอง EOC ระดับจังหวัดควรให้ความสำคัญกับการมองภาพรวมของสถานการณ์ในแต่ละช่วง โดยปรับเปลี่ยนให้มีการถอดบทเรียนระหว่างการดำเนินงาน เพื่อออกแบบ-ปรับปรุงวิธีปฏิบัติงานจากการสะท้อนบทเรียนเป็นระยะ โดยให้ความสำคัญกับการสะท้อนปัญหาที่เกิดขึ้นในขณะนั้น แล้วแก้ไขสถานการณ์ที่เป็นอยู่ ไม่ใช่ถอดบทเรียนตอนสุดท้ายเพื่อนำไปแก้ปัญหาครั้งถัดไป การสื่อสาร (communication) ด้านระบบข้อมูล สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประจำจังหวัดควรมีระบบฐานข้อมูลมาตรฐานส่วนกลางไว้ล่วงหน้า โดยออกแบบ Platform ของระบบข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด - ตำบล ร่วมกันบันทึกข้อมูลระดับ-รายละเอียดความเสียหาย แบ่งปันและเชื่อมโยงข้อมูลให้ทุกหน่วยงานผสานเป็นระบบเดียวกันได้ โดยระบบดังกล่าวนี้ควรจัดให้มี “ระบบหนังสือรับรองความเสียหาย” ซึ่งท้องถิ่นสามารถออกหนังสือรับรองความเสียหายให้แต่ละหลังคาเรือนสำหรับเป็นหลักฐานรับรองไม่ให้เกิดการแจกจ่ายซ้ำซ้อน ซึ่งฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิคส์ควรจะถูกใช้ในการจัดการข้อมูลการสำรวจความเสียหาย การประสานงาน (coordination) ควรจะมีการเสวนาบทบาทหน้าที่ เพิ่มความเข้าใจของแต่ละหน่วย ว่าเวลาเกิดเหตุฉุกเฉิน ในภาวะวิกฤติแต่ละหน่วยควรจะลงพื้นที่อย่างไร ควรจะทำเรื่องอะไร โดยนำบทเรียนจากการรับมือกับเหตุฉุกเฉินที่ได้มาเรียนรู้ร่วมกัน แล้วนำปัญหาตรงนั้นมาปรับปรุงแก้ไขให้เกิดการดำเนินงานที่เป็นเอกภาพ มีการส่งข้อมูลเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ ทั้งระดับพื้นที่ระดับผู้เชี่ยวชาญ EOC ระดับจังหวัดซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์บัญชาการส่วนกลางควรจะทำหน้าที่จับคู่ (matching) หรือ อุดช่องว่างการบริจาคให้ตรงตามความต้องการ เป็นตัวกลางในการระดม-ประสานทรัพยากรจากผู้บริจาคภาคเอกชนกระจายลงไปยังพื้นที่ โดยควรจะมีระบบที่ทำหน้าที่เป็นกองหลัง รับข้อมูลความต้องการทรัพยากรของทุกหน่วยงานเข้ามา แล้วประสานสิ่งของที่ได้จากกองหลัง ให้หน่วยงานที่เป็นกองหน้าเอาทรัพยากรไปใช้ หน่วยงานระดับท้องถิ่นจะต้องทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการแก้ไขข้อขัดแย้ง ทั้งให้ผู้บริจาคแจ้งภารกิจและที่หมายก่อนที่จะลงไปบริจาค และทำให้ประชาชนเข้าใจระบบการจัดการของบริจาค รวมถึงสร้างค่านิยมในการจัดการตนเองแก่ชุมชนพื้นที่เสี่ยงภัยด้วย     การควบคุม (control) ผู้ปฏิบัติงานของ ปภ.ศูนย์เขตหรือ ปภ.จังหวัดที่อยู่ที่ศูนย์ปฏิบัติการส่วนหน้าในพื้นที่ประสบภัยควรจะเป็นพี่เลี้ยงให้กับผู้นำของท้องถิ่นและประชาชน ในการจัดระบบความช่วยเหลือ การจัดระบบของบริจาค เริ่มจากจัดระบบข้อมูลความเสียหาย-ความต้องการ ควรมีสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับอำเภอเป็นหน่วยงานถาวรที่ทำหน้าที่กองอำนวยการระดับอำเภอ ที่มีทั้งอำนาจ มีทรัพยากรและมีบุคคลากรที่ทำหน้าที่จัดการข้อมูล ในการทำแผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้สอดคล้องกันทุกระดับ หน่วยท้องถิ่นอำเภอและตำบลเสนอว่า ควรจะเริ่มจากหน่วยจังหวัดทำแผนระดับจังหวัดให้เสร็จก่อน จากนั้นจึงแบ่งปันข้อมูลให้หน่วยอำเภอนำข้อมูลท้องถิ่นมาผสานกับแผนระดับจังหวัดให้เกิดแนวทางที่สามารถปฏิบัติได้จริง สำหรับหน่วยงานระดับตำบล – องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรจะได้รับการฝึกซ้อมรับมือภัยพิบัติร่วมกับหน่วยงานระดับจังหวัด โดยการฝึกซ้อมควรเกิดขึ้นพร้อมกับการอบรมพัฒนาศักยภาพในหลักสูตร full scale 3-5 วันต่อเนื่อง โดยมีหน่วยประสานระดับจังหวัดจัดการอบรมให้ทั่วถึงทุกตำบล ในระดับหมู่บ้าน-ตำบล ควรมีกองทุนภัยพิบัติ เพื่อสนับสนุนการร่วมคิดร่วมทำโดยตั้งคณะกรรมการกองทุนเข้ามาทำกิจกรรมและพัฒนาฐานข้อมูลตำบลจากผู้ที่ได้รับความเสียหายในเหตุการณ์ครั้งที่ผ่านมา ด้านปัญหาในการบริหารจัดการภัยพิบัติระดับจังหวัด โครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิคมีอิทธิพลต่อ ความยืดหยุ่นขององค์กร และความยืดหยุ่นขององค์กรก็มีผลต่อการเปิดกว้างทางวัฒนธรรม ซึ่งการเปิดกว้างทางวัฒนธรรมก็ส่งผลกลับมาที่โครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิค ส่วนการผลต่อการนำนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยไปปฏิบัติในระดับตำบลโดยใช้ตัวแบบกระจายอำนาจนั้นพบว่า ผลสำเร็จฯ ได้รับอิทธิพลจากเงื่อนไขทางสภาพแวดล้อมขององค์กรมากที่สุด โดยทรัพยากรขององค์กรเป็นปัจจัยที่อิทธิพลทางบวกต่อเงื่อนไขทางสภาพแวดล้อมขององค์กรมากที่สุด ขณะที่การบริหารจัดการสาธารณภัยในครั้งนี้ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรมีอิทธิพลทางลบต่อเงื่อนไขทางสภาพแวดล้อมและสมรรถนะของหน่วยงาน ส่วนการบริหารจัดการในระดับหมู่บ้านนั้น การประสานงานระหว่างหน่วยงานมีอิทธิพลต่อการควบคุมความเสี่ยงจากภัยพิบัติมากที่สุด ซึ่งการดำเนินงานควบคุมฯนั้นส่งผลส่งต่อไปสู่การรับรู้ความเสี่ยง และการสื่อสารต่อกันครบเป็นวงจร
  2. เร่งด่วน 24 ชั่วโมงแรก การค้นหาและกู้ภัย - การอพยพ / การจัดสรรที่พักอาศัยชั่วคราว อาหาร / น้ำ - ระบบข้อมูล / ระบบประชาสัมพันธ์ ระยะสั้น 7 วันแรก ความปลอดภัย - พลังงาน (เชื้อเพลิง ความร้อน แสงสว่าง) สุขอนามัย - การจัดการศพ ผู้เสียชีวิต ข้อมูลผู้สูญหาย ระยะกลาง 1 เดือนแรก การปกป้องผู้ประสบภัยทั้งทางกายภาพและทางกฎหมาย - การหารายได้ – การจ้างงาน – อาชีพ ระบบขนส่งสาธารณะ (โครงข่ายการขนส่งทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ) ระบบสื่อสารสาธารณะ (ระบบสายส่งและระบบไร้สาย) การฟื้นคืนโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพของสิ่งก่อสร้าง ระยะยาว 3 เดือนแรก การศึกษา / เกษตรกรรม / สิ่งแวดล้อม สรุปผล - การชดเชย / เยียวยา / การซ่อมสร้าง - การฟื้นฟูความเสียหายให้กลับมาดังเดิม (rehabilitation) - การเตรียมพร้อมป้องกันภัย (Prevention and Preparedness)