SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
Descargar para leer sin conexión
ประวัติ อัลเบิร์ต แบนดูรา (Albert Bandura) 
อัลเบิร์ต แบนดูราเกิดที่เมืองอัลเบอร์ตา ประเทศแคนาดา ได้รับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยบริติช โคลัมเบีย และได้รับปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตและปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางจิตวิทยา คลินิก จากมหาวิทยาลัยไอโอวา (University of Iowa) เขาสนใจทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมจากการศึกษากับ เคนเนธ สเปนซี (Kenneth Spence) และรอเบิร์ต เซียร์ส (Robert Sears) หลังจากจบการศึกษาในปี 1952 แบนดูราเข้าฝึกงานที่ศูนย์แนะแนววิชิตา (Wichita Guidance Center) เป็นเวลา 1 ปี ก่อนที่จะรับตาแหน่งที่ ภาควิชาจิตวิทยา ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University) และทางานที่นี่มาโดยตลอด แบนดูนา แตกต่างจากนักพฤติกรรมนิยมสุดขั้ว (radical behaviorist) จานวนมาก เขามองว่าปัจจัยทางด้านการรู้คิด (cognitive factor) เป็นสาเหตุของพฤติกรรมของมนุษย์ งานวิจัยของเขาด้านทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมให้ ความสนใจปฏิกิริยาระหว่างการรู้คิด พฤติกรรม และสิ่งแวดล้อม 
งานของแบนดูราส่วนใหญ่มุ่งเน้นที่การได้มาซึ่งความรู้ (acquisition) และการปรับเปลี่ยนลักษณะ บุคลิกภาพของเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่ได้รับผลกระทบจากการเรียนรู้โดยการสังเกต (observational learning) หรือการดูตัวแบบ(modeling) ซึ่งเขาชื่อว่าการเรียนรู้รูปแบบนี้มีบทบาทสาคัญในการกาหนด พฤติกรรมที่เกิดขึ้นตามมา ความรู้ที่ว่าเด็กเรียนรู้โดยการเลียนแบบผู้อื่นเป็นสิ่งที่รู้กันอยู่แล้ว แต่มีการวิจัยเพียง เล็กน้อยในเรื่องนี้ ก่อนที่นีล มิลเลอร์ (Neal Miller) และจอห์น ดอลลาร์ด (John Dollard) จะตีพิมพ์หนังสือ เรื่อง Social Learning and Imitation ออกมาในปี 1941 
แบนดูราได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้สร้างพื้นฐานของข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มั่นคงในมโนทัศน์เรื่องการ เรียนรู้โดยการดูตัวแบบ หรือการเลียนแบบ งานของเขา ซึ่งมุ่งเน้นเป็นพิเศษในเรื่องธรรมชาติของความ ก้าวร้าว เสนอว่าการดูตัวแบบแสดงบทบาทสาคัญในการกาหนดความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรม แบนดูรา บอกว่าในทางปฏิบัติแล้ว อะไรก็ตามที่สามารถเรียนรู้ได้จากประสบการณ์ตรง ก็สามารถเรียนรู้ได้จากการดูตัว แบบเช่นกัน ยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้โดยการดูตัวแบบจะเกิดขึ้น ไม่ว่าผู้สังเกตหรือตัวแบบจะได้รับรางวัลจาก การกระทานั้นๆ หรือไม่ก็ตาม ซึ่งต่างจากรูปแบบการเรียนรู้ของนักพฤติกรรมนิยม เช่น อีวาน พาฟลอฟ (Ivan Pavlov) หรือบี.เอฟ. สกินเนอร์ (B.F. Skinner) ที่มุ่งเน้นการเรียนรู้จากการวางเงื่อนไขและการเสริมแรง
อย่างไรก็ตาม การเรียนรู้โดยการดูตัวแบบก็แสดงให้เห็นว่า การลงโทษหรือการเสริมแรงสามารถส่งผลต่อ สถานการณ์ของการเลียนแบบ เด็กจะพร้อมเลียนแบบผู้ที่ได้รับรางวัลมากกว่าผู้ที่ถูกลงโทษ ดังนั้น เด็กเรียนรู้ ได้โดยที่ตนเองไม่ต้องได้รับรางวัลหรือการลงโทษ แนวคิดนี้มีชื่อว่า การเรียนรู้จากผู้อื่น (vicarious learning) เช่นเดียวกัน แบนดูราแสดงให้เห็นว่า เมื่อตัวแบบถูกเสนอด้วยสิ่งเร้าที่ต้องการวางเงื่อนไข ผู้ที่สังเกตเหตุการณ์ นี้ โดยที่ไม่จาเป็นต้องมีส่วนร่วมโดยตรง จะมีแนวโน้มที่จะถูกวางเงื่อนไขไปด้วย 
แบนดูราพัฒนาการดูตัวแบบขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือในการบาบัด ซึ่งวางพื้นฐานอยู่บนงานวิจัยของเขา ผู้ป่วยได้รับการสนับสนุนให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง โดยการพิจารณาและเลียนแบบพฤติกรรมของผู้ บาบัด แม้ว่าตอนแรกการดูตัวแบบจะทาการศึกษาในกลุ่มเด็ก แต่พบว่าวิธีการนี้ก็ได้ผลในการรักษาโรคกลัวใน ผู้ใหญ่ด้วยเช่นกัน ตอนแรกผู้ป่วยจะดูตัวแบบสัมผัสกับสิ่งที่พวกเขากลัว ภายใต้สภาวะที่ไม่มีการคุกคาม จากนั้นผู้ป่วยจะได้รับการสนับสนุนให้กระทาตามตัวแบบ และสถานการณ์จะเริ่มคุกคามมากขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งผู้ป่วยสามารถเผชิญหน้ากับสิ่งของหรือประสบการณ์ที่พวกเขากลัวได้ด้วยตนเอง 
นอกจากนี้ แบนดูรายังให้ความสาคัญกับความสามารถของมนุษย์ในการสร้างสัญลักษณ์ (symbolization) ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการดูตัวแบบแบบผกผัน (inverse modeling) ในการใช้ ความสามารถในเชิงสัญลักษณ์ คนเราจะสร้างตัวแบบภายใน (internal modeling) ขึ้นมา เพื่อเป็นสนาม จาลองของการวางแผน การแก้ปัญหา และการใคร่ครวญ และแม้กระทั่งเอื้ออานวยการสื่อสารกับผู้อื่น อีก แง่มุมหนึ่งของทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมที่แบนดูราทาการสารวจก็คือ self-regulatory activity หรือการที่ มาตรฐานภายในส่งผลต่อแรงจูงใจและพฤติกรรม เขาศึกษาผลของความเชื่อของคนเราเกี่ยวกับตนเอง ต่อ ความคิด การเลือก ระดับแรงจูงใจ ความพากเพียร และความอ่อนไหวต่อความเครียดและความซึมเศร้า 
แบนดูราแต่งหนังสือไว้เป็นจานวนมาก ได้แก่ Adolescent Aggression (1959), Social Learning and Personality (1963), Principles of Behavior Modification (1969), Aggression (1973), Social Learning Theory (1977), and Social Foundations of Thought and Action (1985) เป็นต้น 
การเรียนรู้โดยการสังเกตหรือเลียนแบบของเด็ก 
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมนี้ เป็นแนวคิดของ แบนดูรา (Bandara 1977: 16 อ้างถึงใน ภัทรธิรา ผล งาม. 2544 หน้า 28) ซึ่งมีความเชื่อว่าพฤติกรรมมนุษย์ นอกเหนือจากปฏิกิริยาสะท้อนเบื้องต้นแล้ว เกิดจาก การเรียนรู้ทั้งสิ้น และการเรียนรู้พฤติกรรมใหม่เหล่านั้นสามารถเรียนรู้ได้โดยประสบการณ์ตรงหรือไม่ก็โดยการ สังเกต องค์ประกอบทางชีววิทยามีบทบาทสาคัญในกระบวนการเรียนรู้โดยพฤติกรรม นั้นก็ คือองค์ประกอบ ในตัวบุคคลมีบทบาทสาคัญในการเรียนรู้พฤติกรรม ในการอธิบายกระบวนการเกิดพฤติกรรมของมนุษย์ 
แบนคูราได้อธิบายรูปของการมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันอย่างต่อเนื่องระหว่างพฤติกรรม องค์ประกอบ ส่วนบุคคลและองค์ประกอบทางสิ่งแวดล้อม โดยที่องค์ประกอบทั้ง 3 นี้จะมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน 
พฤติกรรมองค์ประกอบส่วน บุคคลและองค์ประกอบทางสิ่งแวดล้อม มีอิทธิพลซึ่งกันและกัน กล่าวคือ พฤติกรรมของมนุษย์สามารถกาหนดสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมก็สามารถกาหนด พฤติกรรม พฤติกรรม สามารถกาหนดองค์ประกอบส่วนบุคคล องค์ประกอบส่วนบุคคลก็สามารถกาหนดพฤติกรรมได้เช่นกัน ใน ทานองเดียวกัน องค์ประกอบทาง สิ่งแวดล้อมและองค์ประกอบส่วนบุคคลก็มีอิทธิพลซึ่งกันและกัน 
แบนดูรา ได้กล่าวถึงตัวกาหนดพฤติกรรมว่า มี 2 ประการ คือ ตัวกาหนดพฤติกรรมที่เป็นสิ่งเร้า ซึ่ง ได้แก่เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อมการเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆในสิ่งแวดล้อมซ้า ๆ มนุษย์จะคาดการณ์ ไว้ว่า ถ้ามีเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้นจะมีเหตุการณ์อะไรตามมาและตัวกาหนดพฤติกรรมอีกประการหนึ่ง
คือ ตัวกาหนดที่เป็นผล ซึ่งได้แก่ผลของการกระทามนุษย์จะเลือกกระทาพฤติกรรมที่ ได้รับผลทางบวก และ จะหลีกการกระทาพฤติกรรมที่จะได้รับผลทางลบ 
วิธีการเรียนรู้พฤติกรรมของมนุษย์ แบนลูราได้กล่าวว่า วิธีการเรียนรู้พฤติกรรมของมนุษย์มี 2 วิธี คือ การเรียนจากผลของการกระทา และวิธีการเรียนรู้จากการเลียนแบบ โดยที่การเรียนรู้จากผลของการ กระทาเป็นการ เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ซึ่งจะทาหน้าที่ 3 ประการ คือให้ข้อมูล จูงใจ และ เสริมแรง ส่วน การเรียนรู้จากการเลียนแบบเป็นการเรียนรู้จากการสังเกตตัวแบบกระทา พฤติกรรม ซึ่งเป็นการเรียนรู้จาก ประสบการณ์ทางอ้อม การเรียนรู้จากตัวแบบอาศัย กระบวนการเรียนรู้จากการสังเกตเป็นผลสาคัญ ซึ่งต้อง อาศัยองค์ประกอบที่สาคัญ 4 ประการ คือ กระบวนการใส่ใจกระบวนการเก็บจา กระบวนการทางกาย และ กระบวนการจูงใจ 
นอกจากนี้ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมแบนดูรา ยังได้กล่าวถึงการควบคุมพฤติกรรมด้วยปัญญาไว้ว่า การเรียนรู้ความสัมพันธ์ระหว่าง พฤติกรรมและผลของการกระทาจะอยู่ในรูปของความเชื่อและความคาดหวัง ซึ่งเป็น กระบวนการทางปัญญา ความเชื่อและความหวังนี้จะทาหน้าที่ควบคุมหรือกากับการ กระทาของมนุษย์ ในเวลาต่อมา การควบคุมพฤติกรรมด้วยปัญญาที่สาคัญที่เกี่ยวข้อง 3 ประการ คือ ความเชื่อเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ เงื่อนไข การคาดหวังเกี่ยวกับความสามารถ ของตนเองและผลที่จะเกิดขึ้นและสิ่งจูงใจ 
ในการศึกษาครั้งนี้ ใช้แนวคิดของแบนดูรา เพื่อเป็นพื้นฐาน ในการกาหนดตัวแปรเกรดเฉลี่ย จาก แนวคิดว่า สติปัญญาเป็นตัวควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ 
ผลงานวิชาการ 
Bandura มีผลงานทางวิชาการมากมายไม่ว่าจะเป็นงานวิจัยเขียนบทความทางวิชาการ และตารา ส่วนใหญ่ก็จะเป็นการเขียนเพื่อเสนอแนวคิดของเขาและรวบรวมงานวิจัยที่เขาได้ทามาเช่น 
- Principle of Behavior Modification, 
- Social Learning Theory 
- Social Foundations of Though and Action 
อ้างอิง : http://www.gotoknow.org/posts/458173. สืบค้น : วันที่ 21 สิงหาคม 2557

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟsuraidabungasayu
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)joongka3332
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง0804900158
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3Thanawut Rattanadon
 
โครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ
โครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติโครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ
โครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติDota00961
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1pageใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 

La actualidad más candente (20)

แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)
 
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
 
โครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ
โครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติโครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ
โครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1pageใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 

Destacado

ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูราRoiyan111
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้masaya_32
 
Albert bandura
Albert     banduraAlbert     bandura
Albert banduraya035
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์Roiyan111
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์suraidabungasayu
 
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสันทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน7roommate
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3Dee Arna'
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 
ทฤษฎีของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีของโคลเบิร์กทฤษฎีของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีของโคลเบิร์กNusaiMath
 
ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสำหรับคนไทย
ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสำหรับคนไทยทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสำหรับคนไทย
ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสำหรับคนไทยPhawinee Sakollawan
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learningเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative LearningUtai Sukviwatsirikul
 
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์กsasiwan_memee
 
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์6Phepho
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurstya035
 
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิค
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิคทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิค
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิคsopapon
 
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟนพณัฐ อินทร์จันทร์
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 

Destacado (20)

ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Albert bandura
Albert     banduraAlbert     bandura
Albert bandura
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสันทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ จอห์น บี วัตสัน
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
ทฤษฎีของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีของโคลเบิร์กทฤษฎีของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีของโคลเบิร์ก
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสำหรับคนไทย
ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสำหรับคนไทยทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสำหรับคนไทย
ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสำหรับคนไทย
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learningเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
 
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
 
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
Original havighurst
Original havighurstOriginal havighurst
Original havighurst
 
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิค
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิคทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิค
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบคลาสสิค
 
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 

Similar a ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม

วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education Weerachat Martluplao
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
9789740335146
97897403351469789740335146
9789740335146CUPress
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817CUPress
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมPadvee Academy
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 

Similar a ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม (11)

วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
Group 4
Group 4Group 4
Group 4
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
9789740335146
97897403351469789740335146
9789740335146
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยมปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน ทัศนะต่อโลกของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 

ทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม

  • 1. ประวัติ อัลเบิร์ต แบนดูรา (Albert Bandura) อัลเบิร์ต แบนดูราเกิดที่เมืองอัลเบอร์ตา ประเทศแคนาดา ได้รับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยบริติช โคลัมเบีย และได้รับปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตและปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางจิตวิทยา คลินิก จากมหาวิทยาลัยไอโอวา (University of Iowa) เขาสนใจทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมจากการศึกษากับ เคนเนธ สเปนซี (Kenneth Spence) และรอเบิร์ต เซียร์ส (Robert Sears) หลังจากจบการศึกษาในปี 1952 แบนดูราเข้าฝึกงานที่ศูนย์แนะแนววิชิตา (Wichita Guidance Center) เป็นเวลา 1 ปี ก่อนที่จะรับตาแหน่งที่ ภาควิชาจิตวิทยา ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University) และทางานที่นี่มาโดยตลอด แบนดูนา แตกต่างจากนักพฤติกรรมนิยมสุดขั้ว (radical behaviorist) จานวนมาก เขามองว่าปัจจัยทางด้านการรู้คิด (cognitive factor) เป็นสาเหตุของพฤติกรรมของมนุษย์ งานวิจัยของเขาด้านทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมให้ ความสนใจปฏิกิริยาระหว่างการรู้คิด พฤติกรรม และสิ่งแวดล้อม งานของแบนดูราส่วนใหญ่มุ่งเน้นที่การได้มาซึ่งความรู้ (acquisition) และการปรับเปลี่ยนลักษณะ บุคลิกภาพของเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่ได้รับผลกระทบจากการเรียนรู้โดยการสังเกต (observational learning) หรือการดูตัวแบบ(modeling) ซึ่งเขาชื่อว่าการเรียนรู้รูปแบบนี้มีบทบาทสาคัญในการกาหนด พฤติกรรมที่เกิดขึ้นตามมา ความรู้ที่ว่าเด็กเรียนรู้โดยการเลียนแบบผู้อื่นเป็นสิ่งที่รู้กันอยู่แล้ว แต่มีการวิจัยเพียง เล็กน้อยในเรื่องนี้ ก่อนที่นีล มิลเลอร์ (Neal Miller) และจอห์น ดอลลาร์ด (John Dollard) จะตีพิมพ์หนังสือ เรื่อง Social Learning and Imitation ออกมาในปี 1941 แบนดูราได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้สร้างพื้นฐานของข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มั่นคงในมโนทัศน์เรื่องการ เรียนรู้โดยการดูตัวแบบ หรือการเลียนแบบ งานของเขา ซึ่งมุ่งเน้นเป็นพิเศษในเรื่องธรรมชาติของความ ก้าวร้าว เสนอว่าการดูตัวแบบแสดงบทบาทสาคัญในการกาหนดความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรม แบนดูรา บอกว่าในทางปฏิบัติแล้ว อะไรก็ตามที่สามารถเรียนรู้ได้จากประสบการณ์ตรง ก็สามารถเรียนรู้ได้จากการดูตัว แบบเช่นกัน ยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้โดยการดูตัวแบบจะเกิดขึ้น ไม่ว่าผู้สังเกตหรือตัวแบบจะได้รับรางวัลจาก การกระทานั้นๆ หรือไม่ก็ตาม ซึ่งต่างจากรูปแบบการเรียนรู้ของนักพฤติกรรมนิยม เช่น อีวาน พาฟลอฟ (Ivan Pavlov) หรือบี.เอฟ. สกินเนอร์ (B.F. Skinner) ที่มุ่งเน้นการเรียนรู้จากการวางเงื่อนไขและการเสริมแรง
  • 2. อย่างไรก็ตาม การเรียนรู้โดยการดูตัวแบบก็แสดงให้เห็นว่า การลงโทษหรือการเสริมแรงสามารถส่งผลต่อ สถานการณ์ของการเลียนแบบ เด็กจะพร้อมเลียนแบบผู้ที่ได้รับรางวัลมากกว่าผู้ที่ถูกลงโทษ ดังนั้น เด็กเรียนรู้ ได้โดยที่ตนเองไม่ต้องได้รับรางวัลหรือการลงโทษ แนวคิดนี้มีชื่อว่า การเรียนรู้จากผู้อื่น (vicarious learning) เช่นเดียวกัน แบนดูราแสดงให้เห็นว่า เมื่อตัวแบบถูกเสนอด้วยสิ่งเร้าที่ต้องการวางเงื่อนไข ผู้ที่สังเกตเหตุการณ์ นี้ โดยที่ไม่จาเป็นต้องมีส่วนร่วมโดยตรง จะมีแนวโน้มที่จะถูกวางเงื่อนไขไปด้วย แบนดูราพัฒนาการดูตัวแบบขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือในการบาบัด ซึ่งวางพื้นฐานอยู่บนงานวิจัยของเขา ผู้ป่วยได้รับการสนับสนุนให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง โดยการพิจารณาและเลียนแบบพฤติกรรมของผู้ บาบัด แม้ว่าตอนแรกการดูตัวแบบจะทาการศึกษาในกลุ่มเด็ก แต่พบว่าวิธีการนี้ก็ได้ผลในการรักษาโรคกลัวใน ผู้ใหญ่ด้วยเช่นกัน ตอนแรกผู้ป่วยจะดูตัวแบบสัมผัสกับสิ่งที่พวกเขากลัว ภายใต้สภาวะที่ไม่มีการคุกคาม จากนั้นผู้ป่วยจะได้รับการสนับสนุนให้กระทาตามตัวแบบ และสถานการณ์จะเริ่มคุกคามมากขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งผู้ป่วยสามารถเผชิญหน้ากับสิ่งของหรือประสบการณ์ที่พวกเขากลัวได้ด้วยตนเอง นอกจากนี้ แบนดูรายังให้ความสาคัญกับความสามารถของมนุษย์ในการสร้างสัญลักษณ์ (symbolization) ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการดูตัวแบบแบบผกผัน (inverse modeling) ในการใช้ ความสามารถในเชิงสัญลักษณ์ คนเราจะสร้างตัวแบบภายใน (internal modeling) ขึ้นมา เพื่อเป็นสนาม จาลองของการวางแผน การแก้ปัญหา และการใคร่ครวญ และแม้กระทั่งเอื้ออานวยการสื่อสารกับผู้อื่น อีก แง่มุมหนึ่งของทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมที่แบนดูราทาการสารวจก็คือ self-regulatory activity หรือการที่ มาตรฐานภายในส่งผลต่อแรงจูงใจและพฤติกรรม เขาศึกษาผลของความเชื่อของคนเราเกี่ยวกับตนเอง ต่อ ความคิด การเลือก ระดับแรงจูงใจ ความพากเพียร และความอ่อนไหวต่อความเครียดและความซึมเศร้า แบนดูราแต่งหนังสือไว้เป็นจานวนมาก ได้แก่ Adolescent Aggression (1959), Social Learning and Personality (1963), Principles of Behavior Modification (1969), Aggression (1973), Social Learning Theory (1977), and Social Foundations of Thought and Action (1985) เป็นต้น การเรียนรู้โดยการสังเกตหรือเลียนแบบของเด็ก ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมนี้ เป็นแนวคิดของ แบนดูรา (Bandara 1977: 16 อ้างถึงใน ภัทรธิรา ผล งาม. 2544 หน้า 28) ซึ่งมีความเชื่อว่าพฤติกรรมมนุษย์ นอกเหนือจากปฏิกิริยาสะท้อนเบื้องต้นแล้ว เกิดจาก การเรียนรู้ทั้งสิ้น และการเรียนรู้พฤติกรรมใหม่เหล่านั้นสามารถเรียนรู้ได้โดยประสบการณ์ตรงหรือไม่ก็โดยการ สังเกต องค์ประกอบทางชีววิทยามีบทบาทสาคัญในกระบวนการเรียนรู้โดยพฤติกรรม นั้นก็ คือองค์ประกอบ ในตัวบุคคลมีบทบาทสาคัญในการเรียนรู้พฤติกรรม ในการอธิบายกระบวนการเกิดพฤติกรรมของมนุษย์ แบนคูราได้อธิบายรูปของการมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันอย่างต่อเนื่องระหว่างพฤติกรรม องค์ประกอบ ส่วนบุคคลและองค์ประกอบทางสิ่งแวดล้อม โดยที่องค์ประกอบทั้ง 3 นี้จะมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน พฤติกรรมองค์ประกอบส่วน บุคคลและองค์ประกอบทางสิ่งแวดล้อม มีอิทธิพลซึ่งกันและกัน กล่าวคือ พฤติกรรมของมนุษย์สามารถกาหนดสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมก็สามารถกาหนด พฤติกรรม พฤติกรรม สามารถกาหนดองค์ประกอบส่วนบุคคล องค์ประกอบส่วนบุคคลก็สามารถกาหนดพฤติกรรมได้เช่นกัน ใน ทานองเดียวกัน องค์ประกอบทาง สิ่งแวดล้อมและองค์ประกอบส่วนบุคคลก็มีอิทธิพลซึ่งกันและกัน แบนดูรา ได้กล่าวถึงตัวกาหนดพฤติกรรมว่า มี 2 ประการ คือ ตัวกาหนดพฤติกรรมที่เป็นสิ่งเร้า ซึ่ง ได้แก่เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อมการเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆในสิ่งแวดล้อมซ้า ๆ มนุษย์จะคาดการณ์ ไว้ว่า ถ้ามีเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้นจะมีเหตุการณ์อะไรตามมาและตัวกาหนดพฤติกรรมอีกประการหนึ่ง
  • 3. คือ ตัวกาหนดที่เป็นผล ซึ่งได้แก่ผลของการกระทามนุษย์จะเลือกกระทาพฤติกรรมที่ ได้รับผลทางบวก และ จะหลีกการกระทาพฤติกรรมที่จะได้รับผลทางลบ วิธีการเรียนรู้พฤติกรรมของมนุษย์ แบนลูราได้กล่าวว่า วิธีการเรียนรู้พฤติกรรมของมนุษย์มี 2 วิธี คือ การเรียนจากผลของการกระทา และวิธีการเรียนรู้จากการเลียนแบบ โดยที่การเรียนรู้จากผลของการ กระทาเป็นการ เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ซึ่งจะทาหน้าที่ 3 ประการ คือให้ข้อมูล จูงใจ และ เสริมแรง ส่วน การเรียนรู้จากการเลียนแบบเป็นการเรียนรู้จากการสังเกตตัวแบบกระทา พฤติกรรม ซึ่งเป็นการเรียนรู้จาก ประสบการณ์ทางอ้อม การเรียนรู้จากตัวแบบอาศัย กระบวนการเรียนรู้จากการสังเกตเป็นผลสาคัญ ซึ่งต้อง อาศัยองค์ประกอบที่สาคัญ 4 ประการ คือ กระบวนการใส่ใจกระบวนการเก็บจา กระบวนการทางกาย และ กระบวนการจูงใจ นอกจากนี้ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมแบนดูรา ยังได้กล่าวถึงการควบคุมพฤติกรรมด้วยปัญญาไว้ว่า การเรียนรู้ความสัมพันธ์ระหว่าง พฤติกรรมและผลของการกระทาจะอยู่ในรูปของความเชื่อและความคาดหวัง ซึ่งเป็น กระบวนการทางปัญญา ความเชื่อและความหวังนี้จะทาหน้าที่ควบคุมหรือกากับการ กระทาของมนุษย์ ในเวลาต่อมา การควบคุมพฤติกรรมด้วยปัญญาที่สาคัญที่เกี่ยวข้อง 3 ประการ คือ ความเชื่อเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ เงื่อนไข การคาดหวังเกี่ยวกับความสามารถ ของตนเองและผลที่จะเกิดขึ้นและสิ่งจูงใจ ในการศึกษาครั้งนี้ ใช้แนวคิดของแบนดูรา เพื่อเป็นพื้นฐาน ในการกาหนดตัวแปรเกรดเฉลี่ย จาก แนวคิดว่า สติปัญญาเป็นตัวควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ ผลงานวิชาการ Bandura มีผลงานทางวิชาการมากมายไม่ว่าจะเป็นงานวิจัยเขียนบทความทางวิชาการ และตารา ส่วนใหญ่ก็จะเป็นการเขียนเพื่อเสนอแนวคิดของเขาและรวบรวมงานวิจัยที่เขาได้ทามาเช่น - Principle of Behavior Modification, - Social Learning Theory - Social Foundations of Though and Action อ้างอิง : http://www.gotoknow.org/posts/458173. สืบค้น : วันที่ 21 สิงหาคม 2557