SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 48
เกี่ยวกับเห็ดฟาง
 เห็ดฟางมีชื่อเรียกเป็นภาษาไทยอีกชื่อหนึ่งว่า เห็ดบัว มี
ชื่อสามัญว่า Straw Mushroom หรือ Paddy Mushroom มีชื่อ
วิทยาศาสตร์ว่า Volvariella volvaceae เมื่อก่อนเห็ดชนิดนี้จะ
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติใน กองเปลือกบัว จึงได้ชื่อว่า
เห็ดบัว แต่ต่อมาพบเห็ดชนิดนี้ตามกองฟาง จึงมีชื่อเรียกอีก
ชื่อหนึ่งว่า เห็ดฟาง และเรียกเห็ดฟางกันมาจนถึงปัจจุบัน
สาระทั่วไป
เห็ดฟางจัดเป็นเห็ดเศรษฐกิจที่สาคัญชนิดหนึ่งของคนไทยและเป็นเห็ดที่
คนไทยนิยมบริโภคมากที่สุด เพราะเห็ดฟางมีรสชาติอร่อย มีคุณค่าทางอาหารสูง
เมื่อเปรียบเทียบกับพืชผักชนิดอื่น โดยเฉพาะพวกโปรตีน วิตามิน เกลือแร่ ให้
พลังงานและไขมันต่า สามารถนามาปรุงเป็นอาหารได้หลายชนิด เช่น ต้มยาเห็ด
ฟาง ผัดเห็ดฟาง แกงเผ็ดเห็ดฟาง ยาเห็ดฟาง เห็ดฟางนึ่งกับปลา ฯลฯ เป็นต้น
และสามารถนามาปรุงร่วมกับอาหารชนิดอื่นได้ดีและมีรสชาติอร่อย ทาให้ผลผลิต
เห็ดฟางประมาณร้อยละ 90 ใช้บริโภคภายในประเทศ และส่วนใหญ่นิยมบริโภค
เห็ดฟางสด ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตเห็ดฟางยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของ
ตลาด และมีแนวโน้มความต้องการเห็ดฟางยังมีเพิ่มมากขึ้นตามจานวนประชากร
ที่เพิ่มขึ้นด้วย
 เห็ดฟางนับเป็นเห็ดชนิดแรกที่สามารถนามาเพาะได้ซึ่งเป็นผลมาจาก
การศึกษาค้นคว้าทดลองของ อาจารย์ ดร. ก่าน ชลวิจารณ์ และท่าน
ได้พัฒนาเทคนิคและวิธีการเพาะเห็ดฟางให้มีประสิทธิภาพตามลาดับ
จนกระทั่งปัจจุบันการเพาะเห็ดฟางสามารถทาได้ง่าย ไม่ยุ่งยากต่อการ
ปฏิบัติ ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการเพาะไม่มากนัก ใช้ระยะเวลาในการเพาะสั้น
ใช้ต้นทุนต่าแต่ให้ผลตอบแทนสูงและเร็ว อีกทั้งตลาดมีความต้องการเห็ด
ฟางในปริมาณที่สูงมากและต่อเนื่อง ปัจจุบันจึงมีผู้นิยมเพาะเห็ดฟางกัน
มากขึ้นตามลาดับ
วัสดุและอุปกรณ์มีดังนี้
 ทะลายปาล์ม และวัสดุอื่นๆ ที่หาได้ในชุมชน
 เชื้อก้อนเห็ด และอาหารเห็ด
 ผ้ายางพลาสติกสีดาขนาดกว้าง 2 เมตร
 ผ้าสไบ หรือผ้าเต้นท์
 วัสดุประเภทไม้ไผ่
 ถุงทราย
 เชือก
ทะลายปาล์ม
เชื้อก้อนเห็ด และอาหารเสริม
ผ้ายางพลาสติกสีดาขนาดกว้าง 2 เมตร
ไม้ไผ่สาหรับขึ้นโครง
ขั้นตอนการเพาะเห็ดฟางจาก....
....ทะลายปาล์ม....
ขั้นตอนที่ 1
นาทะลายปาล์มมากองไว้ แล้วนาน้ามารดทะลายปาล์ม
ให้เปียกชุ่มแล้วใช้ผ้าเต้นคลุมทับไว้ ประมาณ 5 – 7 วัน
เพื่อให้ทะลายปาล์ม เกิดความนุ่ม และไม่ให้เกิดเป็นเชื้อรา
ขั้นตอนที่ 2
นาทะลายปาล์มที่หมักได้ที่แล้ว มาเรียงวางเป็นร่อง
ซึ่งขนาดกว้างของร่อง ประมาณ 3-4 ทะลายปาล์ม ความยาว
พอประมาณ ตามความต้องการ
การเรียงทะลายปาล์ม
การเรียงทะลายปาล์ม
การเรียงทะลายปาล์ม
การเรียงทะลายปาล์ม
ขั้นตอนที่ 3.
นำน้ำมำรดบนร่องที่วำงทะลำยปำล์มไว้เรียบร้อยแล้ว
เพื่อให้ชุ่ม และเหยียบย่ำเพื่อล้ำงน้ำมันในทะลำยปำล์ม
ขั้นตอนที่ 4
นาก้อนเชื้อเห็ดมายุ่ยให้ละเอียดแล้วผสมกับอาหารเสริม
และคลุกเคล้าให้เข้ากันดี
ก้อนเชื้อ
อาหารเสริม
ผสมอาหารเสริมกับเชื้อเห็ด
- เทอาหารเสริมผสม
กับเชื้อเห็ด
- คลุกเคล้าให้เข้ากัน
เชื้อเห็ดฟางที่ผสมอาหารเสริมเรียบร้อยแล้ว
ขั้นตอนที่ 5
นำเชื้อเห็ดที่ผสมกับอำหำรเสริมเรียบร้อยแล้วนำมำหว่ำน
ลงบนร่องที่เตรียมไว้แล้ว
หมายเหตุ: เมื่อหว่านเชื้อเห็ดเสร็จแล้วพรหมน้าลง
บนเชื้อเห็ดเพื่อให้เชื้อเห็ดเกาะกับทะลายปาล์ม
ขั้นตอนที่ 6
นาผ้ายางพลาสติกสีดามาคลุบทับไว้บนร่อง
ประมาณ 4-5 วัน เพื่อควบคุมอุณหภูมิ
ขั้นตอนที่ 7
 เมื่อครบจานวน 4-5 วันแล้ว
เปิดผ้ายางพลาสติกสีดาออก
แล้วใช้ไม้ไผ่ ซึ่งมีขนาดความ
ยาวประมาณ 180 เซนติเมตร
นามาผ่าเป็นซี่ๆให้ได้ขนาด
ตามความต้องการ แล้วนามา
โก่งบนร่อง แบบคันธนู เพื่อ
เป็นโครง ใช้เชือกขึงระหว่าง
โครงไม้ไผ่ให้ตึง
แล้วนาผ้ายางพลาสติกสีดา มาคลุมทับไว้ด้านบนโครงไม้ไผ่
แล้วนาถุงทรายมาวางทับรอบๆ ผ้ายางที่คลุมไว้ประมาณ 5-7
วัน จึงจะได้เก็บผลผลิตหรือดอกเห็ด
เมื่อเห็ด.....ออกดอก
เห็ด..... กาลังออกดอก
เห็ด..... กาลังออกดอก
เห็ด.....กาลังออกดอก
เห็ด..... กาลังออกดอก
การเก็บผลผลิต ( ดอกเห็ด )
เมื่อเห็ดงอกแล้ว และได้ขนาดตามความ
ต้องการเก็บ ใช้มีดที่คมตัดที่โคนของดอกเห็ดเพื่อ
ไม่ให้เห็ดช้า แล้วนามาตัดแต่งอีกครั้งเพื่อเอาเศษ
ทะลายปาล์มและสิ่งสกปรกออกไปจากดอกเห็ด
แล้วส่งขายตลาด
การเก็บผลผลิต
การเก็บผลผลิต
การเก็บผลผลิต
ดอกเห็ดที่เก็บเสร็จใหม่ ๆ........
ดอกเห็ดที่พร้อมจะนาขาย.....
ดอกเห็ดที่บรรจุพร้อมจะนาขาย.....
ระยะเวลาในการเก็บผลผลิต
สามารถเก็บผลผลิตได้ ประมาณ 20-25 วัน
เคล็ดลับที่ทาให้การเพาะเห็ดฟางได้ประสบความสาเร็จ คือ
 1.ลักษณะภูมิอากาศและฤดูกาล คือ อุณหภูมิต้อง
พอเหมาะ
 2.ก้อนเชื้อเห็ดนามาค้างไว้เกิน 3 วัน
 3.การเก็บเห็ด ดอกที่เก็บได้ต้องเก็บให้หมด ต้องตัดโคนเห็ด
มาด้วย หากตัดไม่หมดจะเกิดเชื้อราทาให้ดอกเห็ดที่เหลือเน่า
โรคและศัตรูเห็ดฟาง
หอยทากกัดกินดอกเห็ดทาให้เสียรูปทรง
ไวรัสประเภทเชื้อรา ทาให้ผิวของเห็ดไม่ราบเรียบ
ไรปาล์มเป็นแมลงตัวเล็กๆ ทาให้ราคาญขณะเก็บเกี่ยว
หมายเหตุ:
ปัญหาดังกล่าวไม่ได้สร้างความเสียหาย
มากมาย จึงไม่ต้องกาจัดหรือใช้สารเคมี
ใดๆ
Thank you
งบประมาณ
 ค่าทะลายปาล์ม รถละ 3,800.00 บาท
 ค่าก้อนเชื้อก้อนละ 13 บาท (ทะลายปาล์ม 1 รถ ใช้160 ก้อน) = 2,080
บาท
 ค่าแผ่น PE พลาสติกสีดา ม้วนละ 550 บาท (ใช้ประมาณรถละ 3 ม้วน)
เป็นเงินประมาณ 1,650 บาท
 อาหารเสริมถุงละ 30 บาท ( ใช้รถละประมาณ 17 ถุง) = 510 บาท
รวมค่าใช้จ่ายต่อแปลงโดยประมาณ = 8,040 บาท
สถานที่ถ่ายทา
ฟาร์มเห็ดของคุณอนันต์สุดตรง
98/3 ม.1 ต. เขาพระ อ.รัตภูมิ
จ.สงขลา 90180

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
Kobchai Khamboonruang
 

La actualidad más candente (12)

คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
บท2
บท2บท2
บท2
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
ภูมิแพ้
ภูมิแพ้ภูมิแพ้
ภูมิแพ้
 
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
 
ยาชุด
ยาชุดยาชุด
ยาชุด
 
ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
พืชC3 c4
พืชC3 c4พืชC3 c4
พืชC3 c4
 
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
4.3 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชานิติเวชศาสตร์
 
S&P CRM campaign
S&P CRM campaignS&P CRM campaign
S&P CRM campaign
 

เพาะเห็ดฟางโดยใช้ทะลายปาล์ม