SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
Descargar para leer sin conexión
สังคมไทย

     ลักษณะของสังคมไทย
     1. เปนสังคมเกษตรกรรม
     2. มีการศึกษาตํ่า
     3. มีความรักความผูกพันในถิ่นกําเนิด
     4. ยึดมันในขนบธรรมเนียมประเพณี
             ่
     5. มีโครงสรางทางสังคมที่มีชนชั้น
     6. เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย
     ลักษณะของสังคมเมือง
     1. มีความหนาแนนของประชากรมาก
     2. ความสัมพันธระหวางสมาชิกเปนแบบทุติยภูมิ
     3. มีระดับการศึกษาสูง
     4. มีอาชีพหลากหลาย และรายไดสูง
     5. มีมาตรฐานการครองชีพสูง
     6. มีการแขงขันกันสูง
     7. มีความตื่นตัวทางการเมืองสูง
     8. มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเร็ว
     ลักษณะของสังคมชนบท
     1. มีอาชีพทางการเกษตรกรรมมาก
     2. มีการพึ่งพาธรรมชาติมาก
     3. ยึดมันในขนบธรรมเนียมประเพณี
             ่
     4. มีความสัมพันธกันแบบปฐมภูมิ
     5. มีชีวิตความเปนอยูคลายๆ กัน
     ลักษณะของสิ่งที่เปนปญหาสังคม
     1. เปนสภาวการณท่สมาชิกในสังคมไมพงปรารถนา
                          ี             ึ
     2. มีผลกระทบตอคนเปนจํานวนมาก
     3. มีความตองการที่จะปรับปรุงแกไข




             สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร   15
ตัวอยางที่เปนปญหาสังคมไทย ไดแก
                     ปญหาความยากจน
                     ปญหาการกระจายรายได
                     ปญหาการฉอราษฎรบังหลวง
                     ปญหายาเสพติดใหโทษ
                     ปญหาการวางงาน
                     ปญหาสิ่งแวดลอม
                     ปญหาโรคเอดส

        การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทย แบงไดดังนี้คือ
        1. เปลี่ยนแปลงครั้งกอน ร.4 แตเดิมเชื่อถือผีสาง เทวดา พวกผีฟาหรือตอนรับทุกศาสนาเขามา
เปลียนเปนเทวดา นําไปสูการเชื่อถือเรื่องวิญญาณ สูประเพณี เชน เผาเทียน เลนไฟ พอมาสมัยอยุธยา
    ่
ความสัมพันธระหวางพระมหากษัตริยกับประชาชน เปลี่ยนจากพอกับลูกมาเปน นาย–บาว ใหชายเปน
ใหญในครอบครัว
        2. หลัง ร.4 อารยธรรมตะวันตกเขามา ผูหญิงเริ่มมีบทบาทมากขึ้น มีอํานาจทางบานเรือนมากขึ้น
เปลี่ยนสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม
        3. การเปลี่ยนทางสังคมและวัฒนธรรมปจจุบัน อิทธิพลตะวันตกยิ่งมาก ความเชื่ออุดมการณก็
เปลียนไป ความเทาเทียมมีมากขึ้น ความสัมพันธในครอบครัวลดลงแตถึงอยางไร ความรักความอบอุนใน
      ่
ครอบครัวยังเปนปจจัยสําคัญตอเยาวชนและวัฒนธรรมของชาติอยางมาก
        การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
        สุโขทัย พอปกครองลูก มีพอขุนเปนผูนํา รับผิดชอบทุกดาน ประชาชนมีหนาที่ทําตาม ความ
สัมพันธใกลชิด
        อยุธยา เปนแบบเทวราชา หรือสมมุตเิ ทพ มีการปกครองแบบจตุสดมภ มีผรบผิดชอบคือจตุสดมภ เวี
                                                                       ู ั
ยง วัง คลัง นา
        สมัยรัตนโกสินทร ปกครองแบบเทวราชา ตอนตนแบบอยุธยา จนถึง ร.5 จึงมีการปฏิรูปสังคม
เศรษฐกิจและปกครอง จัดระเบียบตามตะวันตก จน พ.ศ. 2475 จึงเปลี่ยนการปกครองจากสมบูรณา-
ญาสิทธิราชมาเปนประชาธิปไตย โดยคณะราษฎรแบงอํานาจเปน 3 ฝาย
            –       บริหาร – รัฐบาลรับผิดชอบ
            –       นิติบัญญัติ – ออกกฎหมายโดยรัฐสภา
            –       ตุลาการ – ใหความยุติธรรมโดยศาล

                สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร                                    16
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ แบงเปนมีแบบแผน และไมมีแบบแผน
1. ไมมีแบบแผน ตังแตอยุธยา – พ.ศ.2504
                      ้
 2. มีแบบแผน หลัง พ.ศ.2504 เมือมีการจัดตั้งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
                                   ่
    ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2504 – 2509) เปาหมายใหมีรายไดเพิ่มขึ้น ลงทุนดานเศรษฐกิจพื้นฐาน
    ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2510 – 2514) เปาหมายเพิ่มรายไดจาก 7.2 เปน 8.5/ป เนนพัฒนาสังคม มี
       การใชคําวา สังคม เปนครั้งแรก เปลี่ยนผูรับผิดชอบจาก คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ
       เปน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
    ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2515 – 2519) เปาหมายเพิ่มผลผลิตทางผลิตภัณฑภายในประเทศ แตผลออก
       มาตํากวาเปาหมาย เนนนโยบายประชากร สงเสริมการสรางงาน เนื่องจากการผันเงินของ
            ่
       ระบบของโลก ตั้งแต 2514 คาเงินลดลง และเงินเฟอ
    ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520 – 2524) เปาหมายสรางเสถียรภาพเศรษฐกิจใหมนคง ปรับปรุงผลผลิตทาง
                                                                     ั่
       เกษตรและอุตสาหกรรมเพื่อการสงออก ยกรายไดของประชากร
    ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525 – 2529) เนนพัฒนาชนบทโดยเฉพาะภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียง
       เหนือ และภาคใต ฉบับนี้ลดภาวะเงินเฟอ เพราะเศรษฐกิจโลกดีขึ้น
    ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2530 – 2534) เนนแกปญหาสังคม ความยากจน การวางงาน หนี้สิน เพิ่มการ
       ขยายตัวทางเศรษฐกิจ เพิ่มรายไดของประชาชน สงเสริมการลงทุน และเพิ่มปริมาณการสง
       ออกและทองเที่ยว
    ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2536 – 2539) เนนรักษาความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับสูงอยาง
       ตอเนื่อง เอื้ออํานวยตอการกระจายรายได ลดชองวางเมืองระหวางชนบทกับเมือง และการ
       วางงานคอนขางมาก รวมทั้งเจาหนาที่การจัดการตางๆ
    ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540 – 2544) เนนการพัฒนาทางดานสังคมมากกวาทางดานเศรษฐกิจ โดย
       เฉพาะการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยการขยายการศึกษาภาคบังคับเปน 9 ป และการศึกษา
       ขันพืนฐานเปน 12 ป ตลอดจนรักษาการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางมีเสถียรภาพและตอ
         ้ ้
       เนื่อง เนนการบริหารแบบมีสวนรวมระหวางรัฐ เอกชน และชุมชน
แนวโนมของเศรษฐกิจ
1. เศรษฐกิจ – ชนบทและเมืองจะตางกันมากขึ้นในดานรายได
2. เสียเปรียบดุลการคาตอเนื่อง เนื่องจากสั่งวัสดุเขามามาก
3. แรงงานเกษตรจะเปนแรงงานอุตสาหกรรมมากขึ้น รายไดดีมากกวา
4. ชนบทมีพื้นที่ทํากินนอยลง เนื่องจากการขยายตัวทางอุตสาหกรรม
5. สังคมเนนจากเกษตรเปนอุตสาหกรรม
6. ใชเครื่องจักรกลมากขึ้น แรงงานลดความสําคัญลง
7. เนนทักษะมากขึ้น
8. คมนาคมขยายตัวอยางมาก


         สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร                                   17
แนวโนมดานสังคม
       1. มีความเปนปจเจกชนมากขึ้น เนนสวนบุคคลมากกวาสวนรวม
       2. เสมอภาค หญิงเลี้ยงตัวเองได
       3. ครอบครัวแตกแยกมากขึ้น
       4. วัยรุนมีพฤติกรรมตางไปจากเดิม
       5. ยังยึดถือโชคลาง แตเปนการแขงขัน
       6. มีคานิยมในดานสรางปญหา เชน เห็นแกเงิน นิยมตางชาติ
             

       แนวโนมดานการเมือง
       1. มีสวนรวมทางการเมืองมากขึ้นทุกรูปแบบ โดยผานการเลือกตั้ง
              
       2. มีประชาธิปไตยมากขึ้น
       3. ขาดแรงกระตุนใหสรางผูนาอยางแทจริง ประชากรไมคอยสนใจการเมือง
                                    ํ
       4. เปนนักปฏิบัติมากกวานักอุดมการณ ใชอารมณตัดสิน แตหากเกิดปญหามักจะมีผูแกไขเสมอ
          มา ดังอยุธยาไมสิ้นคนดี
       5. คนมีฐานะจะมีสวนรวมการเมืองมากขึ้น เพราะมีเงินและพวกมาก

                                             แบบทดสอบ
จงเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
1. วัตถุประสงคเบื้องตนของสถาบันทางสังคม คือขอใด
      1. การทําใหสมาชิกปฏิบัติตามสถานภาพ
      2. การใหสมาชิกเชื่อมโยงกัน ใหสังคมดํารงอยูได
      3. การสรางระบบการแบงงานและหนาที่ใหแกสมาชิกในสังคม
      4. การตอบสนองความตองการของสมาชิก และการดํารงอยูของสังคม
2. สถาบันใดที่ถือวาเปนสถาบันขั้นมูลฐานที่ทําหนาที่ในการผลิตใหความรูการบริโภค และการ
    อบรมใหเปนพลเมืองดี
      1. สถาบันการศึกษา                          2. สถาบันศาสนา
      3. สถาบันการปกครอง                         4. สถาบันครอบครัว
3. หนาที่ขอใดที่สถาบันครอบครัวทําไดดีกวาสถาบันอื่น
      1. การกําหนดสถานภาพ
      2. การสืบทอดทางวัฒนธรรม
      3. การใหการเรียนรูทางสังคม
      4. การใหความรักความอบอุน

                สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร                                       18
4. ถาพิจารณาในความสัมพันธทางหนาที่ของบรรดาสถาบันตาง ๆ ในสังคมไทยปจจุบัน สถาบัน
    พืนฐานใดที่มีหนาที่โดยตรงตอการสรางเปาหมายและผดุงรักษาแบบแผนตาง ๆ ทางสังคม
      ้
        1. สถาบันครอบครัว                           2. สถาบันการศึกษา
        3. สถาบันการปกครอง                          4. สถาบันการเมืองการปกครอง
5. ครอบครัวเดี่ยวจะเห็นไดชัดในสังคมใด
        1. สังคมภูธร                                2. สังคมเมือง
        3. สังคมชนบท                                4. สังคมเกษตร
6. สถาบันสําคัญในโครงสรางสังคมชนบทคือขอใด
        1. ครอบครัว ศาสนา การศึกษา
        2. ศาสนา นันทนาการ เศรษฐกิจ
        3. ครอบครัว นันทนาการ ศาสนา
        4. ครอบครัว ศาสนา การปกครอง
7. พฤติกรรมเฉพาะเจาะจงที่คาดหวังใหบุคคลแสดงออกตามฐานะของบุคคลนั้น คืออะไร
        1. บทบาท                                    2. คานิยม
        3. บรรทัดฐาน                                4. จารีต
8. ความเห็นรวมกันของคนสวนใหญในสังคมที่เห็นวาเปนสิ่งดี เปนสิ่งสําคัญเปนสิ่งที่สังคม
    พึงปรารถนา หมายถึงขอใด
        1. วิถีประชา                                2. บทบาท
        3. คานิยม                                  4. สถาบันสังคม
9. คานิยมที่เปนอุปสรรคตอการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย คือขอใด
        1. ความมัธยัสถ                             2. ความนิยมไทย
        3. ความเอื้อเฟอเผื่อแผ                   4. ความเชื่อในชะตากรรม
10. ขอใดถูกตองที่สุด
        1. สังคมไทยเปนกลุมชนที่มวฒนธรรมและเชื้อชาติเดียวกันเทานั้น
                                    ีั
        2. สังคมไทยคือกลุมชนที่มีเชื้อชาติและสถาบันเดียวกันมารวมอยู ณ บริเวณเดียวกัน
        3. สังคมไทยคือชนทุกชั้นทุกภาษาที่มารวมกันโดยไมมีความแตกตางทางดานวัฒนธรรม
        4. สังคมไทยคือชนทุกกลุมที่ใชชีวิตอยูรวมกันโดยมีวัฒนธรรมไทยเปนพื้นฐานในการดําเนินในชีวิต
11. ขอใดคือพื้นฐานวัฒนธรรมดั้งเดิมของไทย
        1. กสิกรรมที่ราบลุมแมนํ้า                 2. พระพุทธศาสนา
        3. ศาสนาพรหมณ                              4. การติดตอคาขายกับสังคมอื่น
12. ปจจุบันสังคมไทยมีลักษณะเปนไปตามขอใด
        1. เจาขุนมูลนาย                            2. ไมมีการแบงชนชั้น
        3. พหุวฒนธรรม
                 ั                                  4. ศักดินาอุปถัมภ

                สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร                                     19
13. ขอใดไมใชลกษณะทีเ่ ห็นไดชัดในชุมชนชนบท
                  ั
      1. มีความรวมมือกันเพื่อความอยูรอด           2. มีการเคลื่อนที่ทางสังคมในแนวนอน
      3. มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม                  4. มีการประกอบอาชีพเฉพาะดานนอย
14. สิงที่บงชี้ไดวาเปนปญหาสังคม คือขอใด
       ่
      1. นักวิชาการเห็นวาเปนปญหาที่ควรแกไข
      2. คนจํานวนมากในสังคมเห็นพองกันวาเปนปญหาควรแกไข
      3. รัฐบาลระบุวาเปนปญหากําหนดไวในแผนพัฒนาประเทศ
      4. สถานการณใดก็ตามที่เปนปญหาทําใหแตละบุคคลเดือดรอน
15. ขอใดไมถือวาเปนปญหาสังคมสําหรับสังคมไทย
      1. วัยรุนติดยาเสพติด                         2. การมีภรรยานอยของผูชายไทย
      3. นักเรียนยกพวกตีกัน                         4. พระภิกษุประพฤติผิดวินัยมากมาย
16. ขอใดเปนวิธีการที่แกไขปญหาสังคมไทยไดดีที่สุด
      1. สรางความสํานึกและรับผิดชอบแกสมาชิก
      2. ตังหนวยงานแกไขปญหาเฉพาะดานโดยตรง
            ้
      3. ใชกฎหมายและเจาหนาที่ควบคุมอยางเครงครัด
      4. กําหนดหลักสูตรวาดวยวิธีการแกปญหาไวในการศึกษาทุกระดับ
17. ขอใดถูกตองที่สุด
      1. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเปนการเปลี่ยนแปลงทั้งสังคม สวนการเปลี่ยนแปลงทาง
          วัฒนธรรมอาจเปลี่ยนแปลงเพียงบางสวนของสังคม
      2. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเปนการเปลี่ยนแปลงแบบแผนความสัมพันธระหวางคนในสังคม
          สวนการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมเปนการเปลี่ยนแปลงดานระบบคิดของคนในสังคม
      3. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเปนการเปลี่ยนแปลงความมีระเบียบของคนในสังคม สวนการ
          เปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมเปนการเปลี่ยนแปลงรสนิยมของคนในสังคม
      4. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเปนการเสียระเบียบของสังคม สวนการเปลี่ยนแปลงทาง
          วัฒนธรรมเปนการสูญเสียขนบประเพณีอันดีงามของสังคม
18. ขอใดเปนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
      1. พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ หันเหชีวิตทางธุรกิจมาเปนนักการเมือง
      2. นิโคลเคยขายกลวยปง แตปน้เี ปลี่ยนมาเปนขายเตาฮวย
      3. ปจจุบันตํารวจมีหนาที่เพิ่มขึ้น คือตรวจจับผูขับรถที่ไมคาดเข็มขัดนิรภัย
      4. อาจารยอภิชาติยายโรงเรียนจากกรุงเทพมหานครไปสอนที่จงหวัดยโสธรั
19. การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยในปจจุบันมีสาเหตุมาจากขอใดมากที่สด           ุ
      1. อุดมการณประชาธิปไตย                       2. นวัตกรรมของภูมิปญญาชาวบาน
      3. การเพิ่มขึ้นของประชากร                     4. การแพรกระจายทางวัฒนธรรม

               สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร                               20
20. ขอใดเปนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
     1. คนไทยนิยมใชสินคาไทยเพิ่มมากขึ้น
     2. เด็กไทยนิยมบริโภคอาหารญี่ปุนมากกวาอาหารไทย
     3. คนไทยติดตอสื่อสารกันทางโทรศัพทมือถือกันมากกวาทางการเขียนจดหมาย
     4. การอยูรวมกันของหนุมสาวไทยกอนการแตงงานเพิ่มมากขึ้น
21. แนวโนมของสังคมไทยในอนาคตจะเปนอยางไร
     1. สถาบันครอบครัวจะลดขนาดและหมดความสําคัญลง
     2. จํานวนประชากรในเขตเมืองลดลงเพราะการคมนาคมสะดวกรวดเร็วขึ้น
     3. วิถชวตคนไทยเปลี่ยนไปพึ่งพาธรรมชาติแบบดั้งเดิมมากขึ้น
           ี ีิ
     4. ในชุมชนเมืองมีความเปนปจเจกชนมากขึ้นและวิถชีวตคนในชนบทจะเปลี่ยนไปเปนแบบคน
                                                   ี ิ
        เมืองมากขึ้น




              สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร                            21

Más contenido relacionado

Destacado

Sentencia elecciones carrefour ourense
Sentencia elecciones carrefour ourenseSentencia elecciones carrefour ourense
Sentencia elecciones carrefour ourenseoscargaliza
 
Domingos ano xacobeo
Domingos ano xacobeoDomingos ano xacobeo
Domingos ano xacobeooscargaliza
 
JudCon Brazil 2014 - Mobile push for all platforms
JudCon Brazil 2014 - Mobile push for all platformsJudCon Brazil 2014 - Mobile push for all platforms
JudCon Brazil 2014 - Mobile push for all platformsDaniel Passos
 
Memulai Membuat Blog dengan WordPress
Memulai Membuat Blog dengan WordPressMemulai Membuat Blog dengan WordPress
Memulai Membuat Blog dengan WordPressAbdul Hanan
 
Plataforma anged 2013
Plataforma anged 2013Plataforma anged 2013
Plataforma anged 2013oscargaliza
 
Manifesto para o día 13 de xuño
Manifesto para o día 13 de xuñoManifesto para o día 13 de xuño
Manifesto para o día 13 de xuñooscargaliza
 
ZFConf 2011: Гибкая архитектура Zend Framework приложений с использованием De...
ZFConf 2011: Гибкая архитектура Zend Framework приложений с использованием De...ZFConf 2011: Гибкая архитектура Zend Framework приложений с использованием De...
ZFConf 2011: Гибкая архитектура Zend Framework приложений с использованием De...ZFConf Conference
 
Sentencia an rev sal en ggaa
Sentencia an rev sal en ggaaSentencia an rev sal en ggaa
Sentencia an rev sal en ggaaoscargaliza
 
Balanced Scorecard and Strategy Execution
Balanced Scorecard and Strategy ExecutionBalanced Scorecard and Strategy Execution
Balanced Scorecard and Strategy ExecutionShaji Bhaskaran
 
JudCon - Aerogear Android
JudCon - Aerogear AndroidJudCon - Aerogear Android
JudCon - Aerogear AndroidDaniel Passos
 
2013 05-08 pnp convenio grandes almacéns e liberalización horarios comerciais...
2013 05-08 pnp convenio grandes almacéns e liberalización horarios comerciais...2013 05-08 pnp convenio grandes almacéns e liberalización horarios comerciais...
2013 05-08 pnp convenio grandes almacéns e liberalización horarios comerciais...oscargaliza
 
2013 05-08 pnc convenio grandes almacéns e liberalización dos horarios comerc...
2013 05-08 pnc convenio grandes almacéns e liberalización dos horarios comerc...2013 05-08 pnc convenio grandes almacéns e liberalización dos horarios comerc...
2013 05-08 pnc convenio grandes almacéns e liberalización dos horarios comerc...oscargaliza
 
Predstavljanje rezultata poslovanja za 2011. godinu na tržištu Bosne i Herceg...
Predstavljanje rezultata poslovanja za 2011. godinu na tržištu Bosne i Herceg...Predstavljanje rezultata poslovanja za 2011. godinu na tržištu Bosne i Herceg...
Predstavljanje rezultata poslovanja za 2011. godinu na tržištu Bosne i Herceg...TDR d.o.o Rovinj
 
Ana cristina comments
Ana cristina commentsAna cristina comments
Ana cristina commentscriszamu
 

Destacado (20)

Sentencia elecciones carrefour ourense
Sentencia elecciones carrefour ourenseSentencia elecciones carrefour ourense
Sentencia elecciones carrefour ourense
 
Acta
ActaActa
Acta
 
Domingos ano xacobeo
Domingos ano xacobeoDomingos ano xacobeo
Domingos ano xacobeo
 
JudCon Brazil 2014 - Mobile push for all platforms
JudCon Brazil 2014 - Mobile push for all platformsJudCon Brazil 2014 - Mobile push for all platforms
JudCon Brazil 2014 - Mobile push for all platforms
 
Memulai Membuat Blog dengan WordPress
Memulai Membuat Blog dengan WordPressMemulai Membuat Blog dengan WordPress
Memulai Membuat Blog dengan WordPress
 
Plataforma anged 2013
Plataforma anged 2013Plataforma anged 2013
Plataforma anged 2013
 
Manifesto para o día 13 de xuño
Manifesto para o día 13 de xuñoManifesto para o día 13 de xuño
Manifesto para o día 13 de xuño
 
ParaEmpezarGreetings
ParaEmpezarGreetingsParaEmpezarGreetings
ParaEmpezarGreetings
 
Acta 110929
Acta 110929Acta 110929
Acta 110929
 
ZFConf 2011: Гибкая архитектура Zend Framework приложений с использованием De...
ZFConf 2011: Гибкая архитектура Zend Framework приложений с использованием De...ZFConf 2011: Гибкая архитектура Zend Framework приложений с использованием De...
ZFConf 2011: Гибкая архитектура Zend Framework приложений с использованием De...
 
Sentencia an rev sal en ggaa
Sentencia an rev sal en ggaaSentencia an rev sal en ggaa
Sentencia an rev sal en ggaa
 
Balanced Scorecard and Strategy Execution
Balanced Scorecard and Strategy ExecutionBalanced Scorecard and Strategy Execution
Balanced Scorecard and Strategy Execution
 
JudCon - Aerogear Android
JudCon - Aerogear AndroidJudCon - Aerogear Android
JudCon - Aerogear Android
 
2013 05-08 pnp convenio grandes almacéns e liberalización horarios comerciais...
2013 05-08 pnp convenio grandes almacéns e liberalización horarios comerciais...2013 05-08 pnp convenio grandes almacéns e liberalización horarios comerciais...
2013 05-08 pnp convenio grandes almacéns e liberalización horarios comerciais...
 
2013 05-08 pnc convenio grandes almacéns e liberalización dos horarios comerc...
2013 05-08 pnc convenio grandes almacéns e liberalización dos horarios comerc...2013 05-08 pnc convenio grandes almacéns e liberalización dos horarios comerc...
2013 05-08 pnc convenio grandes almacéns e liberalización dos horarios comerc...
 
Predstavljanje rezultata poslovanja za 2011. godinu na tržištu Bosne i Herceg...
Predstavljanje rezultata poslovanja za 2011. godinu na tržištu Bosne i Herceg...Predstavljanje rezultata poslovanja za 2011. godinu na tržištu Bosne i Herceg...
Predstavljanje rezultata poslovanja za 2011. godinu na tržištu Bosne i Herceg...
 
Facebook: How to Search For a Group
Facebook: How to Search For a GroupFacebook: How to Search For a Group
Facebook: How to Search For a Group
 
editing
editingediting
editing
 
Operation outbreak
Operation outbreakOperation outbreak
Operation outbreak
 
Ana cristina comments
Ana cristina commentsAna cristina comments
Ana cristina comments
 

Similar a G สังคมไทย social3

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Ziro Anu
 
สังคม 53
สังคม 53สังคม 53
สังคม 53suparada
 
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษาข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษาPerm Ton
 
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be303bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3Noot Ting Tong
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษาMintra Pudprom
 
ข้อสอบสังคมศึกษา ONET 52
ข้อสอบสังคมศึกษา  ONET  52ข้อสอบสังคมศึกษา  ONET  52
ข้อสอบสังคมศึกษา ONET 52Jinwara Sriwichai
 
แนวข้อสอบวิชาสังคมศึกษา
แนวข้อสอบวิชาสังคมศึกษาแนวข้อสอบวิชาสังคมศึกษา
แนวข้อสอบวิชาสังคมศึกษาiamaomkitt
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษาikwanz
 
ข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคม ข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคม suwitpps
 
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd668c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd642558
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคมPum Pep
 

Similar a G สังคมไทย social3 (20)

มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรมมนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
สังคม 53
สังคม 53สังคม 53
สังคม 53
 
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษาข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
ข้อสอบ O net วิชาสังคมศึกษา
 
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be303bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be303bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
03bb7948b0ecfc6376c61960fe8d8be3
 
ข้อสอบสังคมศึกษา ONET 52
ข้อสอบสังคมศึกษา  ONET  52ข้อสอบสังคมศึกษา  ONET  52
ข้อสอบสังคมศึกษา ONET 52
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
แนวข้อสอบวิชาสังคมศึกษา
แนวข้อสอบวิชาสังคมศึกษาแนวข้อสอบวิชาสังคมศึกษา
แนวข้อสอบวิชาสังคมศึกษา
 
ข้อสอบO-NET
ข้อสอบO-NETข้อสอบO-NET
ข้อสอบO-NET
 
M6social2552
M6social2552M6social2552
M6social2552
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
M6social2552
M6social2552M6social2552
M6social2552
 
M6social2552
M6social2552M6social2552
M6social2552
 
ข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคม ข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคม
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
Onet m6 52 soc
Onet m6 52  socOnet m6 52  soc
Onet m6 52 soc
 
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd668c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 

Más de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Más de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

G สังคมไทย social3

  • 1. สังคมไทย ลักษณะของสังคมไทย 1. เปนสังคมเกษตรกรรม 2. มีการศึกษาตํ่า 3. มีความรักความผูกพันในถิ่นกําเนิด 4. ยึดมันในขนบธรรมเนียมประเพณี ่ 5. มีโครงสรางทางสังคมที่มีชนชั้น 6. เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ลักษณะของสังคมเมือง 1. มีความหนาแนนของประชากรมาก 2. ความสัมพันธระหวางสมาชิกเปนแบบทุติยภูมิ 3. มีระดับการศึกษาสูง 4. มีอาชีพหลากหลาย และรายไดสูง 5. มีมาตรฐานการครองชีพสูง 6. มีการแขงขันกันสูง 7. มีความตื่นตัวทางการเมืองสูง 8. มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเร็ว ลักษณะของสังคมชนบท 1. มีอาชีพทางการเกษตรกรรมมาก 2. มีการพึ่งพาธรรมชาติมาก 3. ยึดมันในขนบธรรมเนียมประเพณี ่ 4. มีความสัมพันธกันแบบปฐมภูมิ 5. มีชีวิตความเปนอยูคลายๆ กัน ลักษณะของสิ่งที่เปนปญหาสังคม 1. เปนสภาวการณท่สมาชิกในสังคมไมพงปรารถนา ี ึ 2. มีผลกระทบตอคนเปนจํานวนมาก 3. มีความตองการที่จะปรับปรุงแกไข สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร 15
  • 2. ตัวอยางที่เปนปญหาสังคมไทย ไดแก ปญหาความยากจน ปญหาการกระจายรายได ปญหาการฉอราษฎรบังหลวง ปญหายาเสพติดใหโทษ ปญหาการวางงาน ปญหาสิ่งแวดลอม ปญหาโรคเอดส การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทย แบงไดดังนี้คือ 1. เปลี่ยนแปลงครั้งกอน ร.4 แตเดิมเชื่อถือผีสาง เทวดา พวกผีฟาหรือตอนรับทุกศาสนาเขามา เปลียนเปนเทวดา นําไปสูการเชื่อถือเรื่องวิญญาณ สูประเพณี เชน เผาเทียน เลนไฟ พอมาสมัยอยุธยา ่ ความสัมพันธระหวางพระมหากษัตริยกับประชาชน เปลี่ยนจากพอกับลูกมาเปน นาย–บาว ใหชายเปน ใหญในครอบครัว 2. หลัง ร.4 อารยธรรมตะวันตกเขามา ผูหญิงเริ่มมีบทบาทมากขึ้น มีอํานาจทางบานเรือนมากขึ้น เปลี่ยนสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม 3. การเปลี่ยนทางสังคมและวัฒนธรรมปจจุบัน อิทธิพลตะวันตกยิ่งมาก ความเชื่ออุดมการณก็ เปลียนไป ความเทาเทียมมีมากขึ้น ความสัมพันธในครอบครัวลดลงแตถึงอยางไร ความรักความอบอุนใน ่ ครอบครัวยังเปนปจจัยสําคัญตอเยาวชนและวัฒนธรรมของชาติอยางมาก การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง สุโขทัย พอปกครองลูก มีพอขุนเปนผูนํา รับผิดชอบทุกดาน ประชาชนมีหนาที่ทําตาม ความ สัมพันธใกลชิด อยุธยา เปนแบบเทวราชา หรือสมมุตเิ ทพ มีการปกครองแบบจตุสดมภ มีผรบผิดชอบคือจตุสดมภ เวี ู ั ยง วัง คลัง นา สมัยรัตนโกสินทร ปกครองแบบเทวราชา ตอนตนแบบอยุธยา จนถึง ร.5 จึงมีการปฏิรูปสังคม เศรษฐกิจและปกครอง จัดระเบียบตามตะวันตก จน พ.ศ. 2475 จึงเปลี่ยนการปกครองจากสมบูรณา- ญาสิทธิราชมาเปนประชาธิปไตย โดยคณะราษฎรแบงอํานาจเปน 3 ฝาย – บริหาร – รัฐบาลรับผิดชอบ – นิติบัญญัติ – ออกกฎหมายโดยรัฐสภา – ตุลาการ – ใหความยุติธรรมโดยศาล สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร 16
  • 3. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ แบงเปนมีแบบแผน และไมมีแบบแผน 1. ไมมีแบบแผน ตังแตอยุธยา – พ.ศ.2504 ้ 2. มีแบบแผน หลัง พ.ศ.2504 เมือมีการจัดตั้งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ่ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2504 – 2509) เปาหมายใหมีรายไดเพิ่มขึ้น ลงทุนดานเศรษฐกิจพื้นฐาน ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2510 – 2514) เปาหมายเพิ่มรายไดจาก 7.2 เปน 8.5/ป เนนพัฒนาสังคม มี การใชคําวา สังคม เปนครั้งแรก เปลี่ยนผูรับผิดชอบจาก คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ เปน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2515 – 2519) เปาหมายเพิ่มผลผลิตทางผลิตภัณฑภายในประเทศ แตผลออก มาตํากวาเปาหมาย เนนนโยบายประชากร สงเสริมการสรางงาน เนื่องจากการผันเงินของ ่ ระบบของโลก ตั้งแต 2514 คาเงินลดลง และเงินเฟอ ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520 – 2524) เปาหมายสรางเสถียรภาพเศรษฐกิจใหมนคง ปรับปรุงผลผลิตทาง ั่ เกษตรและอุตสาหกรรมเพื่อการสงออก ยกรายไดของประชากร ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525 – 2529) เนนพัฒนาชนบทโดยเฉพาะภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียง เหนือ และภาคใต ฉบับนี้ลดภาวะเงินเฟอ เพราะเศรษฐกิจโลกดีขึ้น ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2530 – 2534) เนนแกปญหาสังคม ความยากจน การวางงาน หนี้สิน เพิ่มการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจ เพิ่มรายไดของประชาชน สงเสริมการลงทุน และเพิ่มปริมาณการสง ออกและทองเที่ยว ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2536 – 2539) เนนรักษาความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับสูงอยาง ตอเนื่อง เอื้ออํานวยตอการกระจายรายได ลดชองวางเมืองระหวางชนบทกับเมือง และการ วางงานคอนขางมาก รวมทั้งเจาหนาที่การจัดการตางๆ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540 – 2544) เนนการพัฒนาทางดานสังคมมากกวาทางดานเศรษฐกิจ โดย เฉพาะการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยการขยายการศึกษาภาคบังคับเปน 9 ป และการศึกษา ขันพืนฐานเปน 12 ป ตลอดจนรักษาการขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางมีเสถียรภาพและตอ ้ ้ เนื่อง เนนการบริหารแบบมีสวนรวมระหวางรัฐ เอกชน และชุมชน แนวโนมของเศรษฐกิจ 1. เศรษฐกิจ – ชนบทและเมืองจะตางกันมากขึ้นในดานรายได 2. เสียเปรียบดุลการคาตอเนื่อง เนื่องจากสั่งวัสดุเขามามาก 3. แรงงานเกษตรจะเปนแรงงานอุตสาหกรรมมากขึ้น รายไดดีมากกวา 4. ชนบทมีพื้นที่ทํากินนอยลง เนื่องจากการขยายตัวทางอุตสาหกรรม 5. สังคมเนนจากเกษตรเปนอุตสาหกรรม 6. ใชเครื่องจักรกลมากขึ้น แรงงานลดความสําคัญลง 7. เนนทักษะมากขึ้น 8. คมนาคมขยายตัวอยางมาก สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร 17
  • 4. แนวโนมดานสังคม 1. มีความเปนปจเจกชนมากขึ้น เนนสวนบุคคลมากกวาสวนรวม 2. เสมอภาค หญิงเลี้ยงตัวเองได 3. ครอบครัวแตกแยกมากขึ้น 4. วัยรุนมีพฤติกรรมตางไปจากเดิม 5. ยังยึดถือโชคลาง แตเปนการแขงขัน 6. มีคานิยมในดานสรางปญหา เชน เห็นแกเงิน นิยมตางชาติ  แนวโนมดานการเมือง 1. มีสวนรวมทางการเมืองมากขึ้นทุกรูปแบบ โดยผานการเลือกตั้ง  2. มีประชาธิปไตยมากขึ้น 3. ขาดแรงกระตุนใหสรางผูนาอยางแทจริง ประชากรไมคอยสนใจการเมือง ํ 4. เปนนักปฏิบัติมากกวานักอุดมการณ ใชอารมณตัดสิน แตหากเกิดปญหามักจะมีผูแกไขเสมอ มา ดังอยุธยาไมสิ้นคนดี 5. คนมีฐานะจะมีสวนรวมการเมืองมากขึ้น เพราะมีเงินและพวกมาก แบบทดสอบ จงเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว 1. วัตถุประสงคเบื้องตนของสถาบันทางสังคม คือขอใด 1. การทําใหสมาชิกปฏิบัติตามสถานภาพ 2. การใหสมาชิกเชื่อมโยงกัน ใหสังคมดํารงอยูได 3. การสรางระบบการแบงงานและหนาที่ใหแกสมาชิกในสังคม 4. การตอบสนองความตองการของสมาชิก และการดํารงอยูของสังคม 2. สถาบันใดที่ถือวาเปนสถาบันขั้นมูลฐานที่ทําหนาที่ในการผลิตใหความรูการบริโภค และการ อบรมใหเปนพลเมืองดี 1. สถาบันการศึกษา 2. สถาบันศาสนา 3. สถาบันการปกครอง 4. สถาบันครอบครัว 3. หนาที่ขอใดที่สถาบันครอบครัวทําไดดีกวาสถาบันอื่น 1. การกําหนดสถานภาพ 2. การสืบทอดทางวัฒนธรรม 3. การใหการเรียนรูทางสังคม 4. การใหความรักความอบอุน สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร 18
  • 5. 4. ถาพิจารณาในความสัมพันธทางหนาที่ของบรรดาสถาบันตาง ๆ ในสังคมไทยปจจุบัน สถาบัน พืนฐานใดที่มีหนาที่โดยตรงตอการสรางเปาหมายและผดุงรักษาแบบแผนตาง ๆ ทางสังคม ้ 1. สถาบันครอบครัว 2. สถาบันการศึกษา 3. สถาบันการปกครอง 4. สถาบันการเมืองการปกครอง 5. ครอบครัวเดี่ยวจะเห็นไดชัดในสังคมใด 1. สังคมภูธร 2. สังคมเมือง 3. สังคมชนบท 4. สังคมเกษตร 6. สถาบันสําคัญในโครงสรางสังคมชนบทคือขอใด 1. ครอบครัว ศาสนา การศึกษา 2. ศาสนา นันทนาการ เศรษฐกิจ 3. ครอบครัว นันทนาการ ศาสนา 4. ครอบครัว ศาสนา การปกครอง 7. พฤติกรรมเฉพาะเจาะจงที่คาดหวังใหบุคคลแสดงออกตามฐานะของบุคคลนั้น คืออะไร 1. บทบาท 2. คานิยม 3. บรรทัดฐาน 4. จารีต 8. ความเห็นรวมกันของคนสวนใหญในสังคมที่เห็นวาเปนสิ่งดี เปนสิ่งสําคัญเปนสิ่งที่สังคม พึงปรารถนา หมายถึงขอใด 1. วิถีประชา 2. บทบาท 3. คานิยม 4. สถาบันสังคม 9. คานิยมที่เปนอุปสรรคตอการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย คือขอใด 1. ความมัธยัสถ 2. ความนิยมไทย 3. ความเอื้อเฟอเผื่อแผ 4. ความเชื่อในชะตากรรม 10. ขอใดถูกตองที่สุด 1. สังคมไทยเปนกลุมชนที่มวฒนธรรมและเชื้อชาติเดียวกันเทานั้น ีั 2. สังคมไทยคือกลุมชนที่มีเชื้อชาติและสถาบันเดียวกันมารวมอยู ณ บริเวณเดียวกัน 3. สังคมไทยคือชนทุกชั้นทุกภาษาที่มารวมกันโดยไมมีความแตกตางทางดานวัฒนธรรม 4. สังคมไทยคือชนทุกกลุมที่ใชชีวิตอยูรวมกันโดยมีวัฒนธรรมไทยเปนพื้นฐานในการดําเนินในชีวิต 11. ขอใดคือพื้นฐานวัฒนธรรมดั้งเดิมของไทย 1. กสิกรรมที่ราบลุมแมนํ้า 2. พระพุทธศาสนา 3. ศาสนาพรหมณ 4. การติดตอคาขายกับสังคมอื่น 12. ปจจุบันสังคมไทยมีลักษณะเปนไปตามขอใด 1. เจาขุนมูลนาย 2. ไมมีการแบงชนชั้น 3. พหุวฒนธรรม ั 4. ศักดินาอุปถัมภ สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร 19
  • 6. 13. ขอใดไมใชลกษณะทีเ่ ห็นไดชัดในชุมชนชนบท ั 1. มีความรวมมือกันเพื่อความอยูรอด 2. มีการเคลื่อนที่ทางสังคมในแนวนอน 3. มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม 4. มีการประกอบอาชีพเฉพาะดานนอย 14. สิงที่บงชี้ไดวาเปนปญหาสังคม คือขอใด ่ 1. นักวิชาการเห็นวาเปนปญหาที่ควรแกไข 2. คนจํานวนมากในสังคมเห็นพองกันวาเปนปญหาควรแกไข 3. รัฐบาลระบุวาเปนปญหากําหนดไวในแผนพัฒนาประเทศ 4. สถานการณใดก็ตามที่เปนปญหาทําใหแตละบุคคลเดือดรอน 15. ขอใดไมถือวาเปนปญหาสังคมสําหรับสังคมไทย 1. วัยรุนติดยาเสพติด 2. การมีภรรยานอยของผูชายไทย 3. นักเรียนยกพวกตีกัน 4. พระภิกษุประพฤติผิดวินัยมากมาย 16. ขอใดเปนวิธีการที่แกไขปญหาสังคมไทยไดดีที่สุด 1. สรางความสํานึกและรับผิดชอบแกสมาชิก 2. ตังหนวยงานแกไขปญหาเฉพาะดานโดยตรง ้ 3. ใชกฎหมายและเจาหนาที่ควบคุมอยางเครงครัด 4. กําหนดหลักสูตรวาดวยวิธีการแกปญหาไวในการศึกษาทุกระดับ 17. ขอใดถูกตองที่สุด 1. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเปนการเปลี่ยนแปลงทั้งสังคม สวนการเปลี่ยนแปลงทาง วัฒนธรรมอาจเปลี่ยนแปลงเพียงบางสวนของสังคม 2. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเปนการเปลี่ยนแปลงแบบแผนความสัมพันธระหวางคนในสังคม สวนการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมเปนการเปลี่ยนแปลงดานระบบคิดของคนในสังคม 3. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเปนการเปลี่ยนแปลงความมีระเบียบของคนในสังคม สวนการ เปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมเปนการเปลี่ยนแปลงรสนิยมของคนในสังคม 4. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเปนการเสียระเบียบของสังคม สวนการเปลี่ยนแปลงทาง วัฒนธรรมเปนการสูญเสียขนบประเพณีอันดีงามของสังคม 18. ขอใดเปนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม 1. พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ หันเหชีวิตทางธุรกิจมาเปนนักการเมือง 2. นิโคลเคยขายกลวยปง แตปน้เี ปลี่ยนมาเปนขายเตาฮวย 3. ปจจุบันตํารวจมีหนาที่เพิ่มขึ้น คือตรวจจับผูขับรถที่ไมคาดเข็มขัดนิรภัย 4. อาจารยอภิชาติยายโรงเรียนจากกรุงเทพมหานครไปสอนที่จงหวัดยโสธรั 19. การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยในปจจุบันมีสาเหตุมาจากขอใดมากที่สด ุ 1. อุดมการณประชาธิปไตย 2. นวัตกรรมของภูมิปญญาชาวบาน 3. การเพิ่มขึ้นของประชากร 4. การแพรกระจายทางวัฒนธรรม สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร 20
  • 7. 20. ขอใดเปนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม 1. คนไทยนิยมใชสินคาไทยเพิ่มมากขึ้น 2. เด็กไทยนิยมบริโภคอาหารญี่ปุนมากกวาอาหารไทย 3. คนไทยติดตอสื่อสารกันทางโทรศัพทมือถือกันมากกวาทางการเขียนจดหมาย 4. การอยูรวมกันของหนุมสาวไทยกอนการแตงงานเพิ่มมากขึ้น 21. แนวโนมของสังคมไทยในอนาคตจะเปนอยางไร 1. สถาบันครอบครัวจะลดขนาดและหมดความสําคัญลง 2. จํานวนประชากรในเขตเมืองลดลงเพราะการคมนาคมสะดวกรวดเร็วขึ้น 3. วิถชวตคนไทยเปลี่ยนไปพึ่งพาธรรมชาติแบบดั้งเดิมมากขึ้น ี ีิ 4. ในชุมชนเมืองมีความเปนปจเจกชนมากขึ้นและวิถชีวตคนในชนบทจะเปลี่ยนไปเปนแบบคน ี ิ เมืองมากขึ้น สังคมศึกษา อ.สุทัศน ภูมิรัตนจรินทร 21