SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 195
Descargar para leer sin conexión
1
2 3
4 5
6 7
8 9
10 11
12 13
14 15
16 17
18 19
20 21
2322
24 25
2726
28 29
30 31
32 33
34 35
38 39
36 37
40 41
42 43
44 45
46
π‚¬∫“¬
√—∞¡πµ√’«à“°“√°√–∑√«ß»÷°…“∏‘°“√
(æ≈‡Õ° ¥“«åæß…å √—µπ ÿ«√√≥)
สำนักงานปลัดกระทรวง
กระทรวงศึกษาธิการ
2
3
นโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
(พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ)
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงมีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลาฯ ประกาศแตงตั้งรัฐมนตรี ตามประกาศ ณ วันที่ ๑๙ สิงหาคม
พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยแตงตั้งให พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ เปนรัฐมนตรี
วาการกระทรวงศึกษาธิการ
พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวง
ศึกษาธิการ กำหนดการขับเคลื่อนนโยบายดานการศึกษา ประกอบดวย
๒ สวน คือ
4
➢ นอมนำกระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จ
พระเจาอยูหัวที่เกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา มาเปนแนวทางปฏิบัติ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงมีพระราชดำรัสเกี่ยวกับ
การปฏิรูปการศึกษา ดังนี้
๑) “ใหครูรักเด็กและเด็กรักครู”
๒) “ใหครูสอนเด็กใหมีน้ำใจกับเพื่อน ไมใหแขงขันกัน แต
ใหแขงกับตัวเอง ใหเด็กที่เรียนเกงกวาชวยสอนเพื่อนที่เรียนชากวา”
๓) “ใหครูจัดกิจกรรมใหเด็กทำรวมกัน เพื่อใหเห็นคุณคา
ของความสามัคคี”
➢ แนวนโยบายของนายกรัฐมนตรี(พลเอกประยุทธจันทรโอชา)
วิสัยทัศน
ยกระดับคุณภาพการศึกษาที่ดีขึ้น มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
และลดความเหลื่อมล้ำอยางทั่วถึง ผลิตและพัฒนากำลังคน
ใหสอดคลองกับความตองการและรองรับการพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ
❖ ยุทธศาสตรเพื่อการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวง
ศึกษาธิการ ๑๐ ยุทธศาสตร
❖ จุดเนน ๖ ยุทธศาสตร
5
ยุทธศาสตรเพื่อการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ยุทธศาสตรที่ ๑ : ผลิตและพัฒนากำลังคนใหสอดคลองกับ
ความตองการและรองรับการพัฒนาประเทศ
เปาประสงค
ผลลัพธที่ตองการ
✦ รองรับตลาดแรงงานภายในประเทศ
✦ รองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและโครงการลงทุน ขนาดใหญของรัฐบาล
✦ มีกำลังคนเพียงพอและมีสมรรถนะตรงตามความตองการของตลาดแรงงานทั้งในประเทศและตางประเทศ
✦ มีขีดความสามารถแขงขันไดในระดับสากล
✦ มีรายไดสอดคลองกับสมรรถนะวิชาชีพ
◆ กำลังคนมีคุณภาพและมาตรฐาน สอดคลองกับยุทธศาสตรพัฒนาประเทศ
◆ ผูเรียนและผูสำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา มีสมรรถนะตรงความตองการของตลาดแรงงานตามกรอบ
คุณวุฒิวิชาชีพ
◆ การจัดการอาชีวศึกษาใหไดตามมาตรฐานสากล
◆ ผูเรียนจบแลวมีงานทำ
❑ จัดทำฐานขอมูลการผลิตและพัฒนาของสถานศึกษา เชื่อมโยงกับความตองการจำเปนและทิศทาง
การพัฒนาประเทศ
❑ จัดทำฐานขอมูลความตองการแรงงาน รวมกับหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน
❑ ผลิตและพัฒนาศักยภาพกำลังคนใหตรงตามความตองการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ
โดยจัดลำดับความเรงดวน ตามงบประมาณและทรัพยากรที่มี
❑ ผลิตนักศึกษาตามความถนัดและความเปนเลิศของแตละสถานศึกษา
❑ กำหนดบทบาทของสถานศึกษาในการผลิตนักศึกษาใหชัดเจน
❑ สงเสริมอาชีวศึกษาใหมีความเปนเลิศเฉพาะดาน และมุงสูมาตรฐานสากล
❑ สรางคานิยมอาชีวศึกษา
❑ ใหสังคมเขามาสนับสนุนการจัดการศึกษา จัดการเรียนการสอนทวิภาคีและการบูรณาการเรียนรูคูกับ
การทำงาน (WIL) รวมกับสถานประกอบการ
❑ สรางความเขาใจและแสวงหาความรวมมือระหวางภาคสวนที่เกี่ยวของในการจัดการอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
❑ พัฒนาความรูดานอาชีพใหกำลังคนวัยแรงงานอยางตอเนื่อง
❑ ฝกทักษะอาชีพระยะสั้นเพื่อเพิ่มพูนความรูและการมีงานทำ
❑ พัฒนาศักยภาพกำลังคนดานการคาและการพัฒนา
❑ สงเสริมสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพใหผูมีความสามารถพิเศษทุกดานไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง
เต็มตามศักยภาพ
❑ ประเมินและรับรองมาตรฐานฝมือ ตามมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพเพื่อใชประกอบการพิจารณาคาตอบแทน
ที่เหมาะสมและสรางแรงจูงใจ
❑ สงเสริมทักษะอาชีพและพัฒนาฝมือแรงงานเพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ชายแดนและเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษ
วิธีการ
6
ยุทธศาสตรที่ ๒ : หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู
เปาประสงค
ผลลัพธที่ตองการ
✦ กระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่เกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาไดรับการนำไปสูการปฏิบัติ
✦ ยกระดับการใชภาษาอังกฤษ
✦ ผูเรียน ครู ผูปกครองมีความสุข
✦ ผูเรียนไดรับการพัฒนาครอบคลุม Head Heart Hand Health
✦ สังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา
✦ ผูเรียนและประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการเรียนรูตลอดชีวิตและสามารถเขาถึงแหลงเรียนรู
ไดโดยสะดวก
✦ ประชาชนมีความรู มีศักยภาพในการดำรงชีวิตและอยูรวมกันไดอยางผาสุก
◆ ผูเรียนไดรับการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพมาตรฐาน
◆ ผูเรียนและประชาชนไดรับการพัฒนาทักษะ และพัฒนาการเหมาะสมตามวัยสามารถแสวงหาความรู
ไดสอดคลองกับบริบทในปจจุบัน
◆ นักเรียน นักศึกษา ประชาชนมีความรูความเขาใจในประวัติศาสตรไทย มีคานิยมที่ถูกตองตามคานิยมหลัก
ของคนไทย ๑๒ ประการ และมีภูมิคุมกัน ปลอดภัยจากยาเสพติด
❑ นอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู
ตามหลักการเขาใจ เขาถึง และพัฒนา
❑ ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนรู ทั้งระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา อุดมศึกษา และการศึกษานอกระบบ
❑ ปรับปรุงโครงสรางเวลาเรียน (ระดับชั้น ป.๑-ม.๓) ปรับตารางเรียนใหสอดคลองกับการทำกิจกรรมนอกหองเรียน
❑ พัฒนาทักษะอาชีพแกผูเรียนสายสามัญศึกษาโดยระบบทวิศึกษา
❑ พัฒนาระบบเทียบและถายโอนประสบการณใหสอดคลองกับหลักสูตรทุกระดับทุกประเภทการศึกษา
❑ ปรับปรุงและพัฒนาการเรียนรูภาษาไทย (เพิ่ม)
❑ ใชสะเต็มศึกษา (STEM Education) เพื่อยกระดับการเรียนรูดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี
❑ สรางและยกระดับมาตรฐาน พัฒนาหลักสูตรภาษาอังกฤษ (CEFR) ในทุกหลักสูตรภายใตบริบทไทย
❑ พัฒนารูปแบบการเรียนรูภาษาอังกฤษเพื่อการใชงานไดจริง ตลอดจนกระตุนใหนักเรียน นักศึกษา
และประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของภาษาอังกฤษ
❑ บูรณาการความรูควบคูการพัฒนาทักษะพื้นฐานการดำเนินชีวิต การทำงาน การพัฒนาสังคม และการอนุรักษ
สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ
❑ พัฒนาทักษะตาง ๆ ตลอดจนพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะหที่สอนใหเด็กใชหลักเหตุผลในการตัดสินใจ
มากกวาความรูสึกตามกระแสสังคม
❑ จัดกระบวนการเรียนรูที่กอใหเกิดคานิยมที่พึงประสงค สรางอุดมการณรักชาติ ศาสน กษัตริย มีคุณธรรม
จริยธรรม ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การอยูรวมกันอยางสันติสุข ปฏิเสธสิ่งเสพติด และการทุจริตคอรัปชั่น
❑ สงเสริมการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูสูงอายุ
❑ นำองคความรู ทรัพยากรและภูมิปญญาในทองถิ่น ตลอดจนแหลงการเรียนรูประยุกตใชประโยชนในการ
จัดการศึกษา
❑ พัฒนานวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอนตามกลุมสาระวิชาใหเหมาะสมกับสภาพทองถิ่น
❑ สงเสริมและสนับสนุนใหทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวมในการจัดและสงเสริมการจัดการศึกษา
วิธีการ
7
เปาประสงค
ผลลัพธที่ตองการ
✦ ลดความเหลื่อมล้ำในโอกาสและความเสมอภาค ทางการศึกษาของผูเรียน
✦ มีสถานศึกษาที่สามารถแขงขันดานคุณภาพมาตรฐาน ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการจัดการศึกษา
✦ บริหารงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ
✦ สอดคลองกับนโยบายผลิตและพัฒนากำลังคน
◆ สถานศึกษาไดรับการจัดสรรทรัพยากรอยางทั่วถึงและเปนธรรม สอดคลองกับนโยบายการผลิตและ
พัฒนากำลังคน
◆ สถานศึกษามีการเบิกจาย งบประมาณเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส และตรวจสอบได
❑ ทบทวนหลักเกณฑและการบริหารกองทุนกูยืมเพื่อการศึกษา
❑ พิจารณาเงินอุดหนุนใหเหมาะสมกับบริบทปจจุบัน
❑ นำรองสนับสนุนงบประมาณใหสถานศึกษาที่มีผลผลิตตรงตามความตองการของรัฐ โดยการจัดสรร
งบประมาณผานดานอุปสงคหรือตัวผูเรียน
❑ สงเสริมการมีสวนรวมระดมทุน และการสนองทุนเพื่อการศึกษา
❑ ใหหนวยงานสวนกลาง มีบทบาทหนาที่เปนผูกำหนดนโยบาย (Policy Maker) ผูกำกับคุณภาพและ
มาตรฐาน (Regulator) ผูสงเสริมสนับสนุน (Promoter) รวมทั้งการกระจายอำนาจการบริหารจัดการ
การศึกษา (Operator)
❑ มีแผนการใชจายงบประมาณที่เปนรูปธรรม ตรวจสอบได
❑ ปรับปรุงเกณฑ เงื่อนไขการจัดสรรทุนทั้งทุนใหเปลาและทุนกูยืม เพื่อเปนกลไกในการผลิตและพัฒนา
กำลังคนตามความตองการของประเทศ
วิธีการ
ยุทธศาสตรที่ ๓ : ระบบงบประมาณและทรัพยากรเพื่อการศึกษา
8
เปาประสงค
ผลลัพธที่ตองการ
✦ ผูเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น
✦ กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอกสอดคลองกัน
✦ กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาไมเพิ่มภาระงานและสามารถควบคุมคุณภาพได
✦ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาเทียบเคียงไดในระดับสากล
✦ สถานศึกษาที่ผานการรับรองมาตรฐานมีจำนวน เพิ่มขึ้น
✦ สถานศึกษาที่ผานการรับรองมาตรฐานมีผลการประเมินในระดับที่สูงขึ้น
◆ ผูเรียนไดรับการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพและมาตรฐาน
◆ ระบบและกลไกการประเมินคุณภาพการศึกษามีประสิทธิภาพ
◆ สถานศึกษาทุกระดับทุกประเภทผานการรับรองมาตรฐานทางการศึกษา
❑ จัดตั้งคณะทำงานรวมระหวาง ศธ. และ สมศ.
● พัฒนาทั้งเครื่องมือ และผูประเมินใหไดมาตรฐาน
● ตัวชี้วัดตองมีความครอบคลุม เที่ยงตรงและเชื่อถือได
● กระบวนการประเมินตองไมยุงยากและไมเปนภาระกับครู
❑ ใหมีองคกรที่ปรึกษาดานการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาทั้งหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน
❑ วิเคราะหผลการประเมินเพื่อการแขงขันดานการศึกษาระหวางประเทศไทยกับประเทศตาง ๆ
❑ เสริมสรางความเขมแข็งใหคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีบทบาทในดานการตรวจสอบ
และประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษามากขึ้น
❑ พัฒนาระบบทดสอบมาตรฐานทางการศึกษาในทุกระดับ ใหมีคุณภาพมาตรฐานระดับชาติ
❑ พัฒนามาตรฐานการศึกษา การประเมินคุณภาพ และการติดตาม/ตรวจสอบสถาบันอุดมศึกษา
❑ ปรับปรุงระบบนิเทศ
วิธีการ
ยุทธศาสตรที่ ๔ : ระบบตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
9
เปาประสงค
ผลลัพธที่ตองการ
✦ มีโครงขายครอบคลุมทั่วประเทศ สัญญาณสำหรับการใชงานมีความเสถียร และมีความเร็วเหมาะสม
✦ มีฐานขอมูลสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหารในทุกระดับ
✦ สนับสนุนการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และบริการทางวิชาการไดอยางกวางขวาง
✦ มีการใชทรัพยากรเกี่ยวกับ ICT ที่มีประสิทธิภาพและคุมคา
✦ มีการติดตอสื่อสารทั้งกับภายในและภายนอกองคกรไดอยางรวดเร็วและทั่วถึง
✦ ฐานขอมูลที่ทันสมัย และนาเชื่อถือ สามารถเชื่อมโยงฐานขอมูลกับหนวยงานอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ
◆ หนวยงานมีระบบสื่อสารและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และทันสมัย
◆ ระบบ ICT มีการบูรณาการเชื่อมโยงกับหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภายในและภายนอก อยางครอบคลุม
มีคุณภาพ รวดเร็วและทั่วถึง
◆ นำระบบ ICT เขามาใชจัดการเรียนรูและบริหารจัดการอยางเปนรูปธรรมและกวางขวาง
❑ จัดตั้งคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวง
❑ จัดทำแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวง
❑ บูรณาการ Hardware Software Peopleware ที่มีอยูใหเปนระบบที่สอดคลองกัน
❑ บูรณาการงบประมาณดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ ศธ.
❑ พัฒนาและจัดทำระบบฐานขอมูลดานการศึกษาเชื่อมโยงกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อสนับสนุน
การจัดการศึกษาและการ นำขอมูลมาใชในการตัดสินใจ ของผูบริหารในทุกระดับ
❑ นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใชพัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาและการเรียนรู
❑ จัดบริการและพัฒนาโครงขาย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใหครอบคลุมทั่วประเทศ มีความเสถียร
และความเร็วเหมาะสมกับการจัดการเรียนรูและบริหารจัดการ
❑ จัดตั้งและบริหารกองทุนเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
❑ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการสื่อสารภายในและภายนอกองคกร
วิธีการ
ยุทธศาสตรที่ ๕ : ระบบสื่อสารและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
10
เปาประสงค
ผลลัพธที่ตองการ
✦ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพตามเปาหมายการปฏิรูประบบการศึกษา
✦ กระบวนการจัดการเรียนการสอนดีขึ้น
✦ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น
✦ พ.ร.บ. ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. .... ฉบับใหม
✦ มีระบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เปนรูปธรรม
✦ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสวัสดิการที่เหมาะสม มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และมีความกาวหนาในวิชาชีพ
◆ หนวยงานที่เกี่ยวของรวมกันจัดทำแผนการผลิต การสรรหา และการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
◆ ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพัฒนาตามเสนทางวิชาชีพทั้งระบบตามศักยภาพ เพื่อยกระดับ
การประกอบวิชาชีพตามระดับคุณภาพของมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ
◆ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพและจรรยาบรรณของวิชาชีพสอดคลองกับความตองการของ
สถานศึกษาและทองถิ่น
❑ ผลิตและพัฒนาครูใหมีคุณภาพตรงตามความตองการและรองรับการพัฒนาของประเทศ
❑ พัฒนาระบบการผลิต การสรรหา และการพัฒนาครูที่มีประสิทธิภาพ
❑ ผลิตและพัฒนา Smart Teacher เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน
❑ จัดทำฐานขอมูลกลางของครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกสังกัดใหเปนปจจุบัน ที่สามารถเชื่อมโยง
และใชรวมกันได
❑ ปรับแนวคิดการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยเนนการพัฒนาที่สงผลตอผูเรียน
❑ ลดภาระงาน /กิจกรรมที่ไมเกี่ยวกับการเรียนการสอนของครูและนักเรียน
❑ ใหครูเนนบทบาท Facilitator Motivation Inspiration Coaching โดยใหสถาบันอุดมศึกษาเปนพี่เลี้ยง
❑ ปรับปรุงกฎหมาย หลักเกณฑ วิธีการ หลักสูตร และระเบียบที่เกี่ยวของกับการสรรหา คัดกรองผูประกอบ
วิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา
❑ สงเสริมและพัฒนาการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหเปนมาตรฐานเดียวกัน
❑ พัฒนาระบบกำกับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล การผลิต การสรรหาและพัฒนาครูอยางมีประสิทธิภาพ
❑ ปรับปรุงหลักเกณฑและวิธีการประเมินเพื่อใหมีหรือเลื่อนวิทยฐานะใหสอดคลองกับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน
❑ สรางความเชื่อมั่นในการใหบริการทางวิชาชีพของผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาเพื่อเปนหลักประกัน
คุณภาพแกสังคม
❑ สงเสริมดานการจัดสวัสดิการ สวัสดิภาพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตครูและบุคลากรทางการศึกษา
❑ พัฒนาคุณภาพชีวิตครูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
❑ สงเสริมและสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาการจัดรูปแบบสวัสดิการและสวัสดิภาพแกครูและบุคลากรทางการศึกษา
❑ ปรับระบบการผลิต คัดสรร คาตอบแทนและสวัสดิการใหสามารถดึงดูดคนเกงและคนดีมาเปนครู
วิธีการ
ยุทธศาสตรที่ ๖ : พัฒนาระบบการผลิต การสรรหา และการพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศึกษา
11
เปาประสงค
ผลลัพธที่ตองการ
✦ รูปแบบโครงสรางกระทรวงศึกษาธิการที่ชัดเจนและยึดประโยชนของผูเรียนเปนสำคัญ
✦ การบูรณาการการทำงานรวมกันอยางคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด
✦ มีการบริหารจัดการทั้งระบบอยางมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล
✦ นโยบาย แผน และมาตรฐานที่นำไปปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ
✦ ฐานขอมูลที่ทันสมัยและนาเชื่อถือสามารถเชื่อมโยงฐานขอมูลกับหนวยงานอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ
◆ หนวยงานมีระบบบริหารจัดการที่คลองตัวและมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล
◆ มีกลไกการบริหารและการประสานงานการจัดการศึกษาสวนกลางและในพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ
◆ มีนโยบาย แผน มาตรฐานและการติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาที่หนวยงานปฏิบัติสามารถนำไป
บริหารจัดการไดอยางมีประสิทธิภาพ
❑ ปรับปรุง แกไขประกาศใชกฎหมาย กฎกระทรวงที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับการดำเนินงาน
❑ ปรับโครงสรางองคกรและอำนาจหนาที่ขององคกรใหเอื้อตอการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพและรองรับ
การปฏิรูปประเทศ
❑ มีกลไกการบริหารจัดการศึกษาในระดับพื้นที่อยางเปนเอกภาพ
❑ เรงรัดการดำเนินการกระจายอำนาจการบริหารจัดการศึกษาใหหนวยงานในพื้นที่อยางแทจริง
❑ จัดระบบการบริหารจัดการภายในหนวยงานใหมีประสิทธิภาพ
❑ เสริมสรางความรวมมือทางดานการศึกษาระหวางภาครัฐกับภาคเอกชนทั้งในและตางประเทศ
❑ จัดทำนโยบาย แผน มาตรฐานการศึกษาแหงชาติ และขับเคลื่อนใหนำไปสูการปฏิบัติ
❑ จัดทำและทบทวนแผนใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมและเศรษฐกิจ
วิธีการ
ยุทธศาสตรที่ ๗ : ระบบการบริหารจัดการ
12
เปาประสงค
ผลลัพธที่ตองการ
✦ นักเรียน นักศึกษาทุกคนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยไมเสียคาใชจาย
✦ ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
✦ ประชากรทุกกลุมทุกวัยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
◆ นักเรียน นักศึกษาทุกกลุม ไดรับโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานตามสิทธิที่กำหนดไว
◆ ประชากรทุกกลุมทุกวัยไดรับโอกาสในการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตอยางทั่วถึง และเปนธรรม
❑ จัดการศึกษาทางไกล DLTV และ DLIT
❑ สงเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียมจากโรงเรียนวังไกลกังวลใหเปน
โรงเรียนตนทางที่มีคุณภาพ
❑ จัดระบบดูแล ชวยเหลือ เด็กออกกลางคันใหไดรับการศึกษาจนจบการศึกษา
❑ จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ฝกอบรมวิชาชีพและทักษะอาชีพ
❑ สงเสริมการจัดกระบวนการเรียนรูใหกับประชาชนโดยใชศูนยการเรียนชุมชน กศน.ตำบล และแหลงเรียนรู
ในชุมชนเปนฐาน ในการจัดการศึกษา
❑ สงเสริมการจัดการศึกษาเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ
❑ จัดหาทุนและแหลงทุนทางการศึกษา
❑ กำหนดเงื่อนไขสำหรับผูที่รับทุนการศึกษาของรัฐใหมีความชัดเจน
❑ พัฒนาการจัดการศึกษาสำหรับเขตพื้นที่หางไกล
❑ สนับสนุนและสงเสริมใหเด็กพิการไดรับการศึกษาอยางทั่วถึงและเสมอภาค และสอดคลองกับความตองการ
จำเปนพิเศษของแตละบุคคล
❑ สนับสนุนและสงเสริมใหเด็กดอยโอกาสไดรับโอกาสทางการศึกษาอยางทั่วถึงและเหมาะสมตามบริบท
และอัตลักษณแหงตน
❑ สงเสริมและสนับสนุนศูนยดูแลครูและบุคลากรทางการศึกษาผูสูงอายุ เพื่อเปนแหลงสรางองคความรู
ของชุมชนและทองถิ่น
❑ สงเสริมใหประชาชนที่ไมจบการศึกษาขั้นพื้นฐานไดรับโอกาสในการเรียนรูตามความตองการและศักยภาพ
❑ พัฒนาระบบเทียบโอนเพื่อใหประชาชนทุกคนมีโอกาสเขาถึงการศึกษาและการเรียนรูอยางตอเนื่อง
ตลอดชีวิต
วิธีการ
ยุทธศาสตรที่ ๘ : สรางโอกาสทางการศึกษา
13
เปาประสงค
ผลลัพธที่ตองการ
✦ การจัดการศึกษาเหมาะสม สอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี อัตลักษณ และ
ความตองการของพื้นที่
✦ เครือขายหนวยงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตทำหนาที่ขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาใน
จังหวัดชายแดนภาคใตอยางเปนระบบ
✦ ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
✦ ประชาชนในพื้นที่เขาถึงแหลงเรียนรูในรูปแบบที่หลากหลาย
✦ ประชากรวัยเรียนทุกระดับการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
✦ ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
◆ ประชากรวัยเรียนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตเขาถึงการศึกษาอยางเสมอภาค
◆ ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตไดรับการพัฒนาศักยภาพและยกระดับคุณภาพชีวิต
◆ ครูมีความปลอดภัย มีขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน
◆ การบริหารจัดการเงินอุดหนุนการศึกษาเปนไปดวยความถูกตอง
◆ มีหนวยงานรับผิดชอบขับเคลื่อนการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใตอยางเปนรูปธรรม
❑ พัฒนาการจัดการศึกษา/หลักสูตร/ครูอาจารยที่หลากหลายอยางมีคุณภาพ เปนไปตามบริบท อัตลักษณ
ความตองการของพื้นที่
❑ ขยายผลการศึกษาทางไกล DLTV และ DLIT
❑ จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูที่เพิ่มพูนประสบการณ
❑ สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนากีฬาเขาสูการจัดการเรียนการสอน
❑ จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต และการมีงานทำ
❑ สงเสริมความรวมมือในการจัดการศึกษาของทุกภาคสวน
❑ สรางความปลอดภัยและสวัสดิภาพของนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และทรัพยสินของโรงเรียน
❑ ปรับปรุงการบริหารจัดการเงินอุดหนุนทางการศึกษาใหเปนไปดวยความถูกตอง
❑ สนับสนุนทุนการศึกษาใหกับทายาทผูไดรับผลกระทบจากสถานการณความไมสงบในชายแดนภาคใต
วิธีการ
ยุทธศาสตรที่ ๙ : พัฒนาการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต
14
เปาประสงค
ผลลัพธที่ตองการ
✦ สรางมูลคาใหกับสินคาและบริการของไทย
✦ เพิ่มมูลคาการสงออกและลดการนำเขา
✦ เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ
✦ นวัตกรรมและองคความรูที่นำไปสูการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
◆ ไดงานวิจัยที่นำไปใชประโยชนไดจริงในเชิงสาธารณะและเชิงพาณิชย
◆ งานวิจัยและบริการวิชาการตอบสนองตอโจทยปญหาหรือความตองการของชุมชน ทองถิ่น และประเทศ
◆ มีนวัตกรรม องคความรู และฐานขอมูลดานการศึกษาที่สามารถนำไปใชเปนแนวทางในการบริการจัดการ
เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
❑ สงเสริมและพัฒนาอาจารยและนักวิจัยในสถานศึกษาใหมีศักยภาพทัดเทียมนานาชาติ
❑ สนับสนุนศูนยบมเพาะวิสาหกิจเพื่อการกำหนดเทคโนโลยีสูใชประโยชนเชิงพาณิชย
❑ สงเสริมการวิจัย การบริการ รักษาพยาบาล และสงเสริมสุขภาพ
❑ ใหบริการวิชาการ วิจัยเพื่อสรางองคความรูและถายทอดเทคโนโลยี
❑ สงเสริมงานวิจัย พัฒนานโยบาย และวิจัยองคความรูเพื่อพัฒนาการศึกษาทุกระดับ
❑ เสริมสรางและพัฒนานวัตกรรม วิจัย เทคโนโลยี และสิ่งประดิษฐที่สามารถเพิ่มมูลคาและแขงขันได
❑ สงเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนาองคความรูดานการคาและการพัฒนาที่ยั่งยืน
❑ วิจัยและพัฒนาใหเกิดนวัตกรรมที่เกิดจากทรัพยากรทองถิ่น เพิ่มมูลคาการสงออกของประเทศ
วิธีการ
ยุทธศาสตรที่ ๑๐ : การวิจัยเพื่อพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถ
ในการแขงขันของประเทศ
15
จุดเนน ๖ ยุทธศาสตร
๑. หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู
๒. การผลิตและพัฒนาครู
๓. การทดสอบ การประเมิน การประกันคุณภาพและการพัฒนา
มาตรฐานการศึกษา
๔. ผลิต พัฒนากำลังคนและงานวิจัย ที่สอดคลองกับความตองการ
ของการพัฒนาประเทศ
๕. ICT เพื่อการศึกษา
๖. การบริหารจัดการ
16
ยุทธศาสตรจุดเนนการปฏิรูปการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
17
18
ในการนำยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการไปสูการปฏิบัติ
เปนการใชแผนที่ความคิด (Mind Map) ในการดำเนินงานและ
การขับเคลื่อนนโยบาย โดยใหแตละหนวยงานวิเคราะหการดำเนินงาน
เปนขั้นตอน ไดแก การมองเห็นสภาพปญหา การวิเคราะหสาเหตุของปญหา
การหาวิธีการแกปญหา และการจัดทำแนวทางในการปฏิบัติ เพื่อนำ
ยุทธศาสตรไปสูการปฏิบัติไดอยางแทจริง ดังนี้
19
20
21
2222
23
24
25
การขับเคลื่อนและการกำกับงานของกระทรวงศึกษาธิการ
➢ มอบหมายใหรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ
และผูชวยรัฐมนตรีประจำกระทรวงศึกษาธิการขับเคลื่อนงาน
ตามนโยบาย
➢ แตงตั้งคณะกรรมการศูนยปฏิบัติการขับเคลื่อนงาน
ตามนโยบายของรัฐมนตรี (ศปข.ศธ.) ประกอบดวย
- คณะกรรมการอำนวยการ มีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
เปนประธานกรรมการ/ผูอำนวยการศูนยฯ และเลขานุการรัฐมนตรี
วาการกระทรวงศึกษาธิการ เปนกรรมการและเลขานุการ/เลขาธิการศูนยฯ
- คณะกรรมการที่ปรึกษา มีผูชวยรัฐมนตรีประจำกระทรวงศึกษาธิการ
เปนประธานกรรมการ และนายเทียนชัย จูเจี่ย เปนกรรมการและเลขานุการ
- คณะกรรมการขับเคลื่อนงานตามนโยบายฯ มีเลขาธิการ
ศูนยปฏิบัติการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐมนตรี
(เลขานุการรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ) เปนประธานกรรมการ
และผูอำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร สำนักงานปลัด
กระทรวงศึกษาธิการเปนกรรมการและเลขานุการ
26
การมอบหมายการดำเนินงานของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
รัฐมนตรีชวย
วาการกระทรวง
ศึกษาธิการ
(พลเอก สุรเชษฐ
ชัยวงศ)
รัฐมนตรีชวย
วาการกระทรวง
ศึกษาธิการ
(นายธีระเกียรติ
เจริญเศรษฐศิลป)
ผูชวยรัฐมนตรี
ประจำกระทรวง
ศึกษาธิการ
๑. การแปลงกระแสพระราชดำรัสของ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ
ที่เกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาไปสูการปฏิบัติ
✓
๒ การปฏิรูปการศึกษา ✓
๓. การแกไขปญหาการทุจริต ✓
๔. การลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ✓
๕. การจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต ✓
๖. การปรับปรุงโครงสรางเวลาเรียน
(ระดับชั้น ป. ๑-ม. ๓)
✓
๗. การยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษ
ในทุกหลักสูตร
✓
๘. การสรางคานิยมอาชีวศึกษา ✓
๙. การจัดการเรียนการสอนทวิภาคีรวมกับ
สถานประกอบการ
✓
27
นโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
รัฐมนตรีชวย
วาการกระทรวง
ศึกษาธิการ
(พลเอก สุรเชษฐ
ชัยวงศ)
รัฐมนตรีชวย
วาการกระทรวง
ศึกษาธิการ
(นายธีระเกียรติ
เจริญเศรษฐศิลป)
ผูชวยรัฐมนตรี
ประจำกระทรวง
ศึกษาธิการ
๑๐. การแกไขปญหาทะเลาะวิวาทของนักเรียน
นักศึกษา
✓
๑๑. การสงเสริมอาชีวศึกษาใหมีความเปนเลิศ
เฉพาะดาน
✓
๑๒. การจัดการอาชีวศึกษาสูมาตรฐานสากล ✓
๑๓. การผลิตนักศึกษาตามความถนัด
และความเปนเลิศของแตละสถาบัน
✓
๑๔. การกำหนดเปาหมายผลผลิตทางการศึกษา
เพื่อใหเกิดนวัตกรรมจากทรัพยากรในทองถิ่น
✓
๑๕. การสรางความเขมแข็งของโรงเรียนในทองถิ่น
โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเปนพี่เลี้ยง
✓
๑๖. การกระจายโอกาสทางการศึกษา
“โครงการติวเขมเติมเต็มความรู”
✓
๑๗. การพัฒนากำลังคนดานอาชีวศึกษา
ของ กศน.
✓
๑๘. การสงเสริม กศน. ตำบล เปนกลไกสำคัญ
ในการขับเคลื่อนระหวางบาน วัด โรงเรียน
✓
๑๙. การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ✓
28
พลเอก
(ดาวพงษ รัตนสุวรรณ)
รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
รัฐมนตรีชวย
วาการกระทรวง
ศึกษาธิการ
(พลเอก สุรเชษฐ
ชัยวงศ)
รัฐมนตรีชวย
วาการกระทรวง
ศึกษาธิการ
(นายธีระเกียรติ
เจริญเศรษฐศิลป)
ผูชวยรัฐมนตรี
ประจำกระทรวง
ศึกษาธิการ
๒๐. การสอนใหเด็กใชหลักเหตุผลในการตัดสินใจ
มากกวาใชความรูสึกตามกระแสสังคม
✓ ✓ ✓
๒๑. การลดภาระงาน/กิจกรรม ที่ไมเกี่ยวกับ
การเรียนการสอนของครู และนักเรียน
✓
๒๒. การประเมินเพื่อมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ
ใหสอดคลองกับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน
✓
๒๓. การสงเสริมดานสวัสดิการและสวัสดิภาพครู
และบุคลากรทางการศึกษา
✓
๒๔.การบูรณาการการดำเนินงานระหวาง
กระทรวงศึกษาธิการกับหนวยงานอื่น
✓ ✓ ✓
๒๕. การขับเคลื่อนโครงการอบรม/สัมมนา
ใหบรรลุตามวัตถุประสงค
✓
๒๖. การนำ ICT มาใชในการบริหารงาน
อยางทั่วถึง มีประสิทธิภาพ
✓
๒๗.การอำนวยการเมื่อเกิดเหตุการณฉุกเฉิน ✓
แนวทางการปฏิรูปการศึกษา
พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
ฏ ู
พนเอก ณฐพงษ เพราแกว
เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
หัวข้อการบรรยายหวขอการบรรยาย
11 เป้าหมายการปฏิรปการศึกษาเป้าหมายการปฏิรปการศึกษา11.. เปาหมายการปฏรูปการศกษาเปาหมายการปฏรูปการศกษา
22.. ขณะนี้การศึกษาไทยอย่ตรงไหนขณะนี้การศึกษาไทยอย่ตรงไหน22.. ขณะนการศกษาไทยอยูตรงไหนขณะนการศกษาไทยอยูตรงไหน
33.. ขณะนี้กําลังดําเนินการอะไร และจะดําเนินการอะไรต่อไปขณะนี้กําลังดําเนินการอะไร และจะดําเนินการอะไรต่อไป
33..11 หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้
ัั33..22 การผลิตและพัฒนาครูการผลิตและพัฒนาครู
33..33 การผลิตคนให้ตรงกับความต้องการของประเทศการผลิตคนให้ตรงกับความต้องการของประเทศ33..33 การผลตคนใหตรงกบความตองการของประเทศการผลตคนใหตรงกบความตองการของประเทศ
33..44 การประเมินและประกันคุณภาพการศึกษาการประเมินและประกันคุณภาพการศึกษา
33..55 ICTICT เพื่อการศึกษาเพื่อการศึกษา
หัวข้อการบรรยายหวขอการบรรยาย
33 66 การบริหารจัดการการบริหารจัดการ33..66 การบรหารจดการการบรหารจดการ
33..66..11 การจัดการศึกษาการจัดการศึกษา
33..66..22 การบริหารจัดการโดยใช้ภูมิภาคเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้ภูมิภาคเป็นฐาน
33..66..33 การสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษาการศึกษา
33..66..44 การติดตามและประเมินผลการติดตามและประเมินผล
1. เป้าหมายการปฏิรป. เป ม ย รปฏรูป
การศึกษา
เป้าหมายการพัฒนาแห่งเป้าหมายการพัฒนาแห่ง
สหัสวรรษสหัสวรรษสหสวรรษสหสวรรษ
((ภายใน ปี คภายใน ปี ค..ศศ..20152015 ))
((MillenniumMillennium((
Development Goals)Development Goals)
เป้ าหมายการพัฒนาด้านการศึกษาเป้ าหมายการพัฒนาด้านการศึกษา
““เด็กไทยทกคนได้รับการศึกษาระดับเด็กไทยทกคนได้รับการศึกษาระดับ
5
““เดกไทยทุกคนไดรบการศกษาระดบเดกไทยทุกคนไดรบการศกษาระดบ
ประถมศึกษาภายในปีประถมศึกษาภายในปี 25582558”” ((ยังไม่บรรลุเป้ าหมาย))
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วาระการศึกษาขององค์กรสหประชาชาติ ภายในปี พวาระการศึกษาขององค์กรสหประชาชาติ ภายในปี พ..ศศ.. 25732573
((EducationEducation 20302030))
้ ั ึ ี่ ี ่ ป็้ ั ึ ี่ ี ่ ป็
6
““ต้องจัดการศึกษาทีมีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเป็นธรรมต้องจัดการศึกษาทีมีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเป็นธรรม
และต้องส่งเสริมโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตและต้องส่งเสริมโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต”” ((แผนงานปัจจุบันแผนงานปัจจุบัน))
แผนการศึกษาอาเซียน 2559-2563แผนการศกษาอาเซยน 2559 2563
(THE ASEAN WORK PLAN ON EDUCATION 2016-2020)
ประเด็นสําคัญด้านการศึกษา (K El t Ed ti )ประเดนสาคญดานการศกษา (Key Elements on Education)
1. ส่งเสริมให้เกิดความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนผ่านการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
และความร้พื้นเมืองและความรูพนเมอง
2. ยกระดับคุณภาพและสร้างโอกาสการเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับ
ทุกคนโดยไม่ละเลยผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส
3 พัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร3. พฒนาการใชเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร
4. สนับสนุนการพัฒนาการอาชีวศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตในภูมิภาค
5. ส่งเสริมการดําเนินงานของทุกภาคส่วนในการพัฒนาคนให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของตลาดแรงงานเพื่อให้บรรลตามเป้ าหมายของการจัดความตองการของตลาดแรงงานเพอใหบรรลุตามเปาหมายของการจด
การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
6. เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับการอุดมศึกษาด้วยการพัฒนาระบบประกัน
คณภาพทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพคุณภาพทางการศกษาทมประสทธภาพ
7. ส่งเสริมบทบาทของการอุดมศึกษาให้เข้มแข็งด้วยการสร้างเครือข่ายระหว่าง
ผู้ประกอบการกับมหาวิทยาลัย
8. ดําเนินโครงการพัฒนาศักยภาพครและบคลากรทางการศึกษา8. ดาเนนโครงการพฒนาศกยภาพครูแล บุคลากรทางการศกษา
ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ 2121
33RR 88CC
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ในคราวประชุมนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู
Reading
33R xR x 88CC อยากรู้อยากเห็น
คิดสร้างสรรค์
มีเหตุผล
คิดวิเคราะห์
ั ใ ้ โ โ ี
Writing
g
อยากลองสิ่งใหม่
รู้จักปรับตัว
ทักษะการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
ทักษะการสื่อสาร
Arithmetic
์
เรียนรู้ด้วยตนเอง มีความสามารถในการพัฒนา
ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์
(Cross-cultural Understanding)
ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
และทักษะในการแก้ปัญหา
Partnership for 21st century learning ศ.นพ.วิจารณ์ พาณิช
ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
(Creativity and Innovation)
ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(Computing and ICT Literacy)
(Critical Thinking and Problem Solving)
(Creativity and Innovation)
ทักษะด้านความร่วมมือ การทํางานเป็นทีม และภาวะผู้นํา
(Collaboration, Teamwork and Leadership)
ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้
(Career and Learning Skills)
์ ์ ั
ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ
(Communications, Information, and Media Literacy)
ความมีเมตตากรุณา (Compassion)
(วินัย, คุณธรรม, จริยธรรม ฯลฯ)
พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รมว.ศธ
ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ 2121
คนไม่รู้หนังสือ หมายถึง
ในอดีต
ู
คนที่อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้
ปัจจุบัน
คนไม่รู้หนังสือ หมายรวมถึง
คนที่เรียนร้ไม่เป็น แสวงหาความร้ด้วยตนเองไม่ได้น เรยนรูไมเปน แ มรู ย นเอ ไมไ
2. ปัจจบันการศึกษาไทย. ปจจุบน ร ษ ไ ย
อยู่ตรงไหนู
13
เด็กเครียด การเรียนเนื้อหาไม่สอดคล้องกับบริบท
ั ์ ่ํเดกเครยด
กระบวนการเรียนรู้ไม่
พัฒนาทักษะเด็ก
ภาษาอังกฤษ
ขาด
มาตรฐานเด็กเรียนเยอะ
เด็กไม่มีความสุขกับ
การเรียน
เนอ ไมสอ ลอ บบรบ
ของสังคมที่เปลี่ยนแปลงผลสัมฤทธิตํา
ไ ้
ภาระงานเยอะ
ขาดกําลัง
แรงงาน
สาย
งานวิจัยไม่
สามารถ
นําไปใช้
ขาด
ระเบียบ
วินัย
หลักสูตรและหลักสูตรและ
กระบวนการเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้
ครูไม่ครบชัน
สอนไม่ตรงเอก
ครูขาดขวัญ
สาย
วิชาชีพ
มาตรฐานฝีมือ
่
นาไปใช
งานได้จริง
การการผลิต พัฒนาผลิต พัฒนา
กําลังคนและงานวิจัยกําลังคนและงานวิจัยครูครูครูไม่เก่ง
ู
และกําลังใจ ยังไม่เป็นที่ยอมรับจาก
สถานประกอบการ
การผลิตบัณฑิต
การประเมินการประเมินการบริหารการบริหาร
ในสาขาวิชาที่ไม่เป็นไปตาม
ความต้องการของประเทศขาดการ
บูรณาการ
การประเมนการประเมน
และการพัฒนาและการพัฒนา
มาตรฐานการศึกษามาตรฐานการศึกษา
การบรหารการบรหาร
จัดการจัดการ
การประเมินสถานศึกษา
การประเมินครู
การกํากับดแลขาด
การกระจาย
อํานาจ
ICT เพื่อ
การศึกษา
ขาดความเสถียร
ไม่ทันสมัย
ไม่ได้นําข้อมูลมาใช้
ในการตัดสินใจ
ระบบ
การศึกษา
ต่อในแต่
ประเมิน
ผลสัมฤทธิ์ระบบงบประมาณ
่
การกากบดูแลขาด
ประสิทธิภาพ
ไม่ทั่วถึง ทับซ้อน ขาดการบูรณาการ
ผลิตแต่ไม่เผยแพร่
และนําไปใช้
ตอในแต
ละระดับ
ของผู้เรียนที่ไม่สอดคล้องต่อ
การดําเนินงาน
ภาพรวมของการจัดอันดับขีดความสามารถ
ในการแข่งขันของประทศ จาก IMD*
่
ปัจจุบัน
เดิม ลําดับที่ 61
ุ
ลําดับที่ 28
* International Institute for Management Development
ตัวที่ยังมีปัญหาอยู่ในหมวดโครงสร้าง
้พื้นฐาน ในปี 2559
บุคลากรการแพทย์
การประหยัดพลังงาน
ั ้การพัฒนาความสามารถด้านภาษา
ของบุคลากร
เฉพาะด้านการศึกษาในหมวดพื้นฐาน
เปรียบเทียบ 3 ปี (จาก 61 ประเทศ)
ปี 2557 54/61 ตัวชี้วัดที่มีเกณฑ์ต่ํา ประกอบด้วย
ความสามารถด้าน- ความสามารถดาน
ภาษาอังกฤษ
การสอนวิชาวิทยาศาสตร์
ปี 2558 48/61
- การสอนวชาวทยาศาสตร
- การจัดการศึกษาใน
มหาวิทยาลัยมหาวทยาลย
- การบริการการศึกษาให้
ตอบสนองความจําเป็นของ
ปี 2559 52/61
ตอบสนองความจาเปนของ
ธุรกิจ
World Talent Ranking
งบลงทุนด้านการศึกษา อันดับที่ 2 /61ุ
สัดส่วนจํานวนครูต่อนักเรียนในระดับมัธยม 55/61
หลักเกณฑ์การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน
(Global Competitive Index: GCI)(Global Competitive Index: GCI)
19
World Economic Forum
การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน(ด้านการศึกษา)
ี ีพ.ศ. 2558-2559 (ข้อมูลเปรียบเทียบจาก 140 ประเทศ)
World Economic Forum
การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน(ภาพรวมทุกปัจจัย)
พ ศ 2558 2559 (ข ้อมลเปรียบเทียบจาก 140 ประเทศ)
131เมียนม่าร์
พ.ศ. 2558-2559 (ขอมูลเปรยบเทยบจาก 140 ประเทศ)
83
90
131
ลาว
กัมพูชา
เมยนมาร
47
56
83
ฟิลิปปินส์
เวียดนาม
ลาว
32
37
47
ไทย
อินโดนีเซีย
ฟลปปนส
2
18
32
สิงค์โปร์
มาเลเซีย
ไทย
6
2
0 20 40 60 80 100 120 140
ญี่ปุ่น
สงคโปร
0 20 40 60 80 100 120 140
หมายเหตุ ตัวเลขในกราฟแสดงอันดับ 1-140
World Economic Forum
ตัวชี้วัด เสาหลักที่ 4 สุขภาพและการประถมศึกษา(Health and primary education)
เกณฑ์การศึกษาระดับประถมศึกษา(Primary education)(ภาพรวมประถมศึกษา)เกณฑการศกษาระดบประถมศกษา(Primary education)(ภาพรวมประถมศกษา)
พ.ศ. 2558-2559 (ข ้อมูลเปรียบเทียบจาก 140 ประเทศ)
77
122
กัมพูชา
เมียนม่าร์
56
69
เวียดนาม
ลาว
71
82
ไ
อินโดนีเซีย
ฟิลิปปินส์
14
74
สิ ์โป ์
มาเลเซีย
ไทย
4
3
0 20 40 60 80 100 120 140
ญี่ปุ่น
สงคโปร
หมายเหตุ ตัวเลขในกราฟแสดงอันดับ 1-140
0 20 40 60 80 100 120 140
World Economic Forum
การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน(ด้านการศึกษา)
ี ีพ.ศ. 2558-2559 (ข้อมูลเปรียบเทียบจาก 140 ประเทศ)
World Economic ForumUNESCO Institute for Statistics
อัตราการเข ้าเรียนระดับประถมศึกษา
World Economic Forum
อัตราการเข ้าเรียนระดับประถมศึกษา(Primary education enrollment rate)
พ.ศ. 2558-2559 (ข ้อมูลเปรียบเทียบจาก 140 ประเทศ)
UNESCO Institute for Statistics
(UIS) ,2013
37
17
115
ลาว
กัมพูชา
เมียนม่าร์N/A
124 % 98 %
N/A
96 %123 %
100
27
ิ โ ี ซี
ฟิลิปปินส์
เวียดนาม98 %105 %
89 %106 %
97 %109 %
41
54
80
มาเลเซีย
ไทย
อนโดนเซย97 %109 %
96 %97 %
97 %101 %
2
1
0 20 40 60 80 100 120 140
ญี่ปุ่น
สิงค์โปร์N/A N/A
100 %103 %
หมายเหตุ ตัวเลขในกราฟแสดงอันดับ 1-140
0 20 40 60 80 100 120 140
Gross 
Enrolment 
Ratio
(อัตราส่วน
Net  
Enrolment 
Ratio
(อัตราส่วน
นักเรียนต่อ
ประชากรระดับ
ประถมศึกษา)
นักเรียนอายุ
6-11 ปีต่อ
ประชากรกลุ่ม
เดียวกัน)
World Economic Forum
ตัวชี้วัด เสาหลักที่ 5 การอุดมศึกษาและการฝึกอบรม(Higher education and training)
(ภาพรวมการอดมศึกษาและการฝึกอบรม)(ภาพรวมการอุดมศกษาและการฝกอบรม)
พ.ศ. 2558-2559 (ข ้อมูลเปรียบเทียบจาก 140 ประเทศ)
123
134
กัมพูชา
เมียนม่าร์
95
112
ฟิ ิปปิ ์
เวียดนาม
ลาว
56
65
63
ไทย
อินโดนีเซีย
ฟิลิปปินส์
1
36
56
สิงค์โปร์
มาเลเซีย
ไทย
21
1
0 20 40 60 80 100 120 140 160
ญี่ปุ่น
สงคโปร
หมายเหตุ ตัวเลขในกราฟแสดงอันดับ 1-140
World Economic Forum
การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน(ด้านการศึกษา)
ี ีพ.ศ. 2558-2559 (ข้อมูลเปรียบเทียบจาก 140 ประเทศ)
World Economic Forum
การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน(ด้านการศึกษา)
ี ีพ.ศ. 2557-2558 (ข้อมูลเปรียบเทียบจาก 144 ประเทศ)
World Economic Forum
การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน(ด้านการศึกษา)
ี ีพ.ศ. 2556-2557 (ข้อมูลเปรียบเทียบจาก 148 ประเทศ)
สถานการณ์การศึกษาของประเทศไทย
ทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกษา
112 %112 %
ของเด็กที่ลงทะเบียนเรียนในระดับก่อนประถมศึกษา
97 % ั ป ึ97 % ระดับประถมศึกษา
เข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 99 %
มัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ 79 %
มัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพ 15 %
51 % เข้าเรียนระดับอุดมศึกษา
ที่มา : UNESCO Institute for Statistics (UIS) ,2013
สถานการณ์การศึกษาของประเทศไทย
ปี การศึกษาเฉลี่ยของ
้
6.6 ปี
อัตราส่วนครูต่อนักเรียน
ประชากรอายุ15 ปี ขึ้นไป
* ค่าเฉลี่ยทั่วโลก 6.2 ปี
98.1% 16 : 1 (ประถม)
21 : 1 (ม.ต้น)
18 : 1 (ม ปลาย )
98.1%
อัตราการรู้หนังสือ
ของเยาวชนไทยอายุ
ปี 18 : 1 (ม.ปลาย )15 – 24 ปี
ขนาดห้องเรียน
19 คน (ประถม)
29.5% ( )
34 คน (ม.ต้น)งบประมาณทางการศึกษา
ในทุกระดับการศึกษาต่อ
งบประมาณแผ่นดินทั้งหมด
ที่มา : UNESCO Institute for Statistics (UIS) ,2013 C
สถานการณ์การศึกษาของประเทศไทย
รางวัลระดับนานาชาติ
ี ั2016 : 6 เหรียญทอง และ รางวัล The best man inventor จาก การ
แข่งขัน Asian Young Inventors Exhibition 2016
ณ ประเทศมาเลเซียณ ประเทศมาเลเซย
2016 : 2 เหรียญทอง 3 เหรียญทองแดง 3 เกียรติคุณประกาศ
จากการแข่งขันฟิ สิกส์โอลิมปิ กระดับทวีปเอเชีย ที่ เขตบริหารพิเศษ
ฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน
2015: 5เหรียญทอง 9 เหรียญเงิน 5 เหรียญทองแดง ชมเชย 5
รางวัล รวม 24 รางวัล 48 เหรียญ ในการแข่งขัน International
Teenagers Mathematics Olympiad 2015 ณ ประเทศมาเลเซีย
สถานการณ์การศึกษาของประเทศไทย
ประเด็นที่ต้องเร่งแก้ไข
ภาคเอกชนมีส่วนร่วม
ในการจัดการศึกษา
18 %
now
ในการจดการศกษา
ป้ ั ่G l
15 % 50 %
เป้ าหมายสดสวน
นักเรียนมัธยมปลาย
now Goal
สายอาชีพ
ม.ต้น
การศึกษาของประชากร
ั
32.2 %
ม ปลาย
วัยแรงงานม.ปลาย
22.4 % ตํ่ากว่าหลายๆ ประเทศ*
สถานการณ์การศึกษาของประเทศไทย
PiPisa 2012
427
TIMSS ป.4
458
TIMSS ม.2
427427 458 427
444 472 451
441
TIMSS* ค่าเฉลี่ยนานาชาติ 500 คะแนน
(Trends in International Mathematics and Science Study) 
PISA* ไทยอยู่ลําดับที่ 50 จาก 65 ประเทศ
(P f I i l S d A )(Programme for International Student Assessment) 
ที่มา : PISA 2012 , TIMSS 2011
ผลการศึกษาผลการศึกษาคณิตศาสตร์คณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐานขั้นพื้นฐาน
ั ี ไ ี ่ ั ี ใ ส ั ิ ป ศ ่ โ ปั ี ไ ี ่ ั ี ใ ส ั ิ ป ศ ่ โ ปของนกเรยนไทยเทยบเทานกเรยนในสหรฐอเมรกาและประเทศกลุมยุโรปของนกเรยนไทยเทยบเทานกเรยนในสหรฐอเมรกาและประเทศกลุมยุโรป
(PISA)
(Programme for International Student Assessment)
500
600
OECD (EU) 494
(Programme for International Student Assessment) 
300
400USA 481
427
่
100
200
คะแนนเฉลี่ยประเทศไทย
0
100
ข้อมูลจาก สสวท.
ผลการทดสอบ PISA 2012 นักเรียนระดับ ม.3 และ ม.4(อายุ 15ปี) จาก รร.กลุ่มตัวอย่าง 273 รร. จํานวน นร.ที่ทําการทดสอบ 8,937 คน
35
ั ี่ ่ ็ ไ ีตวเลขทีแสดงวาเดกไทยเรียนเยอะ
จํานวนชั่วโมงเรียนต่อปี ของนักเรียนในระดับอายต่างๆ (ข้อมลจาก UNESCO)จานวนชวโมงเรยนตอป ของนกเรยนในระดบอายุตางๆ (ขอมูลจาก UNESCO)
ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1
อันดับ 2 ของโลก อันดับ 1 ของโลก อันดับ 1 ของโลก อันดับ 5 ของโลก อันดับ 8 ของโลก
1,080 ชม./ปี 1,200 ชม./ปี 1,200 ชม./ปี 1,167 ชม./ปี 1,167 ชม./ปี
ผลการจัดอันดับความรู้ภาษาอังกฤษ
จาก 10 ประเทศอาเซียน
ลําดับที่ลําดับที่ ประเทศประเทศ // %%ของคนที่พดภาษาอังกฤษได้ของคนที่พดภาษาอังกฤษได้ลาดบทลาดบท ประเทศประเทศ // %%ของคนทพูดภาษาองกฤษไดของคนทพูดภาษาองกฤษได
1 สิงคโปร์สิงคโปร์ 7171 %%
2 ฟิลิปปินส์ฟิลิปปินส์ 5555..4949%%
ไไ3 บรูไน ดาบรูไน ดารุสรุสซาลามซาลาม 3737..7373 %%
4 มาเลเซียมาเลเซีย 2727..2424 %%4 มาเลเซยมาเลเซย 2727..2424 %%
5 ไทยไทย 1010 %% ((66..5454 ล้านคนล้านคน))
ํ โ ี ี่ไ ่ ่ ป ิจํานวนโรงเรียนทีไม่ผ่านการประเมิน
่จํานวนโรงเรียน
ทั้งหมด
โรงเรียนที่ผ่านการ
ประเมิน
โรงเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน
โ ้(โรง) (โรง/ร้อยละ) (โรง/ร้อยละ)
30,742
23,810
(77 45)
6,932
(22 55)(77.45) (22.55)
ํ ป ์ ็ ์ ั ิจานวนเปอร์เซนต์บณฑิตตกงาน
จํานวนผู้ตอบ ยังไม่ได้ทํางาน
ร้อยละ
แบบสอบถาม และไม่ได้ศึกษาต่อ
รอยละ
109,202 25,925 23.7
33.. ขณะนี้ขณะนี้กําลังดําเนินการอะไรกําลังดําเนินการอะไร33.. ขณ นขณ น ล เนน รอ ไรล เนน รอ ไร
และจะดําเนินการอะไรต่อไปและจะดําเนินการอะไรต่อไป
10 การวิจัยเพื่อพัฒนา
1. หลักสูตรและ
กระบวนการเรียนรู้ 2. พัฒนาระบบการผลิต10. การวจยเพอพฒนา
และเพิ่มขีดความสามารถ
ในการแข่งขันของประเทศ
การสรรหา และการพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศึกษา
33.. ระบบตรวจสอบและระบบตรวจสอบและ
ประเมินคุณภาพการศึกษาประเมินคุณภาพการศึกษา
9 พัฒนาการศึกษา
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนและ
ปฏิรปด้านการพัฒนาทรัพยากรมนษย์
ุุ
9. พฒนาการศกษา
จังหวัดชายแดนภาคใต้
4. การผลิตและพัฒนา
กําลังคนให้สอดคล้องกับ
ปฏรูปดานการพฒนาทรพยากรมนุษย
และระบบการศึกษา
8. สร้างโอกาส กาลงคนใหสอดคลองกบ
ความต้องการของประเทศ
8. สรางโอกาส
ทางการศึกษา
7. ระบบงบประมาณ
และทรัพยากร
55.. ระบบสื่อสารและระบบสื่อสารและ
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
และทรพยากร
เพื่อการศึกษา
6. ระบบบริหารจัดการ
จุดเน้นจุดเน้น 66 ยุทธศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการยุทธศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ ((การศึกษาในระบบการศึกษาในระบบ))
6 การบริหาร 2 การผลิต
1. หลักสูตรและ
กระบวนการเรียนรู้
6. การบรหาร
จัดการ
2.การผลต
และพัฒนาครู
ิ ึ
3. การทดสอบ
การประเมิน
่
การปฏิรูปการศึกษา
การประเมน
การประกันคุณภาพ
และการพัฒนา
มาตรฐานการศึกษา
5. ICT เพื่อ
การศึกษา มาตรฐานการศกษา
44.. ผลิต พัฒนากําลังคนและงานวิจัยผลิต พัฒนากําลังคนและงานวิจัย
ที่สอดคล้องกับความต้องการที่สอดคล้องกับความต้องการทสอดคลองกบความตองการทสอดคลองกบความตองการ
ของการพัฒนาประเทศของการพัฒนาประเทศ
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน
สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
eeii
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
Nattha Namm
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
thnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
phornphan1111
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
teerachon
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
Bio Beau
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อม
Jit Khasana
 

La actualidad más candente (20)

การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อม
 

Destacado

พนักงานราชการ
พนักงานราชการพนักงานราชการ
พนักงานราชการ
luxjang
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
Rawiwan Promlee
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Fern's Supakyada
 
Delivering on the Promise of CLASS
Delivering on the Promise of CLASSDelivering on the Promise of CLASS
Delivering on the Promise of CLASS
Teachstone
 

Destacado (20)

นโยบายรัฐบาล พลเอกประยุทธ์
นโยบายรัฐบาล พลเอกประยุทธ์นโยบายรัฐบาล พลเอกประยุทธ์
นโยบายรัฐบาล พลเอกประยุทธ์
 
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบคู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
คู่มือเตรียมสอบบรรจุครูผู้ช่วยฉบับพร้อมสอบ
 
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
 
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
 
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆเทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
เทคนิคการสอบสัมภาษณ์ ให้ผ่านง่าย ๆ
 
สอบครูผู้ช่วย ติวอินดี้ ง่ายโคตร
สอบครูผู้ช่วย  ติวอินดี้ ง่ายโคตรสอบครูผู้ช่วย  ติวอินดี้ ง่ายโคตร
สอบครูผู้ช่วย ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
พนักงานราชการ
พนักงานราชการพนักงานราชการ
พนักงานราชการ
 
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุงรวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
รวมแนวข้อสอบครูผู้ช่วยฉบับปรับปรุง
 
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
แนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย1
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพเล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
 
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตรหนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
 
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
ข้อสอบวิชาการศึกษา ชุดที่ 1-5 (150 ข้อ)
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
ETIQUETA NUTRICIONAL
ETIQUETA NUTRICIONALETIQUETA NUTRICIONAL
ETIQUETA NUTRICIONAL
 
Delivering on the Promise of CLASS
Delivering on the Promise of CLASSDelivering on the Promise of CLASS
Delivering on the Promise of CLASS
 

Similar a สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน

หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
krupornpana55
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
krupornpana55
 
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
pooh_monkichi
 
รายงายEng christmas2010
รายงายEng christmas2010รายงายEng christmas2010
รายงายEng christmas2010
Sopa
 
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
teacherhistory
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
Wareerut Hunter
 
2ปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 57 กพ 57
2ปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 57 กพ 572ปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 57 กพ 57
2ปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 57 กพ 57
krupornpana55
 
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นายจักราวุธ คำทวี
 
Order
OrderOrder
Order
laiad
 

Similar a สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน (20)

นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
 
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
 
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55docหลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
หลักสูตรปกIsม.ต้น.55doc
 
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55docหลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
หลักสูตรปกIsม.ปลาย.55doc
 
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
 
โรงเรียน สิริเทพ
โรงเรียน สิริเทพโรงเรียน สิริเทพ
โรงเรียน สิริเทพ
 
รายงายEng christmas2010
รายงายEng christmas2010รายงายEng christmas2010
รายงายEng christmas2010
 
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
 
2ปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 57 กพ 57
2ปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 57 กพ 572ปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 57 กพ 57
2ปฏิทินวิชาการภาค1 ปี 57 กพ 57
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
 
จุดเน้นเชิงนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 2560
จุดเน้นเชิงนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 2560จุดเน้นเชิงนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 2560
จุดเน้นเชิงนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 2560
 
จุดเน้นเชิงนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 2560
จุดเน้นเชิงนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 2560จุดเน้นเชิงนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 2560
จุดเน้นเชิงนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 2560
 
- แผนภูมิจุดเน้นเชิงนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายธีระเกียรติ เจร...
- แผนภูมิจุดเน้นเชิงนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายธีระเกียรติ เจร...- แผนภูมิจุดเน้นเชิงนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายธีระเกียรติ เจร...
- แผนภูมิจุดเน้นเชิงนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายธีระเกียรติ เจร...
 
การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการทางร่างกาย
การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการทางร่างกายการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการทางร่างกาย
การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการทางร่างกาย
 
3 23-6-53
3 23-6-533 23-6-53
3 23-6-53
 
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาลภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
 
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
 
Order
OrderOrder
Order
 
Buengtungsang learning
Buengtungsang learningBuengtungsang learning
Buengtungsang learning
 

Más de สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ

Más de สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ (20)

รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบบริหารเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหารรวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
รวมแนวข้อสอบเจาะข้อสอบบริหาร
 
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
 
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเก็งข้อสอบผู้บริหาร
 
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษารวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
รวมแบบทดสอบกฎหมายสำหรับนักการศึกษา
 
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
รวมแนวข้อสอบเตรียมผู้บริหารศึกษานิเทศก์
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารการศึกษา
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค กคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา ภาค ก
 
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษาคู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
คู่มือเตรียมสอบผู้บริหารสถานศึกษา
 
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
คู่มือเตรียมสอบศึกษานิเทศก์
 
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอนคู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
 
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
 
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการแนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
 
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามทุจริตของกระทรวงศึกษาธิการ
 
เอกสารนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู
เอกสารนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครูเอกสารนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู
เอกสารนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู
 
ร่่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔
ร่่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ร่่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔
ร่่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔
 
คู่มือการบริหารงานบุคคล ของ.กศจ.
คู่มือการบริหารงานบุคคล ของ.กศจ.คู่มือการบริหารงานบุคคล ของ.กศจ.
คู่มือการบริหารงานบุคคล ของ.กศจ.
 

สรุปสาระสำคัญนโยบายการศึกษารัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)และแนวทางการขับเคลื่อน

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4. 1
  • 5. 2 3
  • 6. 4 5
  • 7. 6 7
  • 8. 8 9
  • 10. 12 13
  • 11. 14 15
  • 12. 16 17
  • 13. 18 19
  • 14. 20 21
  • 15. 2322
  • 16. 24 25
  • 17. 2726
  • 18. 28 29
  • 19. 30 31
  • 20. 32 33
  • 21. 34 35
  • 22. 38 39
  • 23. 36 37
  • 24. 40 41
  • 25. 42 43
  • 26. 44 45
  • 27. 46
  • 29. 2
  • 30. 3 นโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ) พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงมีพระบรมราชโองการ โปรดเกลาฯ ประกาศแตงตั้งรัฐมนตรี ตามประกาศ ณ วันที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยแตงตั้งให พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ เปนรัฐมนตรี วาการกระทรวงศึกษาธิการ พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวง ศึกษาธิการ กำหนดการขับเคลื่อนนโยบายดานการศึกษา ประกอบดวย ๒ สวน คือ
  • 31. 4 ➢ นอมนำกระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวที่เกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษา มาเปนแนวทางปฏิบัติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงมีพระราชดำรัสเกี่ยวกับ การปฏิรูปการศึกษา ดังนี้ ๑) “ใหครูรักเด็กและเด็กรักครู” ๒) “ใหครูสอนเด็กใหมีน้ำใจกับเพื่อน ไมใหแขงขันกัน แต ใหแขงกับตัวเอง ใหเด็กที่เรียนเกงกวาชวยสอนเพื่อนที่เรียนชากวา” ๓) “ใหครูจัดกิจกรรมใหเด็กทำรวมกัน เพื่อใหเห็นคุณคา ของความสามัคคี” ➢ แนวนโยบายของนายกรัฐมนตรี(พลเอกประยุทธจันทรโอชา) วิสัยทัศน ยกระดับคุณภาพการศึกษาที่ดีขึ้น มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และลดความเหลื่อมล้ำอยางทั่วถึง ผลิตและพัฒนากำลังคน ใหสอดคลองกับความตองการและรองรับการพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ ❖ ยุทธศาสตรเพื่อการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวง ศึกษาธิการ ๑๐ ยุทธศาสตร ❖ จุดเนน ๖ ยุทธศาสตร
  • 32. 5 ยุทธศาสตรเพื่อการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตรที่ ๑ : ผลิตและพัฒนากำลังคนใหสอดคลองกับ ความตองการและรองรับการพัฒนาประเทศ เปาประสงค ผลลัพธที่ตองการ ✦ รองรับตลาดแรงงานภายในประเทศ ✦ รองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและโครงการลงทุน ขนาดใหญของรัฐบาล ✦ มีกำลังคนเพียงพอและมีสมรรถนะตรงตามความตองการของตลาดแรงงานทั้งในประเทศและตางประเทศ ✦ มีขีดความสามารถแขงขันไดในระดับสากล ✦ มีรายไดสอดคลองกับสมรรถนะวิชาชีพ ◆ กำลังคนมีคุณภาพและมาตรฐาน สอดคลองกับยุทธศาสตรพัฒนาประเทศ ◆ ผูเรียนและผูสำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา มีสมรรถนะตรงความตองการของตลาดแรงงานตามกรอบ คุณวุฒิวิชาชีพ ◆ การจัดการอาชีวศึกษาใหไดตามมาตรฐานสากล ◆ ผูเรียนจบแลวมีงานทำ ❑ จัดทำฐานขอมูลการผลิตและพัฒนาของสถานศึกษา เชื่อมโยงกับความตองการจำเปนและทิศทาง การพัฒนาประเทศ ❑ จัดทำฐานขอมูลความตองการแรงงาน รวมกับหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน ❑ ผลิตและพัฒนาศักยภาพกำลังคนใหตรงตามความตองการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ โดยจัดลำดับความเรงดวน ตามงบประมาณและทรัพยากรที่มี ❑ ผลิตนักศึกษาตามความถนัดและความเปนเลิศของแตละสถานศึกษา ❑ กำหนดบทบาทของสถานศึกษาในการผลิตนักศึกษาใหชัดเจน ❑ สงเสริมอาชีวศึกษาใหมีความเปนเลิศเฉพาะดาน และมุงสูมาตรฐานสากล ❑ สรางคานิยมอาชีวศึกษา ❑ ใหสังคมเขามาสนับสนุนการจัดการศึกษา จัดการเรียนการสอนทวิภาคีและการบูรณาการเรียนรูคูกับ การทำงาน (WIL) รวมกับสถานประกอบการ ❑ สรางความเขาใจและแสวงหาความรวมมือระหวางภาคสวนที่เกี่ยวของในการจัดการอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ❑ พัฒนาความรูดานอาชีพใหกำลังคนวัยแรงงานอยางตอเนื่อง ❑ ฝกทักษะอาชีพระยะสั้นเพื่อเพิ่มพูนความรูและการมีงานทำ ❑ พัฒนาศักยภาพกำลังคนดานการคาและการพัฒนา ❑ สงเสริมสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพใหผูมีความสามารถพิเศษทุกดานไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง เต็มตามศักยภาพ ❑ ประเมินและรับรองมาตรฐานฝมือ ตามมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพเพื่อใชประกอบการพิจารณาคาตอบแทน ที่เหมาะสมและสรางแรงจูงใจ ❑ สงเสริมทักษะอาชีพและพัฒนาฝมือแรงงานเพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ชายแดนและเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ วิธีการ
  • 33. 6 ยุทธศาสตรที่ ๒ : หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู เปาประสงค ผลลัพธที่ตองการ ✦ กระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่เกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาไดรับการนำไปสูการปฏิบัติ ✦ ยกระดับการใชภาษาอังกฤษ ✦ ผูเรียน ครู ผูปกครองมีความสุข ✦ ผูเรียนไดรับการพัฒนาครอบคลุม Head Heart Hand Health ✦ สังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา ✦ ผูเรียนและประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการเรียนรูตลอดชีวิตและสามารถเขาถึงแหลงเรียนรู ไดโดยสะดวก ✦ ประชาชนมีความรู มีศักยภาพในการดำรงชีวิตและอยูรวมกันไดอยางผาสุก ◆ ผูเรียนไดรับการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพมาตรฐาน ◆ ผูเรียนและประชาชนไดรับการพัฒนาทักษะ และพัฒนาการเหมาะสมตามวัยสามารถแสวงหาความรู ไดสอดคลองกับบริบทในปจจุบัน ◆ นักเรียน นักศึกษา ประชาชนมีความรูความเขาใจในประวัติศาสตรไทย มีคานิยมที่ถูกตองตามคานิยมหลัก ของคนไทย ๑๒ ประการ และมีภูมิคุมกัน ปลอดภัยจากยาเสพติด ❑ นอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู ตามหลักการเขาใจ เขาถึง และพัฒนา ❑ ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนรู ทั้งระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา อุดมศึกษา และการศึกษานอกระบบ ❑ ปรับปรุงโครงสรางเวลาเรียน (ระดับชั้น ป.๑-ม.๓) ปรับตารางเรียนใหสอดคลองกับการทำกิจกรรมนอกหองเรียน ❑ พัฒนาทักษะอาชีพแกผูเรียนสายสามัญศึกษาโดยระบบทวิศึกษา ❑ พัฒนาระบบเทียบและถายโอนประสบการณใหสอดคลองกับหลักสูตรทุกระดับทุกประเภทการศึกษา ❑ ปรับปรุงและพัฒนาการเรียนรูภาษาไทย (เพิ่ม) ❑ ใชสะเต็มศึกษา (STEM Education) เพื่อยกระดับการเรียนรูดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ❑ สรางและยกระดับมาตรฐาน พัฒนาหลักสูตรภาษาอังกฤษ (CEFR) ในทุกหลักสูตรภายใตบริบทไทย ❑ พัฒนารูปแบบการเรียนรูภาษาอังกฤษเพื่อการใชงานไดจริง ตลอดจนกระตุนใหนักเรียน นักศึกษา และประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของภาษาอังกฤษ ❑ บูรณาการความรูควบคูการพัฒนาทักษะพื้นฐานการดำเนินชีวิต การทำงาน การพัฒนาสังคม และการอนุรักษ สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ ❑ พัฒนาทักษะตาง ๆ ตลอดจนพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะหที่สอนใหเด็กใชหลักเหตุผลในการตัดสินใจ มากกวาความรูสึกตามกระแสสังคม ❑ จัดกระบวนการเรียนรูที่กอใหเกิดคานิยมที่พึงประสงค สรางอุดมการณรักชาติ ศาสน กษัตริย มีคุณธรรม จริยธรรม ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การอยูรวมกันอยางสันติสุข ปฏิเสธสิ่งเสพติด และการทุจริตคอรัปชั่น ❑ สงเสริมการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูสูงอายุ ❑ นำองคความรู ทรัพยากรและภูมิปญญาในทองถิ่น ตลอดจนแหลงการเรียนรูประยุกตใชประโยชนในการ จัดการศึกษา ❑ พัฒนานวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอนตามกลุมสาระวิชาใหเหมาะสมกับสภาพทองถิ่น ❑ สงเสริมและสนับสนุนใหทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวมในการจัดและสงเสริมการจัดการศึกษา วิธีการ
  • 34. 7 เปาประสงค ผลลัพธที่ตองการ ✦ ลดความเหลื่อมล้ำในโอกาสและความเสมอภาค ทางการศึกษาของผูเรียน ✦ มีสถานศึกษาที่สามารถแขงขันดานคุณภาพมาตรฐาน ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการจัดการศึกษา ✦ บริหารงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ ✦ สอดคลองกับนโยบายผลิตและพัฒนากำลังคน ◆ สถานศึกษาไดรับการจัดสรรทรัพยากรอยางทั่วถึงและเปนธรรม สอดคลองกับนโยบายการผลิตและ พัฒนากำลังคน ◆ สถานศึกษามีการเบิกจาย งบประมาณเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส และตรวจสอบได ❑ ทบทวนหลักเกณฑและการบริหารกองทุนกูยืมเพื่อการศึกษา ❑ พิจารณาเงินอุดหนุนใหเหมาะสมกับบริบทปจจุบัน ❑ นำรองสนับสนุนงบประมาณใหสถานศึกษาที่มีผลผลิตตรงตามความตองการของรัฐ โดยการจัดสรร งบประมาณผานดานอุปสงคหรือตัวผูเรียน ❑ สงเสริมการมีสวนรวมระดมทุน และการสนองทุนเพื่อการศึกษา ❑ ใหหนวยงานสวนกลาง มีบทบาทหนาที่เปนผูกำหนดนโยบาย (Policy Maker) ผูกำกับคุณภาพและ มาตรฐาน (Regulator) ผูสงเสริมสนับสนุน (Promoter) รวมทั้งการกระจายอำนาจการบริหารจัดการ การศึกษา (Operator) ❑ มีแผนการใชจายงบประมาณที่เปนรูปธรรม ตรวจสอบได ❑ ปรับปรุงเกณฑ เงื่อนไขการจัดสรรทุนทั้งทุนใหเปลาและทุนกูยืม เพื่อเปนกลไกในการผลิตและพัฒนา กำลังคนตามความตองการของประเทศ วิธีการ ยุทธศาสตรที่ ๓ : ระบบงบประมาณและทรัพยากรเพื่อการศึกษา
  • 35. 8 เปาประสงค ผลลัพธที่ตองการ ✦ ผูเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น ✦ กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอกสอดคลองกัน ✦ กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาไมเพิ่มภาระงานและสามารถควบคุมคุณภาพได ✦ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาเทียบเคียงไดในระดับสากล ✦ สถานศึกษาที่ผานการรับรองมาตรฐานมีจำนวน เพิ่มขึ้น ✦ สถานศึกษาที่ผานการรับรองมาตรฐานมีผลการประเมินในระดับที่สูงขึ้น ◆ ผูเรียนไดรับการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพและมาตรฐาน ◆ ระบบและกลไกการประเมินคุณภาพการศึกษามีประสิทธิภาพ ◆ สถานศึกษาทุกระดับทุกประเภทผานการรับรองมาตรฐานทางการศึกษา ❑ จัดตั้งคณะทำงานรวมระหวาง ศธ. และ สมศ. ● พัฒนาทั้งเครื่องมือ และผูประเมินใหไดมาตรฐาน ● ตัวชี้วัดตองมีความครอบคลุม เที่ยงตรงและเชื่อถือได ● กระบวนการประเมินตองไมยุงยากและไมเปนภาระกับครู ❑ ใหมีองคกรที่ปรึกษาดานการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาทั้งหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน ❑ วิเคราะหผลการประเมินเพื่อการแขงขันดานการศึกษาระหวางประเทศไทยกับประเทศตาง ๆ ❑ เสริมสรางความเขมแข็งใหคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีบทบาทในดานการตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษามากขึ้น ❑ พัฒนาระบบทดสอบมาตรฐานทางการศึกษาในทุกระดับ ใหมีคุณภาพมาตรฐานระดับชาติ ❑ พัฒนามาตรฐานการศึกษา การประเมินคุณภาพ และการติดตาม/ตรวจสอบสถาบันอุดมศึกษา ❑ ปรับปรุงระบบนิเทศ วิธีการ ยุทธศาสตรที่ ๔ : ระบบตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
  • 36. 9 เปาประสงค ผลลัพธที่ตองการ ✦ มีโครงขายครอบคลุมทั่วประเทศ สัญญาณสำหรับการใชงานมีความเสถียร และมีความเร็วเหมาะสม ✦ มีฐานขอมูลสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหารในทุกระดับ ✦ สนับสนุนการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และบริการทางวิชาการไดอยางกวางขวาง ✦ มีการใชทรัพยากรเกี่ยวกับ ICT ที่มีประสิทธิภาพและคุมคา ✦ มีการติดตอสื่อสารทั้งกับภายในและภายนอกองคกรไดอยางรวดเร็วและทั่วถึง ✦ ฐานขอมูลที่ทันสมัย และนาเชื่อถือ สามารถเชื่อมโยงฐานขอมูลกับหนวยงานอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ ◆ หนวยงานมีระบบสื่อสารและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และทันสมัย ◆ ระบบ ICT มีการบูรณาการเชื่อมโยงกับหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภายในและภายนอก อยางครอบคลุม มีคุณภาพ รวดเร็วและทั่วถึง ◆ นำระบบ ICT เขามาใชจัดการเรียนรูและบริหารจัดการอยางเปนรูปธรรมและกวางขวาง ❑ จัดตั้งคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวง ❑ จัดทำแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวง ❑ บูรณาการ Hardware Software Peopleware ที่มีอยูใหเปนระบบที่สอดคลองกัน ❑ บูรณาการงบประมาณดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ ศธ. ❑ พัฒนาและจัดทำระบบฐานขอมูลดานการศึกษาเชื่อมโยงกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อสนับสนุน การจัดการศึกษาและการ นำขอมูลมาใชในการตัดสินใจ ของผูบริหารในทุกระดับ ❑ นำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใชพัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาและการเรียนรู ❑ จัดบริการและพัฒนาโครงขาย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใหครอบคลุมทั่วประเทศ มีความเสถียร และความเร็วเหมาะสมกับการจัดการเรียนรูและบริหารจัดการ ❑ จัดตั้งและบริหารกองทุนเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ❑ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการสื่อสารภายในและภายนอกองคกร วิธีการ ยุทธศาสตรที่ ๕ : ระบบสื่อสารและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
  • 37. 10 เปาประสงค ผลลัพธที่ตองการ ✦ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพตามเปาหมายการปฏิรูประบบการศึกษา ✦ กระบวนการจัดการเรียนการสอนดีขึ้น ✦ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น ✦ พ.ร.บ. ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. .... ฉบับใหม ✦ มีระบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เปนรูปธรรม ✦ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสวัสดิการที่เหมาะสม มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และมีความกาวหนาในวิชาชีพ ◆ หนวยงานที่เกี่ยวของรวมกันจัดทำแผนการผลิต การสรรหา และการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ◆ ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพัฒนาตามเสนทางวิชาชีพทั้งระบบตามศักยภาพ เพื่อยกระดับ การประกอบวิชาชีพตามระดับคุณภาพของมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ ◆ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพและจรรยาบรรณของวิชาชีพสอดคลองกับความตองการของ สถานศึกษาและทองถิ่น ❑ ผลิตและพัฒนาครูใหมีคุณภาพตรงตามความตองการและรองรับการพัฒนาของประเทศ ❑ พัฒนาระบบการผลิต การสรรหา และการพัฒนาครูที่มีประสิทธิภาพ ❑ ผลิตและพัฒนา Smart Teacher เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน ❑ จัดทำฐานขอมูลกลางของครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกสังกัดใหเปนปจจุบัน ที่สามารถเชื่อมโยง และใชรวมกันได ❑ ปรับแนวคิดการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยเนนการพัฒนาที่สงผลตอผูเรียน ❑ ลดภาระงาน /กิจกรรมที่ไมเกี่ยวกับการเรียนการสอนของครูและนักเรียน ❑ ใหครูเนนบทบาท Facilitator Motivation Inspiration Coaching โดยใหสถาบันอุดมศึกษาเปนพี่เลี้ยง ❑ ปรับปรุงกฎหมาย หลักเกณฑ วิธีการ หลักสูตร และระเบียบที่เกี่ยวของกับการสรรหา คัดกรองผูประกอบ วิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา ❑ สงเสริมและพัฒนาการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหเปนมาตรฐานเดียวกัน ❑ พัฒนาระบบกำกับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล การผลิต การสรรหาและพัฒนาครูอยางมีประสิทธิภาพ ❑ ปรับปรุงหลักเกณฑและวิธีการประเมินเพื่อใหมีหรือเลื่อนวิทยฐานะใหสอดคลองกับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ❑ สรางความเชื่อมั่นในการใหบริการทางวิชาชีพของผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาเพื่อเปนหลักประกัน คุณภาพแกสังคม ❑ สงเสริมดานการจัดสวัสดิการ สวัสดิภาพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตครูและบุคลากรทางการศึกษา ❑ พัฒนาคุณภาพชีวิตครูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ❑ สงเสริมและสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาการจัดรูปแบบสวัสดิการและสวัสดิภาพแกครูและบุคลากรทางการศึกษา ❑ ปรับระบบการผลิต คัดสรร คาตอบแทนและสวัสดิการใหสามารถดึงดูดคนเกงและคนดีมาเปนครู วิธีการ ยุทธศาสตรที่ ๖ : พัฒนาระบบการผลิต การสรรหา และการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา
  • 38. 11 เปาประสงค ผลลัพธที่ตองการ ✦ รูปแบบโครงสรางกระทรวงศึกษาธิการที่ชัดเจนและยึดประโยชนของผูเรียนเปนสำคัญ ✦ การบูรณาการการทำงานรวมกันอยางคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด ✦ มีการบริหารจัดการทั้งระบบอยางมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล ✦ นโยบาย แผน และมาตรฐานที่นำไปปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ ✦ ฐานขอมูลที่ทันสมัยและนาเชื่อถือสามารถเชื่อมโยงฐานขอมูลกับหนวยงานอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ ◆ หนวยงานมีระบบบริหารจัดการที่คลองตัวและมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล ◆ มีกลไกการบริหารและการประสานงานการจัดการศึกษาสวนกลางและในพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ ◆ มีนโยบาย แผน มาตรฐานและการติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาที่หนวยงานปฏิบัติสามารถนำไป บริหารจัดการไดอยางมีประสิทธิภาพ ❑ ปรับปรุง แกไขประกาศใชกฎหมาย กฎกระทรวงที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับการดำเนินงาน ❑ ปรับโครงสรางองคกรและอำนาจหนาที่ขององคกรใหเอื้อตอการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพและรองรับ การปฏิรูปประเทศ ❑ มีกลไกการบริหารจัดการศึกษาในระดับพื้นที่อยางเปนเอกภาพ ❑ เรงรัดการดำเนินการกระจายอำนาจการบริหารจัดการศึกษาใหหนวยงานในพื้นที่อยางแทจริง ❑ จัดระบบการบริหารจัดการภายในหนวยงานใหมีประสิทธิภาพ ❑ เสริมสรางความรวมมือทางดานการศึกษาระหวางภาครัฐกับภาคเอกชนทั้งในและตางประเทศ ❑ จัดทำนโยบาย แผน มาตรฐานการศึกษาแหงชาติ และขับเคลื่อนใหนำไปสูการปฏิบัติ ❑ จัดทำและทบทวนแผนใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมและเศรษฐกิจ วิธีการ ยุทธศาสตรที่ ๗ : ระบบการบริหารจัดการ
  • 39. 12 เปาประสงค ผลลัพธที่ตองการ ✦ นักเรียน นักศึกษาทุกคนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยไมเสียคาใชจาย ✦ ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ✦ ประชากรทุกกลุมทุกวัยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ◆ นักเรียน นักศึกษาทุกกลุม ไดรับโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานตามสิทธิที่กำหนดไว ◆ ประชากรทุกกลุมทุกวัยไดรับโอกาสในการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตอยางทั่วถึง และเปนธรรม ❑ จัดการศึกษาทางไกล DLTV และ DLIT ❑ สงเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียมจากโรงเรียนวังไกลกังวลใหเปน โรงเรียนตนทางที่มีคุณภาพ ❑ จัดระบบดูแล ชวยเหลือ เด็กออกกลางคันใหไดรับการศึกษาจนจบการศึกษา ❑ จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ฝกอบรมวิชาชีพและทักษะอาชีพ ❑ สงเสริมการจัดกระบวนการเรียนรูใหกับประชาชนโดยใชศูนยการเรียนชุมชน กศน.ตำบล และแหลงเรียนรู ในชุมชนเปนฐาน ในการจัดการศึกษา ❑ สงเสริมการจัดการศึกษาเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ ❑ จัดหาทุนและแหลงทุนทางการศึกษา ❑ กำหนดเงื่อนไขสำหรับผูที่รับทุนการศึกษาของรัฐใหมีความชัดเจน ❑ พัฒนาการจัดการศึกษาสำหรับเขตพื้นที่หางไกล ❑ สนับสนุนและสงเสริมใหเด็กพิการไดรับการศึกษาอยางทั่วถึงและเสมอภาค และสอดคลองกับความตองการ จำเปนพิเศษของแตละบุคคล ❑ สนับสนุนและสงเสริมใหเด็กดอยโอกาสไดรับโอกาสทางการศึกษาอยางทั่วถึงและเหมาะสมตามบริบท และอัตลักษณแหงตน ❑ สงเสริมและสนับสนุนศูนยดูแลครูและบุคลากรทางการศึกษาผูสูงอายุ เพื่อเปนแหลงสรางองคความรู ของชุมชนและทองถิ่น ❑ สงเสริมใหประชาชนที่ไมจบการศึกษาขั้นพื้นฐานไดรับโอกาสในการเรียนรูตามความตองการและศักยภาพ ❑ พัฒนาระบบเทียบโอนเพื่อใหประชาชนทุกคนมีโอกาสเขาถึงการศึกษาและการเรียนรูอยางตอเนื่อง ตลอดชีวิต วิธีการ ยุทธศาสตรที่ ๘ : สรางโอกาสทางการศึกษา
  • 40. 13 เปาประสงค ผลลัพธที่ตองการ ✦ การจัดการศึกษาเหมาะสม สอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี อัตลักษณ และ ความตองการของพื้นที่ ✦ เครือขายหนวยงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตทำหนาที่ขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาใน จังหวัดชายแดนภาคใตอยางเปนระบบ ✦ ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ✦ ประชาชนในพื้นที่เขาถึงแหลงเรียนรูในรูปแบบที่หลากหลาย ✦ ประชากรวัยเรียนทุกระดับการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ✦ ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ◆ ประชากรวัยเรียนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตเขาถึงการศึกษาอยางเสมอภาค ◆ ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตไดรับการพัฒนาศักยภาพและยกระดับคุณภาพชีวิต ◆ ครูมีความปลอดภัย มีขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน ◆ การบริหารจัดการเงินอุดหนุนการศึกษาเปนไปดวยความถูกตอง ◆ มีหนวยงานรับผิดชอบขับเคลื่อนการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใตอยางเปนรูปธรรม ❑ พัฒนาการจัดการศึกษา/หลักสูตร/ครูอาจารยที่หลากหลายอยางมีคุณภาพ เปนไปตามบริบท อัตลักษณ ความตองการของพื้นที่ ❑ ขยายผลการศึกษาทางไกล DLTV และ DLIT ❑ จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูที่เพิ่มพูนประสบการณ ❑ สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนากีฬาเขาสูการจัดการเรียนการสอน ❑ จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต และการมีงานทำ ❑ สงเสริมความรวมมือในการจัดการศึกษาของทุกภาคสวน ❑ สรางความปลอดภัยและสวัสดิภาพของนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และทรัพยสินของโรงเรียน ❑ ปรับปรุงการบริหารจัดการเงินอุดหนุนทางการศึกษาใหเปนไปดวยความถูกตอง ❑ สนับสนุนทุนการศึกษาใหกับทายาทผูไดรับผลกระทบจากสถานการณความไมสงบในชายแดนภาคใต วิธีการ ยุทธศาสตรที่ ๙ : พัฒนาการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต
  • 41. 14 เปาประสงค ผลลัพธที่ตองการ ✦ สรางมูลคาใหกับสินคาและบริการของไทย ✦ เพิ่มมูลคาการสงออกและลดการนำเขา ✦ เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ ✦ นวัตกรรมและองคความรูที่นำไปสูการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ◆ ไดงานวิจัยที่นำไปใชประโยชนไดจริงในเชิงสาธารณะและเชิงพาณิชย ◆ งานวิจัยและบริการวิชาการตอบสนองตอโจทยปญหาหรือความตองการของชุมชน ทองถิ่น และประเทศ ◆ มีนวัตกรรม องคความรู และฐานขอมูลดานการศึกษาที่สามารถนำไปใชเปนแนวทางในการบริการจัดการ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ❑ สงเสริมและพัฒนาอาจารยและนักวิจัยในสถานศึกษาใหมีศักยภาพทัดเทียมนานาชาติ ❑ สนับสนุนศูนยบมเพาะวิสาหกิจเพื่อการกำหนดเทคโนโลยีสูใชประโยชนเชิงพาณิชย ❑ สงเสริมการวิจัย การบริการ รักษาพยาบาล และสงเสริมสุขภาพ ❑ ใหบริการวิชาการ วิจัยเพื่อสรางองคความรูและถายทอดเทคโนโลยี ❑ สงเสริมงานวิจัย พัฒนานโยบาย และวิจัยองคความรูเพื่อพัฒนาการศึกษาทุกระดับ ❑ เสริมสรางและพัฒนานวัตกรรม วิจัย เทคโนโลยี และสิ่งประดิษฐที่สามารถเพิ่มมูลคาและแขงขันได ❑ สงเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนาองคความรูดานการคาและการพัฒนาที่ยั่งยืน ❑ วิจัยและพัฒนาใหเกิดนวัตกรรมที่เกิดจากทรัพยากรทองถิ่น เพิ่มมูลคาการสงออกของประเทศ วิธีการ ยุทธศาสตรที่ ๑๐ : การวิจัยเพื่อพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขันของประเทศ
  • 42. 15 จุดเนน ๖ ยุทธศาสตร ๑. หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู ๒. การผลิตและพัฒนาครู ๓. การทดสอบ การประเมิน การประกันคุณภาพและการพัฒนา มาตรฐานการศึกษา ๔. ผลิต พัฒนากำลังคนและงานวิจัย ที่สอดคลองกับความตองการ ของการพัฒนาประเทศ ๕. ICT เพื่อการศึกษา ๖. การบริหารจัดการ
  • 44. 17
  • 45. 18 ในการนำยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการไปสูการปฏิบัติ เปนการใชแผนที่ความคิด (Mind Map) ในการดำเนินงานและ การขับเคลื่อนนโยบาย โดยใหแตละหนวยงานวิเคราะหการดำเนินงาน เปนขั้นตอน ไดแก การมองเห็นสภาพปญหา การวิเคราะหสาเหตุของปญหา การหาวิธีการแกปญหา และการจัดทำแนวทางในการปฏิบัติ เพื่อนำ ยุทธศาสตรไปสูการปฏิบัติไดอยางแทจริง ดังนี้
  • 46. 19
  • 47. 20
  • 48. 21
  • 49. 2222
  • 50. 23
  • 51. 24
  • 52. 25 การขับเคลื่อนและการกำกับงานของกระทรวงศึกษาธิการ ➢ มอบหมายใหรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ และผูชวยรัฐมนตรีประจำกระทรวงศึกษาธิการขับเคลื่อนงาน ตามนโยบาย ➢ แตงตั้งคณะกรรมการศูนยปฏิบัติการขับเคลื่อนงาน ตามนโยบายของรัฐมนตรี (ศปข.ศธ.) ประกอบดวย - คณะกรรมการอำนวยการ มีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เปนประธานกรรมการ/ผูอำนวยการศูนยฯ และเลขานุการรัฐมนตรี วาการกระทรวงศึกษาธิการ เปนกรรมการและเลขานุการ/เลขาธิการศูนยฯ - คณะกรรมการที่ปรึกษา มีผูชวยรัฐมนตรีประจำกระทรวงศึกษาธิการ เปนประธานกรรมการ และนายเทียนชัย จูเจี่ย เปนกรรมการและเลขานุการ - คณะกรรมการขับเคลื่อนงานตามนโยบายฯ มีเลขาธิการ ศูนยปฏิบัติการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐมนตรี (เลขานุการรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ) เปนประธานกรรมการ และผูอำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร สำนักงานปลัด กระทรวงศึกษาธิการเปนกรรมการและเลขานุการ
  • 53. 26 การมอบหมายการดำเนินงานของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีชวย วาการกระทรวง ศึกษาธิการ (พลเอก สุรเชษฐ ชัยวงศ) รัฐมนตรีชวย วาการกระทรวง ศึกษาธิการ (นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป) ผูชวยรัฐมนตรี ประจำกระทรวง ศึกษาธิการ ๑. การแปลงกระแสพระราชดำรัสของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ที่เกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาไปสูการปฏิบัติ ✓ ๒ การปฏิรูปการศึกษา ✓ ๓. การแกไขปญหาการทุจริต ✓ ๔. การลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ✓ ๕. การจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต ✓ ๖. การปรับปรุงโครงสรางเวลาเรียน (ระดับชั้น ป. ๑-ม. ๓) ✓ ๗. การยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษ ในทุกหลักสูตร ✓ ๘. การสรางคานิยมอาชีวศึกษา ✓ ๙. การจัดการเรียนการสอนทวิภาคีรวมกับ สถานประกอบการ ✓
  • 54. 27 นโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีชวย วาการกระทรวง ศึกษาธิการ (พลเอก สุรเชษฐ ชัยวงศ) รัฐมนตรีชวย วาการกระทรวง ศึกษาธิการ (นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป) ผูชวยรัฐมนตรี ประจำกระทรวง ศึกษาธิการ ๑๐. การแกไขปญหาทะเลาะวิวาทของนักเรียน นักศึกษา ✓ ๑๑. การสงเสริมอาชีวศึกษาใหมีความเปนเลิศ เฉพาะดาน ✓ ๑๒. การจัดการอาชีวศึกษาสูมาตรฐานสากล ✓ ๑๓. การผลิตนักศึกษาตามความถนัด และความเปนเลิศของแตละสถาบัน ✓ ๑๔. การกำหนดเปาหมายผลผลิตทางการศึกษา เพื่อใหเกิดนวัตกรรมจากทรัพยากรในทองถิ่น ✓ ๑๕. การสรางความเขมแข็งของโรงเรียนในทองถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเปนพี่เลี้ยง ✓ ๑๖. การกระจายโอกาสทางการศึกษา “โครงการติวเขมเติมเต็มความรู” ✓ ๑๗. การพัฒนากำลังคนดานอาชีวศึกษา ของ กศน. ✓ ๑๘. การสงเสริม กศน. ตำบล เปนกลไกสำคัญ ในการขับเคลื่อนระหวางบาน วัด โรงเรียน ✓ ๑๙. การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ✓
  • 55. 28 พลเอก (ดาวพงษ รัตนสุวรรณ) รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีชวย วาการกระทรวง ศึกษาธิการ (พลเอก สุรเชษฐ ชัยวงศ) รัฐมนตรีชวย วาการกระทรวง ศึกษาธิการ (นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป) ผูชวยรัฐมนตรี ประจำกระทรวง ศึกษาธิการ ๒๐. การสอนใหเด็กใชหลักเหตุผลในการตัดสินใจ มากกวาใชความรูสึกตามกระแสสังคม ✓ ✓ ✓ ๒๑. การลดภาระงาน/กิจกรรม ที่ไมเกี่ยวกับ การเรียนการสอนของครู และนักเรียน ✓ ๒๒. การประเมินเพื่อมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ ใหสอดคลองกับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ✓ ๒๓. การสงเสริมดานสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา ✓ ๒๔.การบูรณาการการดำเนินงานระหวาง กระทรวงศึกษาธิการกับหนวยงานอื่น ✓ ✓ ✓ ๒๕. การขับเคลื่อนโครงการอบรม/สัมมนา ใหบรรลุตามวัตถุประสงค ✓ ๒๖. การนำ ICT มาใชในการบริหารงาน อยางทั่วถึง มีประสิทธิภาพ ✓ ๒๗.การอำนวยการเมื่อเกิดเหตุการณฉุกเฉิน ✓
  • 56. แนวทางการปฏิรูปการศึกษา พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว ฏ ู พนเอก ณฐพงษ เพราแกว เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
  • 57. หัวข้อการบรรยายหวขอการบรรยาย 11 เป้าหมายการปฏิรปการศึกษาเป้าหมายการปฏิรปการศึกษา11.. เปาหมายการปฏรูปการศกษาเปาหมายการปฏรูปการศกษา 22.. ขณะนี้การศึกษาไทยอย่ตรงไหนขณะนี้การศึกษาไทยอย่ตรงไหน22.. ขณะนการศกษาไทยอยูตรงไหนขณะนการศกษาไทยอยูตรงไหน 33.. ขณะนี้กําลังดําเนินการอะไร และจะดําเนินการอะไรต่อไปขณะนี้กําลังดําเนินการอะไร และจะดําเนินการอะไรต่อไป 33..11 หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ ัั33..22 การผลิตและพัฒนาครูการผลิตและพัฒนาครู 33..33 การผลิตคนให้ตรงกับความต้องการของประเทศการผลิตคนให้ตรงกับความต้องการของประเทศ33..33 การผลตคนใหตรงกบความตองการของประเทศการผลตคนใหตรงกบความตองการของประเทศ 33..44 การประเมินและประกันคุณภาพการศึกษาการประเมินและประกันคุณภาพการศึกษา 33..55 ICTICT เพื่อการศึกษาเพื่อการศึกษา
  • 58. หัวข้อการบรรยายหวขอการบรรยาย 33 66 การบริหารจัดการการบริหารจัดการ33..66 การบรหารจดการการบรหารจดการ 33..66..11 การจัดการศึกษาการจัดการศึกษา 33..66..22 การบริหารจัดการโดยใช้ภูมิภาคเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้ภูมิภาคเป็นฐาน 33..66..33 การสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาการศึกษา 33..66..44 การติดตามและประเมินผลการติดตามและประเมินผล
  • 59. 1. เป้าหมายการปฏิรป. เป ม ย รปฏรูป การศึกษา
  • 60. เป้าหมายการพัฒนาแห่งเป้าหมายการพัฒนาแห่ง สหัสวรรษสหัสวรรษสหสวรรษสหสวรรษ ((ภายใน ปี คภายใน ปี ค..ศศ..20152015 )) ((MillenniumMillennium(( Development Goals)Development Goals) เป้ าหมายการพัฒนาด้านการศึกษาเป้ าหมายการพัฒนาด้านการศึกษา ““เด็กไทยทกคนได้รับการศึกษาระดับเด็กไทยทกคนได้รับการศึกษาระดับ 5 ““เดกไทยทุกคนไดรบการศกษาระดบเดกไทยทุกคนไดรบการศกษาระดบ ประถมศึกษาภายในปีประถมศึกษาภายในปี 25582558”” ((ยังไม่บรรลุเป้ าหมาย))
  • 61. เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน วาระการศึกษาขององค์กรสหประชาชาติ ภายในปี พวาระการศึกษาขององค์กรสหประชาชาติ ภายในปี พ..ศศ.. 25732573 ((EducationEducation 20302030)) ้ ั ึ ี่ ี ่ ป็้ ั ึ ี่ ี ่ ป็ 6 ““ต้องจัดการศึกษาทีมีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเป็นธรรมต้องจัดการศึกษาทีมีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเป็นธรรม และต้องส่งเสริมโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตและต้องส่งเสริมโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต”” ((แผนงานปัจจุบันแผนงานปัจจุบัน))
  • 62. แผนการศึกษาอาเซียน 2559-2563แผนการศกษาอาเซยน 2559 2563 (THE ASEAN WORK PLAN ON EDUCATION 2016-2020) ประเด็นสําคัญด้านการศึกษา (K El t Ed ti )ประเดนสาคญดานการศกษา (Key Elements on Education) 1. ส่งเสริมให้เกิดความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนผ่านการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ และความร้พื้นเมืองและความรูพนเมอง 2. ยกระดับคุณภาพและสร้างโอกาสการเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับ ทุกคนโดยไม่ละเลยผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส 3 พัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร3. พฒนาการใชเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร 4. สนับสนุนการพัฒนาการอาชีวศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตในภูมิภาค 5. ส่งเสริมการดําเนินงานของทุกภาคส่วนในการพัฒนาคนให้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาดแรงงานเพื่อให้บรรลตามเป้ าหมายของการจัดความตองการของตลาดแรงงานเพอใหบรรลุตามเปาหมายของการจด การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 6. เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับการอุดมศึกษาด้วยการพัฒนาระบบประกัน คณภาพทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพคุณภาพทางการศกษาทมประสทธภาพ 7. ส่งเสริมบทบาทของการอุดมศึกษาให้เข้มแข็งด้วยการสร้างเครือข่ายระหว่าง ผู้ประกอบการกับมหาวิทยาลัย 8. ดําเนินโครงการพัฒนาศักยภาพครและบคลากรทางการศึกษา8. ดาเนนโครงการพฒนาศกยภาพครูแล บุคลากรทางการศกษา
  • 63.
  • 64.
  • 65. ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ 2121 33RR 88CC พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในคราวประชุมนายกรัฐมนตรีพบเพื่อนครู Reading 33R xR x 88CC อยากรู้อยากเห็น คิดสร้างสรรค์ มีเหตุผล คิดวิเคราะห์ ั ใ ้ โ โ ี Writing g อยากลองสิ่งใหม่ รู้จักปรับตัว ทักษะการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ทักษะการสื่อสาร Arithmetic ์ เรียนรู้ด้วยตนเอง มีความสามารถในการพัฒนา ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา Partnership for 21st century learning ศ.นพ.วิจารณ์ พาณิช ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) (Critical Thinking and Problem Solving) (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความร่วมมือ การทํางานเป็นทีม และภาวะผู้นํา (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) ์ ์ ั ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ความมีเมตตากรุณา (Compassion) (วินัย, คุณธรรม, จริยธรรม ฯลฯ) พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รมว.ศธ
  • 66. ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ 2121 คนไม่รู้หนังสือ หมายถึง ในอดีต ู คนที่อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ปัจจุบัน คนไม่รู้หนังสือ หมายรวมถึง คนที่เรียนร้ไม่เป็น แสวงหาความร้ด้วยตนเองไม่ได้น เรยนรูไมเปน แ มรู ย นเอ ไมไ
  • 67. 2. ปัจจบันการศึกษาไทย. ปจจุบน ร ษ ไ ย อยู่ตรงไหนู
  • 68. 13
  • 69. เด็กเครียด การเรียนเนื้อหาไม่สอดคล้องกับบริบท ั ์ ่ํเดกเครยด กระบวนการเรียนรู้ไม่ พัฒนาทักษะเด็ก ภาษาอังกฤษ ขาด มาตรฐานเด็กเรียนเยอะ เด็กไม่มีความสุขกับ การเรียน เนอ ไมสอ ลอ บบรบ ของสังคมที่เปลี่ยนแปลงผลสัมฤทธิตํา ไ ้ ภาระงานเยอะ ขาดกําลัง แรงงาน สาย งานวิจัยไม่ สามารถ นําไปใช้ ขาด ระเบียบ วินัย หลักสูตรและหลักสูตรและ กระบวนการเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้ ครูไม่ครบชัน สอนไม่ตรงเอก ครูขาดขวัญ สาย วิชาชีพ มาตรฐานฝีมือ ่ นาไปใช งานได้จริง การการผลิต พัฒนาผลิต พัฒนา กําลังคนและงานวิจัยกําลังคนและงานวิจัยครูครูครูไม่เก่ง ู และกําลังใจ ยังไม่เป็นที่ยอมรับจาก สถานประกอบการ การผลิตบัณฑิต การประเมินการประเมินการบริหารการบริหาร ในสาขาวิชาที่ไม่เป็นไปตาม ความต้องการของประเทศขาดการ บูรณาการ การประเมนการประเมน และการพัฒนาและการพัฒนา มาตรฐานการศึกษามาตรฐานการศึกษา การบรหารการบรหาร จัดการจัดการ การประเมินสถานศึกษา การประเมินครู การกํากับดแลขาด การกระจาย อํานาจ ICT เพื่อ การศึกษา ขาดความเสถียร ไม่ทันสมัย ไม่ได้นําข้อมูลมาใช้ ในการตัดสินใจ ระบบ การศึกษา ต่อในแต่ ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ระบบงบประมาณ ่ การกากบดูแลขาด ประสิทธิภาพ ไม่ทั่วถึง ทับซ้อน ขาดการบูรณาการ ผลิตแต่ไม่เผยแพร่ และนําไปใช้ ตอในแต ละระดับ ของผู้เรียนที่ไม่สอดคล้องต่อ การดําเนินงาน
  • 72. เฉพาะด้านการศึกษาในหมวดพื้นฐาน เปรียบเทียบ 3 ปี (จาก 61 ประเทศ) ปี 2557 54/61 ตัวชี้วัดที่มีเกณฑ์ต่ํา ประกอบด้วย ความสามารถด้าน- ความสามารถดาน ภาษาอังกฤษ การสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ปี 2558 48/61 - การสอนวชาวทยาศาสตร - การจัดการศึกษาใน มหาวิทยาลัยมหาวทยาลย - การบริการการศึกษาให้ ตอบสนองความจําเป็นของ ปี 2559 52/61 ตอบสนองความจาเปนของ ธุรกิจ
  • 73. World Talent Ranking งบลงทุนด้านการศึกษา อันดับที่ 2 /61ุ สัดส่วนจํานวนครูต่อนักเรียนในระดับมัธยม 55/61
  • 76. World Economic Forum การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน(ภาพรวมทุกปัจจัย) พ ศ 2558 2559 (ข ้อมลเปรียบเทียบจาก 140 ประเทศ) 131เมียนม่าร์ พ.ศ. 2558-2559 (ขอมูลเปรยบเทยบจาก 140 ประเทศ) 83 90 131 ลาว กัมพูชา เมยนมาร 47 56 83 ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ลาว 32 37 47 ไทย อินโดนีเซีย ฟลปปนส 2 18 32 สิงค์โปร์ มาเลเซีย ไทย 6 2 0 20 40 60 80 100 120 140 ญี่ปุ่น สงคโปร 0 20 40 60 80 100 120 140 หมายเหตุ ตัวเลขในกราฟแสดงอันดับ 1-140
  • 77. World Economic Forum ตัวชี้วัด เสาหลักที่ 4 สุขภาพและการประถมศึกษา(Health and primary education) เกณฑ์การศึกษาระดับประถมศึกษา(Primary education)(ภาพรวมประถมศึกษา)เกณฑการศกษาระดบประถมศกษา(Primary education)(ภาพรวมประถมศกษา) พ.ศ. 2558-2559 (ข ้อมูลเปรียบเทียบจาก 140 ประเทศ) 77 122 กัมพูชา เมียนม่าร์ 56 69 เวียดนาม ลาว 71 82 ไ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ 14 74 สิ ์โป ์ มาเลเซีย ไทย 4 3 0 20 40 60 80 100 120 140 ญี่ปุ่น สงคโปร หมายเหตุ ตัวเลขในกราฟแสดงอันดับ 1-140 0 20 40 60 80 100 120 140
  • 79. World Economic ForumUNESCO Institute for Statistics อัตราการเข ้าเรียนระดับประถมศึกษา World Economic Forum อัตราการเข ้าเรียนระดับประถมศึกษา(Primary education enrollment rate) พ.ศ. 2558-2559 (ข ้อมูลเปรียบเทียบจาก 140 ประเทศ) UNESCO Institute for Statistics (UIS) ,2013 37 17 115 ลาว กัมพูชา เมียนม่าร์N/A 124 % 98 % N/A 96 %123 % 100 27 ิ โ ี ซี ฟิลิปปินส์ เวียดนาม98 %105 % 89 %106 % 97 %109 % 41 54 80 มาเลเซีย ไทย อนโดนเซย97 %109 % 96 %97 % 97 %101 % 2 1 0 20 40 60 80 100 120 140 ญี่ปุ่น สิงค์โปร์N/A N/A 100 %103 % หมายเหตุ ตัวเลขในกราฟแสดงอันดับ 1-140 0 20 40 60 80 100 120 140 Gross  Enrolment  Ratio (อัตราส่วน Net   Enrolment  Ratio (อัตราส่วน นักเรียนต่อ ประชากรระดับ ประถมศึกษา) นักเรียนอายุ 6-11 ปีต่อ ประชากรกลุ่ม เดียวกัน)
  • 80. World Economic Forum ตัวชี้วัด เสาหลักที่ 5 การอุดมศึกษาและการฝึกอบรม(Higher education and training) (ภาพรวมการอดมศึกษาและการฝึกอบรม)(ภาพรวมการอุดมศกษาและการฝกอบรม) พ.ศ. 2558-2559 (ข ้อมูลเปรียบเทียบจาก 140 ประเทศ) 123 134 กัมพูชา เมียนม่าร์ 95 112 ฟิ ิปปิ ์ เวียดนาม ลาว 56 65 63 ไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ 1 36 56 สิงค์โปร์ มาเลเซีย ไทย 21 1 0 20 40 60 80 100 120 140 160 ญี่ปุ่น สงคโปร หมายเหตุ ตัวเลขในกราฟแสดงอันดับ 1-140
  • 84.
  • 85. สถานการณ์การศึกษาของประเทศไทย ทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกษา 112 %112 % ของเด็กที่ลงทะเบียนเรียนในระดับก่อนประถมศึกษา 97 % ั ป ึ97 % ระดับประถมศึกษา เข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 99 % มัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ 79 % มัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพ 15 % 51 % เข้าเรียนระดับอุดมศึกษา ที่มา : UNESCO Institute for Statistics (UIS) ,2013
  • 86. สถานการณ์การศึกษาของประเทศไทย ปี การศึกษาเฉลี่ยของ ้ 6.6 ปี อัตราส่วนครูต่อนักเรียน ประชากรอายุ15 ปี ขึ้นไป * ค่าเฉลี่ยทั่วโลก 6.2 ปี 98.1% 16 : 1 (ประถม) 21 : 1 (ม.ต้น) 18 : 1 (ม ปลาย ) 98.1% อัตราการรู้หนังสือ ของเยาวชนไทยอายุ ปี 18 : 1 (ม.ปลาย )15 – 24 ปี ขนาดห้องเรียน 19 คน (ประถม) 29.5% ( ) 34 คน (ม.ต้น)งบประมาณทางการศึกษา ในทุกระดับการศึกษาต่อ งบประมาณแผ่นดินทั้งหมด ที่มา : UNESCO Institute for Statistics (UIS) ,2013 C
  • 87. สถานการณ์การศึกษาของประเทศไทย รางวัลระดับนานาชาติ ี ั2016 : 6 เหรียญทอง และ รางวัล The best man inventor จาก การ แข่งขัน Asian Young Inventors Exhibition 2016 ณ ประเทศมาเลเซียณ ประเทศมาเลเซย 2016 : 2 เหรียญทอง 3 เหรียญทองแดง 3 เกียรติคุณประกาศ จากการแข่งขันฟิ สิกส์โอลิมปิ กระดับทวีปเอเชีย ที่ เขตบริหารพิเศษ ฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน 2015: 5เหรียญทอง 9 เหรียญเงิน 5 เหรียญทองแดง ชมเชย 5 รางวัล รวม 24 รางวัล 48 เหรียญ ในการแข่งขัน International Teenagers Mathematics Olympiad 2015 ณ ประเทศมาเลเซีย
  • 88. สถานการณ์การศึกษาของประเทศไทย ประเด็นที่ต้องเร่งแก้ไข ภาคเอกชนมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา 18 % now ในการจดการศกษา ป้ ั ่G l 15 % 50 % เป้ าหมายสดสวน นักเรียนมัธยมปลาย now Goal สายอาชีพ ม.ต้น การศึกษาของประชากร ั 32.2 % ม ปลาย วัยแรงงานม.ปลาย 22.4 % ตํ่ากว่าหลายๆ ประเทศ*
  • 89. สถานการณ์การศึกษาของประเทศไทย PiPisa 2012 427 TIMSS ป.4 458 TIMSS ม.2 427427 458 427 444 472 451 441 TIMSS* ค่าเฉลี่ยนานาชาติ 500 คะแนน (Trends in International Mathematics and Science Study)  PISA* ไทยอยู่ลําดับที่ 50 จาก 65 ประเทศ (P f I i l S d A )(Programme for International Student Assessment)  ที่มา : PISA 2012 , TIMSS 2011
  • 90. ผลการศึกษาผลการศึกษาคณิตศาสตร์คณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐานขั้นพื้นฐาน ั ี ไ ี ่ ั ี ใ ส ั ิ ป ศ ่ โ ปั ี ไ ี ่ ั ี ใ ส ั ิ ป ศ ่ โ ปของนกเรยนไทยเทยบเทานกเรยนในสหรฐอเมรกาและประเทศกลุมยุโรปของนกเรยนไทยเทยบเทานกเรยนในสหรฐอเมรกาและประเทศกลุมยุโรป (PISA) (Programme for International Student Assessment) 500 600 OECD (EU) 494 (Programme for International Student Assessment)  300 400USA 481 427 ่ 100 200 คะแนนเฉลี่ยประเทศไทย 0 100 ข้อมูลจาก สสวท. ผลการทดสอบ PISA 2012 นักเรียนระดับ ม.3 และ ม.4(อายุ 15ปี) จาก รร.กลุ่มตัวอย่าง 273 รร. จํานวน นร.ที่ทําการทดสอบ 8,937 คน 35
  • 91. ั ี่ ่ ็ ไ ีตวเลขทีแสดงวาเดกไทยเรียนเยอะ จํานวนชั่วโมงเรียนต่อปี ของนักเรียนในระดับอายต่างๆ (ข้อมลจาก UNESCO)จานวนชวโมงเรยนตอป ของนกเรยนในระดบอายุตางๆ (ขอมูลจาก UNESCO) ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 อันดับ 2 ของโลก อันดับ 1 ของโลก อันดับ 1 ของโลก อันดับ 5 ของโลก อันดับ 8 ของโลก 1,080 ชม./ปี 1,200 ชม./ปี 1,200 ชม./ปี 1,167 ชม./ปี 1,167 ชม./ปี
  • 92. ผลการจัดอันดับความรู้ภาษาอังกฤษ จาก 10 ประเทศอาเซียน ลําดับที่ลําดับที่ ประเทศประเทศ // %%ของคนที่พดภาษาอังกฤษได้ของคนที่พดภาษาอังกฤษได้ลาดบทลาดบท ประเทศประเทศ // %%ของคนทพูดภาษาองกฤษไดของคนทพูดภาษาองกฤษได 1 สิงคโปร์สิงคโปร์ 7171 %% 2 ฟิลิปปินส์ฟิลิปปินส์ 5555..4949%% ไไ3 บรูไน ดาบรูไน ดารุสรุสซาลามซาลาม 3737..7373 %% 4 มาเลเซียมาเลเซีย 2727..2424 %%4 มาเลเซยมาเลเซย 2727..2424 %% 5 ไทยไทย 1010 %% ((66..5454 ล้านคนล้านคน))
  • 93. ํ โ ี ี่ไ ่ ่ ป ิจํานวนโรงเรียนทีไม่ผ่านการประเมิน ่จํานวนโรงเรียน ทั้งหมด โรงเรียนที่ผ่านการ ประเมิน โรงเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน โ ้(โรง) (โรง/ร้อยละ) (โรง/ร้อยละ) 30,742 23,810 (77 45) 6,932 (22 55)(77.45) (22.55)
  • 94. ํ ป ์ ็ ์ ั ิจานวนเปอร์เซนต์บณฑิตตกงาน จํานวนผู้ตอบ ยังไม่ได้ทํางาน ร้อยละ แบบสอบถาม และไม่ได้ศึกษาต่อ รอยละ 109,202 25,925 23.7
  • 95. 33.. ขณะนี้ขณะนี้กําลังดําเนินการอะไรกําลังดําเนินการอะไร33.. ขณ นขณ น ล เนน รอ ไรล เนน รอ ไร และจะดําเนินการอะไรต่อไปและจะดําเนินการอะไรต่อไป
  • 96.
  • 97. 10 การวิจัยเพื่อพัฒนา 1. หลักสูตรและ กระบวนการเรียนรู้ 2. พัฒนาระบบการผลิต10. การวจยเพอพฒนา และเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ การสรรหา และการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา 33.. ระบบตรวจสอบและระบบตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพการศึกษาประเมินคุณภาพการศึกษา 9 พัฒนาการศึกษา ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนและ ปฏิรปด้านการพัฒนาทรัพยากรมนษย์ ุุ 9. พฒนาการศกษา จังหวัดชายแดนภาคใต้ 4. การผลิตและพัฒนา กําลังคนให้สอดคล้องกับ ปฏรูปดานการพฒนาทรพยากรมนุษย และระบบการศึกษา 8. สร้างโอกาส กาลงคนใหสอดคลองกบ ความต้องการของประเทศ 8. สรางโอกาส ทางการศึกษา 7. ระบบงบประมาณ และทรัพยากร 55.. ระบบสื่อสารและระบบสื่อสารและ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และทรพยากร เพื่อการศึกษา 6. ระบบบริหารจัดการ
  • 98. จุดเน้นจุดเน้น 66 ยุทธศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการยุทธศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ ((การศึกษาในระบบการศึกษาในระบบ)) 6 การบริหาร 2 การผลิต 1. หลักสูตรและ กระบวนการเรียนรู้ 6. การบรหาร จัดการ 2.การผลต และพัฒนาครู ิ ึ 3. การทดสอบ การประเมิน ่ การปฏิรูปการศึกษา การประเมน การประกันคุณภาพ และการพัฒนา มาตรฐานการศึกษา 5. ICT เพื่อ การศึกษา มาตรฐานการศกษา 44.. ผลิต พัฒนากําลังคนและงานวิจัยผลิต พัฒนากําลังคนและงานวิจัย ที่สอดคล้องกับความต้องการที่สอดคล้องกับความต้องการทสอดคลองกบความตองการทสอดคลองกบความตองการ ของการพัฒนาประเทศของการพัฒนาประเทศ