SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 59
Descargar para leer sin conexión
การวางแผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
SUSTAINABLE TOURISM PLANNING
TM306
เทอม 2 / 2557
ครั้งที่ 1 – 2
บรรยายโดย
ดร.สมนึก จงมีวศิน (อ.เขียว)
ติดต่อ ผมตดตอ ผม
• somnuckj@hotmail.com
• www.facebook.com/somnuckj
ลักษณะวิชาลกษณะวชา
• ศึกษารูปแบบการจัดการ แนวคิดการพัฒนา การวางแผน
่ ่การวางเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการท่องเทียวที
ํ ไปส่ ิ ี่ ั ั ่ ี่ ่นาไปสูแนวคดเกยวกบการจดการการทองเทยวอยาง
ยั่งยืนยงยน
• โดยคํานึงถึงผลกระทบต่อเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและโดยคานงถงผลกระทบตอเศรษฐกจ วฒนธรรมและ
สิ่งแวดล้อมของท้องถิ่นรวมถึงบทบาทของภาครัฐและฐ
ภาคเอกชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
วัตถประสงค์วตถุประสงค
• เข้าใจหลักการวางแผนและการพัฒนาการท่องเที่ยว
ี่ ไ ้• สามารถวางแผนพัฒนาการท่องเทียวตามขบวนการวางแผน ได้
• เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนเขาใจแนวคดเกยวกบการจดการการทองเทยวแบบยงยน
• เข้าใจถึงผลกระทบจากการพัฒนาการท่องเที่ยว
• เข้าใจผลกระทบจากการพัฒนาการท่องเที่ยวในสถานการณ์ปัจจุบัน
่ ่• ทราบถึงแนวทางการปฏิบัติใหม่ๆเกี่ยวกับการจัดการท่องเที่ยวอย่าง
ยั่งยืนยงยน
• สามารถวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวได้อย่างเหมาะสม
การประเมินผลการประเมนผล
• สอบกลางภาค 30 %
• สอบปลายภาค 30 %%
• งานที่มอบหมาย 30 %งานทมอบหมาย 30 %
• การเข้าชั้นเรียน 10 %• การเขาชนเรยน 10 %
บทที่ 1บทท 1  
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนู
การวิเคราะห์การเติบโตของภาคการเกษตรการวเคราะหการเตบโตของภาคการเกษตร
6 7 8 9 10แผนฯ 6 แผนฯ 7 แผนฯ 8 แผนฯ 9 แผนฯ 10
GDP เกษตร 4.55 2.89 2.04 2.90 1.10
แรงงาน 0.11 -0.27 -0.07 0.08 0.01
ที่ดิน 0.06 0.05 0.06 0.14 0.36
ทุน 3.01 6.57 3.34 3.19 3.71
TFP 1 36 3 3 1 29 0 1 2 8TFP 1.36 -3.37 -1.29 -0.51 -2.78
ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
หมายเหต TFP = Total Factor Production Growth หรือการขยายตัวของผลิตภาพการผลิตหมายเหตุ TFP = Total Factor Production Growth หรอการขยายตวของผลตภาพการผลต
ดัชนีความผาสกของเกษตรกรไทยดชนความผาสุกของเกษตรกรไทย
ดัชนี (ร้อยละ)( )
ตัวชี้วัด ปี 2550 ปี2551 ปี2552 ปี2553
ีดัชนีความผาสุกของเกษตรกร 77.57 78.75 79.46 79.93
1. ด้านเศรษฐกิจ 68.86 69.39 67.63 68.061. ดานเศรษฐกจ 68.86 69.39 67.63 68.06
2. ด้านสุขอนามัย 96.76 96.75 98.11 98.56
3. ด้านการศึกษา 52.84 57.61 57.85 58.62
4 ด้านสังคม 88 73 90 98 91 52 91 914. ดานสงคม 88.73 90.98 91.52 91.91
5. ด้านสิ่งแวดล้อม 63.46 63.63 66.52 67.1
ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2554
60 ้ ่ ้ไ 60 69 99 ้ ป ั ป 70 79 99 ปหมายเหตุ: 60 ตองเรงแกไข 60-69.99 ตองปรบปรุง 70-79.99 ปานกลาง
80.00-89.99 ดี 90-100.00 ดีมาก
ลักษณะของครัวเรือนเกษตรกรในล่มนํ้าโขงลกษณะของครวเรอนเกษตรกรในลุมนาโขง
รายการ ไทย ลาว พม่า เวียดนามรายการ ไทย ลาว พมา เวยดนาม
ขนาดครัวเรือน (คน) 4.9 5.1 5.5 3.9
หัวหน้าครัวเรือนหญิง (%) 20.5 12.7 13.7 15.7
อายหัวหน้าครัวเรือน (ปี) 54 9 45 0 46 5 51 0อายุหวหนาครวเรอน (ป) 54.9 45.0 46.5 51.0
จํานวนปีที่ได้รับการศึกษา 5.1 6.7 6.4 7.3
รายได้ต่อครัวเรือนต่อปี
(เหรียญสหรัฐ)
9,206 3,815 1,267 2,560
(เหรยญสหรฐ)
รายจ่ายต่อครัวเรือนต่อปี 9,974 3,450 3,725 2,750
(เหรียญสหรัฐ)
ี่ TDRI 2012 S i l P t ti S t f S ll S l A i ltทมา: TDRI, 2012. Social Protection System for Small-Scale Agriculture:
Evidences from the Greater Mekong Subregion. For OXFAM
เกษตร VS อุตสาหกรรม
เกษตร VS อุตสาหกรรม
้ ิ ้ดุลการค้าสินค้าเกษตรและนอกการเกษตร 2552
ส่งออก นําเข้า ดลการค้าสงออก นาเขา ดุลการคา
สินค้าทั้งหมด 5,196,170 4,605,171 591,951
สินค้านอกเกษตร 4,208,317 4,247,008 -38,554
สินค้าเกษตร 778,835 251,497 527,353
หน่วย ล้านล้านบาทหนวย : ลานลานบาท
ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ยอดขายสินค้าอาหารของห้างขนาดใหญ่ 2003ยอดขายสนคาอาหารของหางขนาดใหญ 2003
อันดับ ยอดขายสินค้าอาหาร ยอดขายทั้งหมด
เปอร์เซ็นต์
อาหาร
(ล้านเหรียญสหรัฐ) (ล้านเหรียญสหรัฐ)
1 วอลมาร์ท(Wallmart) 121,566 278,081 44
2 คาร์ฟู (Carefour) 77,330 99,872 77
3 อะโฮลด์ (Ahold) 72,414 86,205 84
4 เทสโก(Tesco) 40,907 54,807 75
5 โครเกอร์(Kroger) 39,320 56,024 70
6 เรเว (Rewe) 36,483 48,246 76
7อัลดี ( Aldi) 36,189 43,277 84
8 อิโต-โยคาโด (Ito-
Yokado) 35,812 56,160 64
9เมโทรกร๊ป (Metro9เมโทรกรุป (Metro
Group) 34,700 68,692 51
10 อินเตอร์มาเช่10 อนเตอรมาเช
(Intermarché) 33,487 43,414 77
Source: M+M PlanetRetail.
ค่าใช้จ่ายครัวเรือนประเทศไทย-2552
เครื่องน่งห่ม
รักษาพยาบาล
2%
การจัดงานพิธี
1%
เครองนุงหม
และรองเท้า
3% การศึกษา
การบันเทิง
การอ่านและ
เงินทําบุญ/
เครื่องดื่ม
ดอกเบี้ย
จ่าย
การ
พนัน
อื่นๆ
1%
ยาสูบ หมาก ยา
นัตถ์ และอื่นๆ
อาหาร และ
เครื่องดื่ม
32%
ค่า
สื่อสาร
3%
ค่าใช้จ่าย
ส่
3% การศกษา
2%
กิจกรรมทาง
ศาสนา
2%
ุญ
เงินช่วยเหลือ
1%
แอลกอฮอล์
1%
1% 1%
1% นตถุ และอนๆ
1%
32%
ป ั สั
3% สวนบุคคล
3%
2%
ส่งให้บคคล
ประกนสงคม
3%
่
สงใหบุคคล
นอกครัวเรือน
4%
ที่อยู่อาศัย
20%
คา
เดินทาง
9%
ยานพาหนะ
8%
4%
9%8%
กรอบแนวคิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) .. 1
• แนวคิดต่อเนื่องจากแผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ ๘ - ๑๐
• ึ ั ป ิ ั ิ “ป ัช ศ ฐ ิ ี ”• ยดหลกการปฏบตตาม “ปรชญาของเศรษฐกจพอเพยง”
• ขับเคลื่อนให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกภาคส่วน ทุกระดับ
• ยึดแนวคิดการพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวมที่มี “คนเป็นศูนย์กลางการ
พัฒนา”พฒนา
• เน้น มิติตัวคน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และการเมือง
• สร้างภูมิคุ้มกันให้พร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในระดับปัจเจก
ครอบครัว ชมชน สังคม และประเทศชาติครอบครว ชุมชน สงคม และประเทศชาต
• ให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมในกระบวนการพัฒนา
ปประเทศ
กรอบแนวคิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) .. 2
• ให้ความสําคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศ
• ้ ส ิ ส ้ ้ ็ ฐ ิ ป• เนนการเสรมสรางความเขมแขงของฐานการผลตภาคเกษตรและการประกอบการ
ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
• ปรับตัวในการเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจโลกและภูมิภาค ซึ่ไทยมีพันธกรณี
ภายใต้กรอบความร่วมมือต่าง ๆๆ
• ใช้โอกาสที่เกิดขึ้นและเพิ่มภูมิคุ้มกันของทุนที่มีอยู่ในสังคมไทยอย่างเหมาะสม
ื่ ้ ่ป ิ ี ใ ปีเพือก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี ๒๕๕๘
• เชื่อมโยงด้านกายภาพทั้งโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ฐ
• ยกระดับคุณภาพคน การเสริมสร้างองค์ความรู้ การพัฒนาวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ เป็นพลังขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลย นวตกรรมและความคดสรางสรรค เปนพลงขบเคลอนการพฒนา
เศรษฐกิจและสังคมไทย
ึ ั ํ ั ั ั ี่ 1เจาะลก หลกการสาคญของ แผนพฒนาฯ ฉบบท ๑๑ .. 1
• พัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยืนู ุ
• เสริมสร้างทุนสังคม (ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนทางวัฒนธรรม) พัฒนาคนและ
สังคมไทยส่สังคมคณภาพ ม่งสร้างภมิค้มกันตั้งแต่ระดับปัจเจก ครอบครัว และสงคมไทยสูสงคมคุณภาพ มุงสรางภูมคุมกนตงแตระดบปจเจก ครอบครว และ
ชุมชน
่ ่• สามารถจัดการความเสี่ยง และปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง
• มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรและได้รับประโยชน์จากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมมโอกาสเขาถงทรพยากรและไดรบประโยชนจากการพฒนาเศรษฐกจและสงคม
อย่างเป็นธรรม
ิ ้ ิ ิ ่ ั ิ• เสริมสร้างทุนเศรษฐกิจ (ทุนกายภาพ ทุนทางการเงิน) มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจ
ภายในประเทศให้เข้มแข็ง
• ใช้ภูมิปัญญาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์
• ให้ความสําคัญกับการปรับโครงสร้างการค้าและการลงทนให้สอดคล้องกับความ• ใหความสาคญกบการปรบโครงสรางการคาและการลงทุนใหสอดคลองกบความ
ต้องการของตลาดภายในประเทศและต่างประเทศ
ึ ั ํ ั ั ั ี่ 2เจาะลก หลกการสาคญของ แผนพฒนาฯ ฉบบท ๑๑ .. 2
• เชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ บนพื้นฐานการพึ่งพาซึ่งกันและกัน
• ส ิ ส ้ ั ช ิ สิ่ ้• เสรมสรางทุนทรพยากรธรรมชาตและสงแวดลอม
• สร้างความมั่นคงด้านอาหาร บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่
เป็นฐานการผลิตภาคเกษตร
• ม่งส่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนตํ่า และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การมุงสูการเปนเศรษฐกจและสงคมคารบอนตา และเปนมตรกบสงแวดลอม การ
ผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
่• เตรียมความพร้อมรองรับการเปลียนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ
• สร้างภมิค้มกันด้านการค้าจากเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อมสรางภูมคุมกนดานการคาจากเงอนไขดานสงแวดลอม
• เพิ่มบทบาทไทยในเวทีประชาคมโลก
ึ ั ํ ั ั ั ี่ 3เจาะลก หลกการสาคญของ แผนพฒนาฯ ฉบบท ๑๑ .. 3
• บริหารจัดการประเทศเพื่อสร้างความเป็นธรรมในสังคม
• ั ช ้ ช โ ึ ั ิ• พฒนาระบบราชการและขาราชการโดยยดหลกธรรมาภบาล
• เพิ่มประสิทธิภาพการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
• พัฒนาระบบและกลไกการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
อย่างมีส่วนร่วมอยางมสวนรวม
• ส่งเสริมให้ประชาชนทุกระดับมีโอกาสเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเท่าเทียม
• สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากร
• ปลกจิตสํานึก ค่านิยมประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลแก่ประชาชน• ปลูกจตสานก คานยมประชาธปไตยและธรรมาภบาลแกประชาชน
วิสัยทัศน์ปร เทศไทย ปีพ ศ ๒๕๗วสยทศนประเทศไทย ปพ.ศ. ๒๕๗๐
• คนไทยภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีมิตรไมตรีบนวิถีชีวิตแห่งความ
ี ึ ั่ ใ ั ป ช ิปไ ั ิพอเพยง ยดมนในวฒนธรรมประชาธปไตย และหลกธรรมาภบาล การ
บริการสาธารณะขั้นพื้นฐานที่ทั่วถึง มีคุณภาพสังคมมีความปลอดภัย
และมั่นคง อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ดี เกื้อกูลและเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน
ระบบการผลิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงด้านอาหารและระบบการผลตเปนมตรกบสงแวดลอม มความมนคงดานอาหารและ
พลังงาน อยู่บนฐานทางเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองและแข่งขันได้ในเวทีโลก
์สามารถอยู่ในประชาคมภูมิภาคและโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี
วิสัยทัศน์ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่วสยทศน แผนพฒนาฯ ฉบบท ๑๑
“สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความ
เสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการ
เปลี่ยนแปลง”
ั ิ ั ั ี่ 1พนธกจ แผนพฒนาฯ ฉบบท ๑๑ .. 1
• สร้างสังคมเป็นธรรมและเป็นสังคมที่มีคณภาพ ทกคนมีความมั่นคงใน• สรางสงคมเปนธรรมและเปนสงคมทมคุณภาพ ทุกคนมความมนคงใน
ชีวิต ได้รับการคุ้มครองทางสังคมที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม มี
โอกาสเข้าถึงทรัพยากรและกระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอภาค ทุกภาค
ส่วนได้รับการเสริมพลังให้สามารถมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาสวนไดรบการเสรมพลงใหสามารถมสวนรวมในกระบวนการพฒนา
ภายใต้ระบบบริหารจัดการภาครัฐที่โปร่งใส เป็นธรรม
• พัฒนาคุณภาพคนไทยให้มีคุณธรรม เรียนรู้ตลอดชีวิต มีทักษะและการ
ดํารงชีวิตอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย สถาบันทางสังคมและชมชนดารงชวตอยางเหมาะสมในแตละชวงวย สถาบนทางสงคมและชุมชน
ท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง สามารถปรับตัวรู้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง
ั ิ ั ั ี่ 2พนธกจ แผนพฒนาฯ ฉบบท ๑๑ .. 2
• พัฒนาฐานการผลิตและบริการให้เข้มแข็งและมีคณภาพบนฐานความร้• พฒนาฐานการผลตและบรการใหเขมแขงและมคุณภาพบนฐานความรู
ความคิดสร้างสรรค์ และภูมิปัญญา สร้างความมั่นคงด้านอาหารและ
พลังงาน ปรับโครงสร้างการผลิตและการบริโภคให้เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม พร้อมสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภมิภาคเพื่อความสงแวดลอม พรอมสรางความเชอมโยงกบประเทศในภูมภาคเพอความ
มั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม
• สร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สนับสนุน
การมีส่วนร่วมของชมชน รวมทั้งสร้างภมิค้มกันเพื่อรองรับผลกระทบจากการมสวนรวมของชุมชน รวมทงสรางภูมคุมกนเพอรองรบผลกระทบจาก
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศุ
ในแผนพัฒนา ฉบับที่ ๑๑
• ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม
์ ั ่ ั ่ ี ้ ี ิ ่ ั่ ื• ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยังยืน
• ยทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงานยุทธศาสตรความเขมแขงภาคเกษตร ความมนคงของอาหารและพลงงาน
• ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ สู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและ
่ ืยังยืน
• ยทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภมิภาค เพื่อความมั่นคงยุทธศาสตรการสรางความเชอมโยงกบประเทศในภูมภาค เพอความมนคง
ทางเศรษฐกิจและสังคม
่ ่• ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ความล้มเหลวจากการพัฒนาปร เทศ ในอดีตความลมเหลวจากการพฒนาประเทศ ในอดต
• โครงสร้างเศรษฐกิจของไทยไม่สามารถรองรับการเจริญเติบโตได้อย่าง
ั่ ื ั ้ ึ่ ิ ชิ ั ป ี่ ป ปั ัยงยน ยงตองพงพงและเผชญกบการเปลยนแปลงจากปจจยภายนอก
ประเทศมากขึ้นตามลําดับ
• ระบบเศรษฐกิจของไทยยังมีความอ่อนแอด้านปัจจัยสนับสนุนในส่วน
ิ ์ โ โ ีของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
• คณภาพการให้บริการของโครงสร้างพื้นฐาน กฎหมาย กฎและระเบียบคุณภาพการใหบรการของโครงสรางพนฐาน กฎหมาย กฎและระเบยบ
ทางเศรษฐกิจที่ไม่เอื้อต่อการจัดระบบการแข่งขันที่เป็นธรรมและ
ั ์ ป ี่ ป ิเหมาะสมกับสถานการณ์การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจ
ความท้าทายที่รออย่ ในอนาคตความทาทายทรออยู ในอนาคต
• การพัฒนาต่อไปนี้จะต้องให้ความสําคัญกับการปรับโครงสร้าง
เศรษฐกิจส่การพัฒนาที่มีคณภาพและยั่งยืนเศรษฐกจสูการพฒนาทมคุณภาพและยงยน
• ใช้ปัญญา ความรู้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความคิด
้ ่สร้างสรรค์ เป็นพื้นฐานสําคัญในการขับเคลือน
• สร้างปัจจัยสนับสนนที่เอื้ออํานวยและมีบรรยากาศในการแข่งขันที่สรางปจจยสนบสนุนทเอออานวยและมบรรยากาศในการแขงขนท
เป็นธรรม
• ใช้โอกาสจากปัจจัยภายนอกให้เกิดประโยชน์กับประเทศได้อย่าง
เหมาะสม
• สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจให้เกิดขึ้นจากปัจจัย
ใ ป ศ ป็ สํ ัภายในประเทศเปนสาคญ
การสร้างกลยทธ์การแข่งขันการท่องเที่ยวไทยที่บรรจอย่ในการสรางกลยุทธการแขงขนการทองเทยวไทยทบรรจุอยูใน
แผนพัฒนา ฉบับที่ ๑๑
• การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทาง
ศ ฐ ิ สัเศรษฐกจและสงคม
• การปรับโครงสร้างภาคบริการ ให้สามารถสร้างมลค่าเพิ่มกับสาขาู
บริการที่มีศักยภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมบนฐานความคิด
้ ์ ัสร้างสรรค์และนวัตกรรม
การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค
่ ่เพือความมันคงทางเศรษฐกิจและสังคม
• พัฒนาฐานลงทุนโดยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระดับอนุ
ิภูมภาค
• ม่งพัฒนาพื้นที่ในภมิภาคต่าง ๆ ของประเทศให้เชื่อมโยงกับประเทศุ ู ๆ
เพื่อนบ้านและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
่• ให้เป็นฐานการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม การเกษตร และการท่องเที่ยว
พัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนและเมืองชายแดนพฒนาเขตเศรษฐกจชายแดนและเมองชายแดน
• บูรณาการแผนพัฒนาพื้นที่เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน ให้บรรลุ
้ ่ ้ ่ประโยชน์ร่วมกันทั้งด้านความมั่นคงและเสถียรภาพของพื้นที่
การปรับโครงสร้างภาคบริการให้สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มกับ
่ ่สาขาบริการทีมีศักยภาพและเป็นมิตรกับสิงแวดล้อมบนฐาน
ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมความคดสรางสรรคและนวตกรรม
• เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจบริการที่มีศักยภาพสูุ่ ู
ธุรกิจเชิงสร้างสรรค์
• สนับสนนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมให้กับธรกิจสนบสนุนการวจยและพฒนาเพอสรางนวตกรรมใหกบธุรกจ
• ส่งเสริมการใช้องค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในการพัฒนาสินค้าและ
บริการบรการ
• ส่งเสริมการลงทุนในธุรกิจบริการที่มีศักยภาพ โดยอาศัยความได้เปรียบของ
ํ ี่ ั้ ิ ์ ป ีทําเลทีตังทางภูมิศาสตร์ของประเทศ ความหลากหลายทางชีวภาพและ
วัฒนธรรม และเอกลักษณ์ความเป็นไทย
• สามารถรองรับการเปิดเสรีทางการค้าและกระแสความต้องการของ
ตลาดโลก ได้แก่ ธุรกิจการท่องเที่ยว ธุรกิจบริการสุขภาพ ธุรกิจบริการ โลจิ
สติกส์ ธุรกิจภาพยนตร์ ธุรกิจการจัดประชุมและแสดงนิทรรศการนานาชาติ
• พัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการลงทนในภาคบริการทั้งในประเทศและพฒนาปจจยแวดลอมใหเออตอการลงทุนในภาคบรการทงในประเทศและ
ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศในภาคบริการ
ป ั ป ป ิ ิ ใ ้ ิ โ ้ ื้ ั• ปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการของโครงสร้างพืนฐาน พัฒนาระบบ
ฐานข้อมูลภาคบริการโดยรวมของประเทศและข้อมูลเชิงลึกในสาขาบริการ
่ที่มีศักยภาพ
• ปรับปรงกฎหมาย กฎ ระเบียบ และสิทธิประโยชน์ให้เอื้อต่อการลงทนปรบปรุงกฎหมาย กฎ ระเบยบ และสทธประโยชนใหเออตอการลงทุน
• ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี
• ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการประกอบธุรกิจ
• ส่งเสริมธรกิจบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสงเสรมธุรกจบรการทเปนมตรกบสงแวดลอม
• ผลิตและพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพสอดคล้องกับความต้องการของ
ธุรกิจ
• ฟื้นฟและพัฒนาคณภาพแหล่งท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับความต้องการของ• ฟนฟูและพฒนาคุณภาพแหลงทองเทยวใหสอดคลองกบความตองการของ
ตลาด
้ ่ ่ ่• ฟื้นฟูพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวหลักที่เสื่อมโทรม
• พัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจของธรกิจท่องเที่ยวในกล่มพื้นที่ที่มีศักยภาพสงพฒนาเครอขายวสาหกจของธุรกจทองเทยวในกลุมพนททมศกยภาพสูง
• ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ และกระแส
้ โ ี่ ิ ี่ ิความต้องการของตลาดโลก เช่น การท่องเทียวเชิงสุขภาพ การท่องเทียวเชิง
นิเวศการท่องเที่ยวเชิงศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสัมผัสวิถี
ชีวิตชุมชน
• ส่งเสริมการดําเนินกลยทธ์ทางการตลาดรปแบบใหม่ที่สามารถเข้าถึงกล่มสงเสรมการดาเนนกลยุทธทางการตลาดรูปแบบใหมทสามารถเขาถงกลุม
ลูกค้าและขยายไปยังตลาดใหม่ ๆ ที่มีศักยภาพ
• บริหารจัดการการท่องเที่ยวให้เกิดความสมดุลและยั่งยืน
• ใ ้ สํ ั ั ั ่ ี่ ชิ ส ้ ส ์ ป็ ิ ่• ใหความสาคญกบการพฒนาการทองเทยวเชงสรางสรรคและเปนมตรตอ
สิ่งแวดล้อม
• คํานึงถึงความสมดุล และความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยว
• พัฒนายกระดับมาตรฐานสินค้าและบริการพฒนายกระดบมาตรฐานสนคาและบรการ
• พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้มีคุณภาพและเพียงพอ
• บูรณาการการท่องเที่ยวให้เชื่อมโยงกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม
ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งสาขาการผลิตและบริการอื่น ๆทรพยากรธรรมชาต รวมทงสาขาการผลตและบรการอน ๆ
• เสริมสร้างความเข้มแข็งของท้องถิ่น ชมชน ผ้ประกอบการรายย่อย วิสาหกิจเสรมสรางความเขมแขงของทองถน ชุมชน ผูประกอบการรายยอย วสาหกจ
ชุมชน และบุคลากรภาครัฐ เพื่อร่วมกันพัฒนาและเชื่อมโยงกับสาขาการ
ผลิตและบริการที่เกี่ยวเนื่องในพื้นที่ตามแนวทางการพัฒนาเครือข่ายผลตและบรการทเกยวเนองในพนทตามแนวทางการพฒนาเครอขาย
วิสาหกิจ
• พัฒนาทักษะและองค์ความรู้ของบุคลากร ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น และชุมชนุ
• เสริมสร้างศักยภาพของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ใ ้ส ป ั ั ื่ ั ่ ี่ ิ ึ้ใหสามารถปรบตวเพอรองรบผลกระทบตาง ๆ ทอาจจะเกดขนจากการ
เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขตามกฎระเบียบใหม่ของโลก
สถานการณ์และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เป็น
ความท้าทายต่อการท่องเที่ยวไทยในปัจจุบัน .. 1
• ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
1 ิ โ1. ความถดถอยของเศรษฐกิจโลก
2. การปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนย์กลางู ฐ ู
3. การขยายตัวของขั้วอํานาจทางเศรษฐกิจใหม่ อาทิ บราซิล รัสเซีย อินเดีย และ
จีน ส่งผลต่อการรวมกล่มทางเศรษฐกิจในภมิภาคต่างๆการเปลี่ยนแปลงในจน สงผลตอการรวมกลุมทางเศรษฐกจในภูมภาคตางๆการเปลยนแปลงใน
ตลาดการเงินของโลกที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนย้ายเงินทุน สินค้าและบริการ
4. การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี ส่งผลให้ประเทศไทยต้องพัฒนาการตลาดท่องเที่ยว
เชิงรุกและเตรียมความพร้อมต่อการผันผวนของค่าเงิน การพัฒนาบุคลากรในุ ุ
การท่องเที่ยวให้มีคุณภาพ การปรับปรุงกฎระเบียบต่างๆ
สถานการณ์และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เป็น
ความท้าทายต่อการท่องเที่ยวไทยในปัจจุบัน .. 2
• ผลกระทบด้านสังคม
1 ใ ้ ใ ั ั1. การให้ความสนใจกับชุมชน มรดกทางวัฒนธรรม
2. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสู่สังคมผู้สูงอายุ ส่งผลต่อพฤติกรรมการู ู ู ุ ฤ
ท่องเที่ยว
3 นักท่องเที่ยวให้ความสําคัญกับคณภาพของแหล่งท่องเที่ยวที่ต้องปลอดภัย3. นกทองเทยวใหความสาคญกบคุณภาพของแหลงทองเทยวทตองปลอดภย
สะอาด มีการรักษา สภาพแวดล้อม และใช้สื่อสารสนเทศในการท่องเที่ยว
ึ้มากขึน
4. รูปแบบของการท่องเที่ยวมีแนวโน้มท่องเที่ยวแบบอิสระ สนใจการท่องเที่ยวู
เฉพาะทาง .. การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Health and Wellness 
Tourism) การท่องเที่ยวแบบผจญภัย (Adventure Tourism)Tourism) การทองเทยวแบบผจญภย (Adventure Tourism) 
การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sports Tourism)
5.  กระแสโลกาภิวัตน์และวัฒนธรรมโลกที่เข้ามาในไทย การเปิดการค้าเสรี
ก่อให้เกิดการอพยพย้ายถิ่น การเคลื่อนย้ายแรงงาน ส่งผลต่อวิถีชีวิตคนไทย ทั้งกอใหเกดการอพยพยายถน การเคลอนยายแรงงาน สงผลตอวถชวตคนไทย ทง
ระดับครอบครัว ชุมชนและประเทศ .. เกิดการสูญหายของวัฒนธรรมพื้นถิ่น .. 
ส่ ่ ่ ี่ ไสงผลตอการทองเทยวไทย
สถานการณ์และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เป็น
ความท้าทายต่อการท่องเที่ยวไทยในปัจจุบัน .. 3
• ผลกระทบด้านทรัพยากรธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ิ ศภูมอากาศ
1. สถานการณ์และแนวโน้มความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรงขึ้น
2 ปัญหามลพิษ อณหภมิโลกที่ร้อนขึ้น การกัดเซาะของชายฝั่ง ภาวะภัยแล้ง2. ปญหามลพษ อุณหภูมโลกทรอนขน การกดเซาะของชายฝง ภาวะภยแลง
และนํ้าท่วม ส่งผลต่อความงดงาม และบรรยากาศของแหล่งท่องเที่ยว
่ ้ ่3. ไทยต้องเตรียมพร้อมรองรับผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยการคํานึงถึงการท่องเที่ยว
ที่สะอาด (Green Tourism) การพัฒนามาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว( ) ฐ
ตลอดจนพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวในทุกระดับให้มี
ศักยภาพรองรับการเปลี่ยนแปลงบนพื้นฐานการเติบโตของการท่องเที่ยวศกยภาพรองรบการเปลยนแปลงบนพนฐานการเตบโตของการทองเทยว
อย่างสมดุลและยั่งยืน
สถานการณ์และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เป็น
ความท้าทายต่อการท่องเที่ยวไทยในปัจจุบัน .. 4
• ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด
1 ่ ี่ ้ ป ั ี ้ ใ ้ ั ่ ป ี่ ป โ1. ภาคการท่องเทียวต้องปรับเตรียมความพร้อมให้ทันต่อการเปลียนแปลง โดย
ต้องบริหารจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ
2. ต้องประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการส่งเสริมการท่องเที่ยว
3 เทคโนโลยีด้านการบินและการขยายตัวของกิจการสายการบินต้นทนตํ่า3. เทคโนโลยดานการบนและการขยายตวของกจการสายการบนตนทุนตา
ส่งเสริมให้เกิดการเดินทางบ่อยขึ้น และระยะเวลาในการพํานักของ
ี่ ้ ้นักท่องเทียวแต่ละครังสันลง
สถานการณ์และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เป็น
ความท้าทายต่อการท่องเที่ยวไทยในปัจจุบัน .. 5
• ผลกระทบด้านภาพลักษณ์และความเชื่อมั่น
1 ไ ป ปั ิ ิ ่ โ ปั ื1. ไทยประสบปัญหาภาวะวิกฤติต่างๆ โดยเฉพาะปัญหาการเมือง
ภายในประเทศ การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ปัญหาจาก
่ ่อุทกภัยและวาตภัย ความเสื่อมโทรมของแหล่งท่องเที่ยว ความปลอดภัย และ
ปัญหาการก่อการร้ายใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ญ
2. สถานการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อภาพลักษณ์และความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยว
่ ไตอไทย
3. เป็นเหตุให้นักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดหลักเปลี่ยนจุดหมายไปยังแหล่งท่องเที่ยว
ในภูมิภาคอื่นๆ ส่งผลกระทบต่อจํานวนและรายได้จากการท่องเที่ยว
ปัจจัยความเสี่ยงภายในประเทศ..อปสรรคการเชื่อมโยงกับภมิภาคปจจยความเสยงภายในประเทศ..อุปสรรคการเชอมโยงกบภูมภาค
ในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยและภาคบริการที่เกี่ยวข้อง (1)
• ผู้ประกอบการไทยขาดศักยภาพในการลงทุนในต่างประเทศรวมทั้งการลงทุนในประเทศเพื่อน
บ้านและขาดความพร้อมต่อการแข่งขันเสรีภายในประเทศ
• ขาดทักษะของผู้ประกอบการในการประกอบธุรกิจร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน
• ขาดการรวมพลังในรปแบบของสภาธรกิจ และกรอบการหารือภาครัฐร่วมกับเอกชนอย่างมี• ขาดการรวมพลงในรูปแบบของสภาธุรกจ และกรอบการหารอภาครฐรวมกบเอกชนอยางม
ประสิทธิภาพเพื่อเสนอแนวการลงทุนร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน หรือรับข้อเสนอการร่วมลงทุน
ั ใ ื้ ี่ ั ั ใ ป็ ้ป ั ้ป ้ ใ ้ป โ ์• ภาครัฐในพืนทียังขาดศักยภาพในการเป็นผู้ประสานงานกับผู้ประกอบการด้านการใช้ประโยชน์
จากกรอบความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน
ํ ์ ใ ้ ไ ใ ื่• ขาดการกําหนดกรอบยุทธศาสตร์ภาพรวมในการลงทุนของผู้ประกอบการไทยในประเทศเพือน
บ้านที่มีบทบาทเชิงรุกและสามารถสร้างเสริมผลประโยชน์ของไทย พร้อมทั้งมีความรับผิดชอบ
ั ใ ป ื่ ้ ื่ ไ ้ ื้ ื่ ใ ั ่ ั ี่ ั่ ืทางสังคมในประเทศเพือนบ้านเพือความไว้เนือเชือใจและการพัฒนาร่วมกันทียังยืน
• ขาดยุทธศาสตร์ภาพรวมอย่างมีบูรณาการ และแผนปฏิบัติการเชิงลึกในการช่วยเหลือ
้ ี่ไ ีผู้ประกอบการ รวมทังเกษตรกรภายในประเทศทีได้รับผลกระทบเชิงลบจากการแข่งขันเสรีใน
กรอบประชาคมอาเซียน
ปัจจัยความเสี่ยงภายในประเทศ..อปสรรคการเชื่อมโยงกับภมิภาคปจจยความเสยงภายในประเทศ..อุปสรรคการเชอมโยงกบภูมภาค
ในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยและภาคบริการที่เกี่ยวข้อง (2)
• แรงงานไทยขาดการยอมรับในมาตรฐานฝีมือแรงงานและมีข้อจํากัดด้านภาษาต่างประเทศ
รวมทั้งความร้ความเข้าใจด้านขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมของประเทศในภมิภาคู ู
• ภาครัฐยังขาดการวางแผนงานด้านแรงงานร่วมกับประเทศที่เป็นตลาดแรงงานไทย เพื่อการ
พัฒนาที่ยั่งยืนร่วมกันส่งผลให้เกิดความเสียเปรียบในการเคลื่อนย้ายแรงงานและการลงทนจากพฒนาทยงยนรวมกนสงผลใหเกดความเสยเปรยบในการเคลอนยายแรงงานและการลงทุนจาก
ต่างประเทศ
• ไทยขาดแคลนแรงงานมีทักษะฝีมือในสาขาที่มีความต้องการ และแม้ว่าจะมีการรับรองข้อตกลง• ไทยขาดแคลนแรงงานมทกษะฝมอในสาขาทมความตองการ และแมวาจะมการรบรองขอตกลง
ยอมรับร่วมคุณสมบัตินักวิชาชีพอาเซียน (ASEAN Mutual Recognition 
Arrangement) ไปแล้ว ๗ สาขา (แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล สถาปนิก วิศวกร ช่างArrangement) ไปแลว ๗ สาขา (แพทย ทนตแพทย พยาบาล สถาปนก วศวกร ชาง
สํารวจ และนักบัญชี และอยู่ระหว่างการดําเนินการรับรองในสาขาบริการท่องเที่ยว) แต่ยัง
จําเป็นต้องดําเนินการให้สามารถใช้ประโยชน์จากมาตรฐานร่วมดังกล่าวได้อย่างเต็มที่จาเปนตองดาเนนการใหสามารถใชประโยชนจากมาตรฐานรวมดงกลาวไดอยางเตมท
• ไทยยังต้องพึ่งพาแรงงานต่างด้าว แต่ยังขาดนโยบายที่ชัดเจนด้านการใช้แรงงานต่างประเทศ
สวัสดิการและการเคลื่อนย้ายแรงงาน และมีความล่าช้าในการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจชายแดนและสวสดการและการเคลอนยายแรงงาน และมความลาชาในการจดตงเขตเศรษฐกจชายแดนและ
การวางแผนด้านการพัฒนาด้านแรงงานรองรับเขตเศรษฐกิจ
ปัจจัยความเสี่ยงภายในประเทศ..อปสรรคการเชื่อมโยงกับภมิภาคปจจยความเสยงภายในประเทศ..อุปสรรคการเชอมโยงกบภูมภาค
ในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยและภาคบริการที่เกี่ยวข้อง (3)
• ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องขาดความรับรู้อย่างพอเพียงในการใช้ประโยชน์จากความเชื่อมโยงระบบโล
จิสติกส์และการคมนาคมขนส่งภายใต้แผนแม่บทความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนและจสตกสและการคมนาคมขนสงภายใตแผนแมบทความเชอมโยงระหวางกนในอาเซยนและ
ผลกระทบจากยุทธศาสตร์เชื่อมโยงระบบโลจิสติกส์ของมหาอํานาจในภูมิภาค
• ขาดกลไกกลางในการบรณาการแผนงานและโครงการในระดับพื้นที่ทําให้เสียโอกาสในการ• ขาดกลไกกลางในการบูรณาการแผนงานและโครงการในระดบพนททาใหเสยโอกาสในการ
เชื่อมโยงระบบจากแนวพื้นที่เศรษฐกิจต่าง ๆ ในอนุภูมิภาค
ื้ ี่ ั ิ ื ใ ้– แนวพืนทีพัฒนาเศรษฐกิจเหนือ - ใต้
– แนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจตะวันออก - ตะวันตก
้– แนวพื้นที่เศรษฐกิจตอนใต้
– การเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านระหว่างเมืองชายแดนสําคัญในกรอบ GMS และญ
IMT – GT 
– แผนงานพัฒนาโครงข่ายรถไฟความเร็วสูงของจีนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตู้ ู
– การพัฒนาท่าเรือยุทธศาสตร์ในอ่าวเบงกอลของจีนในพม่าและของอินเดีย
ปัจจัยความเสี่ยงภายในประเทศ..อปสรรคการเชื่อมโยงกับภมิภาคปจจยความเสยงภายในประเทศ..อุปสรรคการเชอมโยงกบภูมภาค
ในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยและภาคบริการที่เกี่ยวข้อง (4)
• ความไม่แน่นอนทางการเมืองและความมั่นคงในประเทศเพื่อนบ้าน
• ป ศ ื่ ้ ป ศ ่ ่ ป ี่ ่ ไปส่ ั ศ ิ สั• ประเทศเพอนบานหลายประเทศอยูระหวางการเปลยนผานไปสูการพฒนาเศรษฐกจและสงคม
ที่ดีขึ้น รวมทั้งมีการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองเพื่อสร้างเสถียรภาพและความมั่นคงเพิ่มขึ้น
จะต้องอาศัยเวลาในการปรับตัวให้สอดคล้องกับโลกาภิวัตน์และเศรษฐกิจโลกจะตองอาศยเวลาในการปรบตวใหสอดคลองกบโลกาภวตนและเศรษฐกจโลก
• จําเป็นต้องติดตามพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพื่อนบ้านอย่างใกล้ชิด เพื่อ
ป โ ์ใ ่ ิ ิ ้ ั ่ ั่ ืประโยชน์ในการส่งเสริมเศรษฐกิจ การค้า และสังคมอย่างยังยืน
การสร้างภูมิคุ้มกันในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อู ุ
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยไปสู่ความยั่งยืน (1)
• กําหนดบทบาทและทิศทางการพัฒนาของประเทศที่กระตุ้นให้เกิดการเติบโต
และเชื่อมโยงของสาขาต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจและเชอมโยงของสาขาตาง ๆ ทางเศรษฐกจ
• ให้ความสําคัญต่อการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมและโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ
ี่ไ ไ ้ภายใต้แผนงานและโครงการทีได้กําหนดไว้ในปัจจุบัน รวมทังแผนงานและโครงการ
ที่จะพัฒนาเพิ่มเติมในอนาคต
• เปิดโอกาสให้มีการลงทุนพัฒนาจากต่างประเทศและภายใต้กรอบความร่วมมือ
ภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้สามารถยกระดับให้เป็นแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจภาครฐและภาคเอกชน เพอใหสามารถยกระดบใหเปนแนวพนทพฒนาเศรษฐกจ
(Economic Corridor) ที่เป็นเส้นทางการค้าและการลงทุนของอนุภูมิภาคได้
่ ็ ัอย่างเต็มศักยภาพ
• บูรณาการเชื่อมโยงทั้งในอนุภูมิภาคและระหว่างอนุภูมิภาค ตลอดจนในกรอบู ุ ู ุ ู
อาเซียนภายใต้แผนแม่บทการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน และพื้นที่ต่อเนื่องอื่น ๆ
การสร้างภูมิคุ้มกันในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อู ุ
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยไปสู่ความยั่งยืน (2)
• ใช้ศักยภาพความได้เปรียบของที่ตั้งทางภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ และศักยภาพ
ของพื้นที่ในภมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ เพื่อสร้างฐานการผลิตให้สามารถของพนทในภูมภาคตาง ๆ ของประเทศ เพอสรางฐานการผลตใหสามารถ
แข่งขันได้ในตลาดโลก
ื ื่ ี่ ้• การเป็นเครือข่ายเชือมโยงของธุรกิจการแปรรูปอาหาร การท่องเทียว บริการทังด้าน
สุขภาพ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่สําคัญของภูมิภาค โดยกําหนดทิศทางการ
พัฒนาพื้นที่ของประเทศให้สอดคล้องกับโอกาสและศักยภาพการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมของแต่ละภมิภาคต่อไปแล ส ม แ ล ภูมภ ไ
• สร้างความเชื่อมโยงในแต่ละกรอบความร่วมมือ พร้อมทั้งเปิดโอกาสในการพัฒนา
ื้ ี่ ื ่ ื่ ึ ื ์ ใ ิ ี่ ํ ัพืนทีเมืองชายแดนตลอดต่อเนืองถึงเมืองและชุมชนศูนย์กลางในภูมิภาคทีสาคัญ
ของประเทศ ซึ่งอยู่ในแนวเชื่อมโยงระหว่างประเทศตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจต่าง ๆ ให้
่เกิดการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น
การสร้างภูมิคุ้มกันในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อู ุ
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยไปสู่ความยั่งยืน (3)
• สร้างความเข้มแข็งและการพัฒนาความสามารถในการปรับตัวของ
ผ้ประกอบการไทย ให้ทันกับสถานการณ์การเชื่อมโยงระหว่างกันในภมิภาคที่ผูประกอบการไทย ใหทนกบสถานการณการเชอมโยงระหวางกนในภูมภาคท
เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
ื่ ่• เพือเสริมสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและเพิมระดับความสามารถในการแข่งขันของ
ประเทศไทยในเวทีระหว่างประเทศ
• โดยเฉพาะในกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มจะมีบทบาทสูงในอนาคต เช่น
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป็นต้น โดยเน้นบทบาทของสภาธรกิจ และกรอบการหารือเศรษฐกจสรางสรรค เปนตน โดยเนนบทบาทของสภาธุรกจ และกรอบการหารอ
ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในพื้นที่ของกรอบความร่วมมือ
• ภาครัฐต้องให้การสนับสนุนในการพัฒนาผู้ประกอบการไทยและผู้ประกอบการของ
ประเทศเพื่อนบ้านในบริเวณพื้นที่การพัฒนาร่วม
การสร้างภูมิคุ้มกันในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อู ุ
พัฒนาการท่องเที่ยวไทยไปสู่ความยั่งยืน (4)
• พัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนและเมืองชายแดนแบบมีสมดุลบนพื้นฐานของ
การสร้างผลประโยชน์ร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านและความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกันการสรางผลประโยชนรวมกบประเทศเพอนบานและความไวเนอเชอใจระหวางกน
• บูรณาการด้านกิจกรรมทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้านเป็นไปตามหลักวิเคราะห์
ไ ี ี ี ไ ื่ ี่ ้ความได้เปรียบเปรียบเทียบระหว่างไทยกับประเทศเพือนบ้านในด้านทีตังทาง
ยุทธศาสตร์ ประเภทการผลิต และความใกล้ชิดกับแหล่งวัตถุดิบ แรงงานและท่า
ส่งออก
• จัดสรรบทบาทหน้าที่ระหว่างเขตเศรษฐกิจในภาคต่างๆอย่างเหมาะสม• จดสรรบทบาทหนาทระหวางเขตเศรษฐกจในภาคตางๆอยางเหมาะสม
• พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านท่าส่งออกรองรับตามความเหมาะสมในปัจจุบัน และ
่โอกาสในการพัฒนาต่อเนื่องในอนาคต
• ไทยต้องให้การสนับสนนประเทศเพื่อนบ้านในการพัฒนาในลักษณะห้นส่วนการไทยตองใหการสนบสนุนประเทศเพอนบานในการพฒนาในลกษณะหุนสวนการ
พัฒนาที่มีความเสมอภาค
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนการทองเทยวอยางยงยน
• การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Sustainable Tourism) มีหลักการที่
้ ่ ื S i blสอดคล้องกับการพัฒนาอย่างยังยืน (Sustainable 
Development)Development) 
–มีการอนุรักษ์และการใช้ทรัพยากรอย่างพอดี เพื่อให้สามารถใชุ้
ประโยชน์ต่อไปได้ในระยะเวลายาวนาน
–มีการกระจายผลประโยชน์ให้แก่คนส่วนใหญ่
มีการร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดระหว่างผ้ที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้ส่วนเสีย–มการรวมมอกนอยางใกลชดระหวางผูทเกยวของหรอมสวนไดสวนเสย
การพัฒนาอย่างยั่งยืน คือ อะไร ? (1)การพฒนาอยางยงยน คอ อะไร ? (1)
การพัฒนามนุษย์ (ตัวเรา)
• การพัฒนาพฤติกรรม
– พฤติกรรมทั่วไป .. วินัย วัฒนธรรมฤ
– พฤติกรรมในการทํามาหาเลี้ยงชีพ .. สัมมาอาชีวะ สุจริตไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
– พฤติกรรมเศรษฐกิจทั่วไป .. กิน ใช้จ่าย เตรียมอาหาร กําจัดของเสียทิ้งขยะพฤตกรรมเศรษฐกจทวไป .. กน ใชจาย เตรยมอาหาร กาจดของเสยทงขยะ
– พฤติกรรมในการหาความสุข .. สุขโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
• การพัฒนาจิตใจ: จิตใจที่พอใจ มีอดมคติ มีความสข มีอิสรภาพ ใกล้ชิดธรรมชาติ• การพฒนาจตใจ: จตใจทพอใจ มอุดมคต มความสุข มอสรภาพ ใกลชดธรรมชาต
สันโดษอย่างถูกต้อง
ั ปั ปั ้ปั ิโ ้ ปั ํ ่ ิ ั ิ• การพัฒนาปัญญา: ปัญญาแก้ปัญหา บริโภคด้วยปัญญา นําสุ่อิสรภาพ สันติสุข
การพัฒนาอย่างยั่งยืน คือ อะไร ? (2)การพฒนาอยางยงยน คอ อะไร ? (2)
– การพัฒนาทางสังคม
้• สร้างบรรยากาศแห่งการไม่เบียดเบียน การช่วยเหลือเกื้อกูลในชุมชน ในเมือง ใน
ประเทศ และระหว่างประเทศ
–การพัฒนาทางธรรมชาติ / สิ่งแวดล้อม
• ไ ่ ี ี ิ ่ ่ ั ิ ่ ั ิ• ไมเบียดเบียนธรรมชาติ อยูรวมกับธรรมชาติอยางสันติ
• ธรรมชาติเป็นศูนย์กลางในการคิด การทํา
–การพัฒนาทางเทคโนโลยี
• พัฒนาเทคโนโลยีที่เกื้อกลธรรมชาติ ใช้เทคโนโลยีอย่างมีสติ ใช้ด้วยปัญญา• พฒนาเทคโนโลยทเกอกูลธรรมชาต ใชเทคโนโลยอยางมสต ใชดวยปญญา
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน = การพัฒนาอย่างยั่งยืน
เป้ าหมายทางเศรษฐกิจ
การพัฒนาอย่างยั่งยืน
เปาหมายทางเศรษฐกจ
เป้ าหมายทางสิ่งแวดล้อม
เป้ าหมายทางสังคม
่ ี่ ่ ั่ ื ื ไ ?การทองเทยวอยางยงยน คออะไร ?
• การท่องเที่ยวกลุ่มใหญ่หรือกลุ่มเล็กที่มีการจัดการอย่างดีเยี่ยม เพราะ
ส ํ ไ ้ซึ่ ั ่ ี่ ใ ้ ี ึ ใ ่ ไ ่ สื่สามารถดารงไวซงทรพยากรทองเทยวใหมความดงดูดใจอยางไมเสอม
คลาย และธุรกิจท่องเที่ยวมีการปรับปรุงคุณภาพให้ได้ผลกําไรอย่างเป็น
ธรรม โดยมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมเยือนสมํ่าเสมออย่างเพียงพอ แต่มี
ผลกระทบทางลบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สดผลกระทบทางลบตอสงแวดลอมนอยทสุด
ที่มา: บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. 2542. การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
ั่ ื ิ ์ ั้ ี่ ์ ิ ั ี ใ ่แบบยังยืน. พิมพ์ครังที 1. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ป: “ ่ ี่ ่ ั่ ื ”สรุป: ความหมายของ “การทองเทยวอยางยงยน”
• การท่องเที่ยวที่มีการกําหนดแนวทางการใช้ประโยชน์และการ
ั ั ่ ี่ ั้ ปั ั ้ ี่พัฒนาทรัพยากรการท่องเทียว รวมทังปัจจัยแวดล้อมที
เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเพื่อตอบสนองความจําเป็นทางเกยวของกบการทองเทยวเพอตอบสนองความจาเปนทาง
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสุนทรียภาพแก่สมาชิกของ
สังคมในปัจจุบันและอนาคต
โ ใ ้• โดยใช้ทรัพยากรอันทรงคุณค่าอย่างชาญฉลาด สามารถรักษา
เอกลักษณ์ของธรรมชาติและวัฒนธรรมไว้นานที่สด เกิดผลเอกลกษณของธรรมชาตและวฒนธรรมไวนานทสุด เกดผล
กระทบน้อยที่สุด และใช้ประโยชน์ได้ตลอดไป
ลักษณะการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน
้การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน มีลักษณะสําคัญอยู่ 6 ประการดังนี้ คือ
• เป็นการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวทกประเภท ทกแห่งเปนการทองเทยวในแหลงทองเทยวทุกประเภท ทุกแหง
• เป็นการท่องเที่ยวที่เน้นคุณค่าและความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละแหล่ง
่ ี่ท่องเทียว
• เป็นการท่องเที่ยวที่รับผิดชอบต่อทรัพยากรการท่องเที่ยวและสิ่งแวดล้อม
• เป็นการท่องเที่ยวที่ให้นักท่องเที่ยวได้รับความรู้และประสบการณ์เกี่ยวข้อง
กับธรรมชาติและวัฒนธรรมกบธรรมชาตและวฒนธรรม
• เป็นการท่องเที่ยวที่ให้ผลตอบแทนแก่ผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวอย่างยืนยาว
็ ี่ ี่ ้ ้ ่ ื• เป็นการท่องเทียวทีให้ผลประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิน และคืนผลประโยชน์
กลับสู่ทรัพยากรท่องเที่ยวและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น
รปแบบการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนรูปแบบการจดการทองเทยวอยางยงยน
จะต้องคํานึงถึง :‐
่ ่• เป็นการจัดการท่องเทียวทีมีจิตสํานึก มีความรับผิดชอบต่อ
สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศนั้นๆสภาพแวดลอมและระบบนเวศนนๆ
• เป็นการจัดการการท่องเที่ยวที่สร้างความร้และให้ความร้เ น ร ร ร เ ว สร ว มรูแล ใ ว มรู
• เป็นการจัดการการท่องเที่ยวที่ประชาชนในท้องถิ่นมีบทบาท มี
ส่วนร่วมในการตัดสินใจ ร่วมจัดทําและร่วมได้รับผลประโยชน์
่อย่างเสมอภาค
ํ ั ั ั ่ ี่ ่ ั่ ืความสาคญของการจดการทรพยากรการทองเทยวอยางยงยน
• เพื่อให้การใช้ทรัพยากรท่องเที่ยวเป็นไปอย่างคุ้มค่า และมี
ประสิทธิภาพสูงสุด
ื่ ี่ ่ ื• เพือรักษาทรัพยากรท่องเทียวให้คงอยู่อย่างยังยืน
ื่ ป้ ั ่ ี่ ิ ั ั ่ ี่• เพือป้ องกันผลกระทบต่างๆ ทีจะเกิดกับทรัพยากรท่องเทียว
ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมทงในเชงเศรษฐกจ สงคมและวฒนธรรม
ั ั “ ่ ี่ ่ ั่ ื ” (1)หลกการจดการ “การทองเทยวอยางยงยน” (1)
• อนุรักษ์และใช้ทรัพยากรอย่างพอดี (Using Resource 
Sustainable)Sustainable)
• ลดการบริโภคและใช้ทรัพยากรที่เกินความจําเป็นและลดการก่อของเสีย
(Reducing Over‐Consumption and Waste)
ั ่ ิ ิ ั ั• รักษาและส่งเสริมความหลากหลายของธรรมชาติ สังคมและวัฒนธรรม
(Maintain Diversity)y)
• การประสานการพัฒนาการท่องเที่ยว (Integrating Tourism 
i t Pl i )into Planning)
• ต้องการนําการท่องเที่ยวขยายฐานเศรษฐกิจในท้องถิ่น (Supportingตองการนาการทองเทยวขยายฐานเศรษฐกจในทองถน (Supporting 
Local)
ั ั “ ่ ี่ ่ ั่ ื ” (2)หลกการจดการ “การทองเทยวอยางยงยน” (2)
• การมีส่วนร่วม การสร้างเครือข่ายพัฒนาการท่องเที่ยวกับท้องถิ่น
I l i L l C iti )(Involving Local Communities)
• ประชมปรึกษาหารือกับผ้ที่เกี่ยวข้องที่มีผลประโยชน์ร่วมกันประชุมปรกษาหารอกบผูทเกยวของทมผลประโยชนรวมกน
(Consulting Stakeholders and the Public)
• การพัฒนาบุคลากร (Training Staff)
่• จัดเตรียมข้อมูลคู่มือบริการข่าวสารการท่องเที่ยวให้พร้อม(
Marketing Tourism Responsibly)Marketing Tourism Responsibly)
• ประเมินผล ตรวจสอบและวิจัย (Undertaking Research)g )
ป: ่ ี่ ่ ั่ ื ้ ื่ ไ ้ ?สรุป: การทองเทยวอยางยงยน เนนเรองอะไรบาง ?
• จะต้องดูแลทรัพยากรการท่องเที่ยวให้สามารถใช้ประโยชน์ต่อไปได้ใน
ระยะเวลา ยาวนานจนถึงชั่วลูกชั่วหลาน มิใช่เพียงเพื่อคนรุ่นปัจจุบันเท่านั้นู ุ ุ
• ลดการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง และลดปริมาณของเสียที่จะเป็นอันตรายต่อ
สิ่งแวดล้อมสงแวดลอม
• มีการกระจายรายได้และผลประโยชน์ให้แก่คนในท้องถิ่นที่มีแหล่งท่องเที่ยว
ตั้งอย่ เปิดโอกาสให้ชมชนในท้องถิ่นได้เข้าร่วมในการจัดการ และการให้บริการแก่ตงอยู เปดโอกาสใหชุมชนในทองถนไดเขารวมในการจดการ และการใหบรการแก
นักท่องเที่ยว
• มีการประชมปรึกษาหารือกันอย่างสมํ่าเสมอระหว่างผ้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น• มการประชุมปรกษาหารอกนอยางสมาเสมอระหวางผูมสวนไดสวนเสย เชน
หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง ผู้ประกอบธุรกิจการท่องเที่ยว และชุมชนในท้องถิ่น
เพื่อการวางแผนงาน การจัดสรรงบประมาณ และการจัดการทรัพยากรอย่างเหมาะสมเพอการวางแผนงาน การจดสรรงบประมาณ และการจดการทรพยากรอยางเหมาะสม
• มีการสร้างเครือข่ายเพื่อเผยแพร่แนวคิด การศึกษาวิจัย และความรู้เกี่ยวกับ
่ ี่ ่ ั่ ื ไปใ ่ป ั้ ใ ป ่การ ทองเทยวอยางยงยน ออกไปในหมูประชาชน ทงภายในประเทศและระหวาง
ประเทศอย่างกว้างขวาง
อ่านเพิ่มเติมอานเพมเตม
• แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ -
๒๕๕๙), ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง, ๑๔ ธันวาคมุ
๒๕๕๔, หน้า ๑ – ๑๘๓
• แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ ศ ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ ราชกิจจาแผนพฒนาการทองเทยวแหงชาต พ.ศ. ๒๕๕๕ ๒๕๕๙, ราชกจจา
นุเบกษา, เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๖๗ ง, ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๔, หน้า ๑๔ –
๗๒
• บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา ๒๕๔๒,  การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน
พิมพ์ครั้งที่ ๑ คณะมนษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พมพครงท ๑, คณะมนุษยศาสตร มหาวทยาลยเชยงใหม
• อุษาวดี พลพิพัฒน์ ๒๕๔๕, การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน : กรณีศึกษาการ
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชมชนในประเทศไทย จลสารการท่องเที่ยว ๒ (ทองเทยวเชงนเวศโดยชุมชนในประเทศไทย, จุลสารการทองเทยว ๒๑, ๔ (
ตุลาคม- ธันวาคม ), หน้า ๓๘-๔๘

Más contenido relacionado

Destacado

Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015Silpakorn University
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) Radda Larpnun
 
สถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยสถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยpongpangud13
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งUNDP
 
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยวัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยchickyshare
 
METT book
METT bookMETT book
METT bookUNDP
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Somyot Ongkhluap
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area bookUNDP
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS bookUNDP
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green TourismKorawan Sangkakorn
 
PES book
PES bookPES book
PES bookUNDP
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศSomyot Ongkhluap
 

Destacado (17)

Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
 
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
 
Eco
EcoEco
Eco
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
 
Thailand tourism cluster in 2014
Thailand tourism cluster in 2014Thailand tourism cluster in 2014
Thailand tourism cluster in 2014
 
The Value of Nature
The Value of NatureThe Value of Nature
The Value of Nature
 
สถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยสถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทย
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
 
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยวัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 

Similar a Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015

การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development planechanok
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKanyakon
 
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54auy48
 
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืนใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืนTeeranan
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคมjirapom
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบChalermpon Dondee
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวpraphol
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 

Similar a Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015 (20)

การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development plane
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
 
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืนใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
กลไกสังคม
กลไกสังคมกลไกสังคม
กลไกสังคม
 
5
55
5
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

Más de Silpakorn University

The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...Silpakorn University
 
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning) Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning) Silpakorn University
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part4
Strategic destination marketing presentation 2015 part4Strategic destination marketing presentation 2015 part4
Strategic destination marketing presentation 2015 part4Silpakorn University
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3Silpakorn University
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015Silpakorn University
 

Más de Silpakorn University (6)

The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
The Four Knowledges of Sustainable Management: A Developing Tool to Allow Act...
 
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning) Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
Supercluster .. The Global Meaning (Comparing with Thailand's Meaning)
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part4
Strategic destination marketing presentation 2015 part4Strategic destination marketing presentation 2015 part4
Strategic destination marketing presentation 2015 part4
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3Strategic destination marketing presentation 2015 part3
Strategic destination marketing presentation 2015 part3
 
Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2Strategic destination marketing presentation 2015 part2
Strategic destination marketing presentation 2015 part2
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
 

Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015

  • 1. การวางแผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน SUSTAINABLE TOURISM PLANNING TM306 เทอม 2 / 2557 ครั้งที่ 1 – 2 บรรยายโดย ดร.สมนึก จงมีวศิน (อ.เขียว)
  • 2. ติดต่อ ผมตดตอ ผม • somnuckj@hotmail.com • www.facebook.com/somnuckj
  • 3. ลักษณะวิชาลกษณะวชา • ศึกษารูปแบบการจัดการ แนวคิดการพัฒนา การวางแผน ่ ่การวางเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการท่องเทียวที ํ ไปส่ ิ ี่ ั ั ่ ี่ ่นาไปสูแนวคดเกยวกบการจดการการทองเทยวอยาง ยั่งยืนยงยน • โดยคํานึงถึงผลกระทบต่อเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและโดยคานงถงผลกระทบตอเศรษฐกจ วฒนธรรมและ สิ่งแวดล้อมของท้องถิ่นรวมถึงบทบาทของภาครัฐและฐ ภาคเอกชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
  • 4. วัตถประสงค์วตถุประสงค • เข้าใจหลักการวางแผนและการพัฒนาการท่องเที่ยว ี่ ไ ้• สามารถวางแผนพัฒนาการท่องเทียวตามขบวนการวางแผน ได้ • เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนเขาใจแนวคดเกยวกบการจดการการทองเทยวแบบยงยน • เข้าใจถึงผลกระทบจากการพัฒนาการท่องเที่ยว • เข้าใจผลกระทบจากการพัฒนาการท่องเที่ยวในสถานการณ์ปัจจุบัน ่ ่• ทราบถึงแนวทางการปฏิบัติใหม่ๆเกี่ยวกับการจัดการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนยงยน • สามารถวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวได้อย่างเหมาะสม
  • 5. การประเมินผลการประเมนผล • สอบกลางภาค 30 % • สอบปลายภาค 30 %% • งานที่มอบหมาย 30 %งานทมอบหมาย 30 % • การเข้าชั้นเรียน 10 %• การเขาชนเรยน 10 %
  • 7. การวิเคราะห์การเติบโตของภาคการเกษตรการวเคราะหการเตบโตของภาคการเกษตร 6 7 8 9 10แผนฯ 6 แผนฯ 7 แผนฯ 8 แผนฯ 9 แผนฯ 10 GDP เกษตร 4.55 2.89 2.04 2.90 1.10 แรงงาน 0.11 -0.27 -0.07 0.08 0.01 ที่ดิน 0.06 0.05 0.06 0.14 0.36 ทุน 3.01 6.57 3.34 3.19 3.71 TFP 1 36 3 3 1 29 0 1 2 8TFP 1.36 -3.37 -1.29 -0.51 -2.78 ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หมายเหต TFP = Total Factor Production Growth หรือการขยายตัวของผลิตภาพการผลิตหมายเหตุ TFP = Total Factor Production Growth หรอการขยายตวของผลตภาพการผลต
  • 8. ดัชนีความผาสกของเกษตรกรไทยดชนความผาสุกของเกษตรกรไทย ดัชนี (ร้อยละ)( ) ตัวชี้วัด ปี 2550 ปี2551 ปี2552 ปี2553 ีดัชนีความผาสุกของเกษตรกร 77.57 78.75 79.46 79.93 1. ด้านเศรษฐกิจ 68.86 69.39 67.63 68.061. ดานเศรษฐกจ 68.86 69.39 67.63 68.06 2. ด้านสุขอนามัย 96.76 96.75 98.11 98.56 3. ด้านการศึกษา 52.84 57.61 57.85 58.62 4 ด้านสังคม 88 73 90 98 91 52 91 914. ดานสงคม 88.73 90.98 91.52 91.91 5. ด้านสิ่งแวดล้อม 63.46 63.63 66.52 67.1 ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2554 60 ้ ่ ้ไ 60 69 99 ้ ป ั ป 70 79 99 ปหมายเหตุ: 60 ตองเรงแกไข 60-69.99 ตองปรบปรุง 70-79.99 ปานกลาง 80.00-89.99 ดี 90-100.00 ดีมาก
  • 9. ลักษณะของครัวเรือนเกษตรกรในล่มนํ้าโขงลกษณะของครวเรอนเกษตรกรในลุมนาโขง รายการ ไทย ลาว พม่า เวียดนามรายการ ไทย ลาว พมา เวยดนาม ขนาดครัวเรือน (คน) 4.9 5.1 5.5 3.9 หัวหน้าครัวเรือนหญิง (%) 20.5 12.7 13.7 15.7 อายหัวหน้าครัวเรือน (ปี) 54 9 45 0 46 5 51 0อายุหวหนาครวเรอน (ป) 54.9 45.0 46.5 51.0 จํานวนปีที่ได้รับการศึกษา 5.1 6.7 6.4 7.3 รายได้ต่อครัวเรือนต่อปี (เหรียญสหรัฐ) 9,206 3,815 1,267 2,560 (เหรยญสหรฐ) รายจ่ายต่อครัวเรือนต่อปี 9,974 3,450 3,725 2,750 (เหรียญสหรัฐ) ี่ TDRI 2012 S i l P t ti S t f S ll S l A i ltทมา: TDRI, 2012. Social Protection System for Small-Scale Agriculture: Evidences from the Greater Mekong Subregion. For OXFAM
  • 11. เกษตร VS อุตสาหกรรม ้ ิ ้ดุลการค้าสินค้าเกษตรและนอกการเกษตร 2552 ส่งออก นําเข้า ดลการค้าสงออก นาเขา ดุลการคา สินค้าทั้งหมด 5,196,170 4,605,171 591,951 สินค้านอกเกษตร 4,208,317 4,247,008 -38,554 สินค้าเกษตร 778,835 251,497 527,353 หน่วย ล้านล้านบาทหนวย : ลานลานบาท ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • 12. ยอดขายสินค้าอาหารของห้างขนาดใหญ่ 2003ยอดขายสนคาอาหารของหางขนาดใหญ 2003 อันดับ ยอดขายสินค้าอาหาร ยอดขายทั้งหมด เปอร์เซ็นต์ อาหาร (ล้านเหรียญสหรัฐ) (ล้านเหรียญสหรัฐ) 1 วอลมาร์ท(Wallmart) 121,566 278,081 44 2 คาร์ฟู (Carefour) 77,330 99,872 77 3 อะโฮลด์ (Ahold) 72,414 86,205 84 4 เทสโก(Tesco) 40,907 54,807 75 5 โครเกอร์(Kroger) 39,320 56,024 70 6 เรเว (Rewe) 36,483 48,246 76 7อัลดี ( Aldi) 36,189 43,277 84 8 อิโต-โยคาโด (Ito- Yokado) 35,812 56,160 64 9เมโทรกร๊ป (Metro9เมโทรกรุป (Metro Group) 34,700 68,692 51 10 อินเตอร์มาเช่10 อนเตอรมาเช (Intermarché) 33,487 43,414 77 Source: M+M PlanetRetail.
  • 13. ค่าใช้จ่ายครัวเรือนประเทศไทย-2552 เครื่องน่งห่ม รักษาพยาบาล 2% การจัดงานพิธี 1% เครองนุงหม และรองเท้า 3% การศึกษา การบันเทิง การอ่านและ เงินทําบุญ/ เครื่องดื่ม ดอกเบี้ย จ่าย การ พนัน อื่นๆ 1% ยาสูบ หมาก ยา นัตถ์ และอื่นๆ อาหาร และ เครื่องดื่ม 32% ค่า สื่อสาร 3% ค่าใช้จ่าย ส่ 3% การศกษา 2% กิจกรรมทาง ศาสนา 2% ุญ เงินช่วยเหลือ 1% แอลกอฮอล์ 1% 1% 1% 1% นตถุ และอนๆ 1% 32% ป ั สั 3% สวนบุคคล 3% 2% ส่งให้บคคล ประกนสงคม 3% ่ สงใหบุคคล นอกครัวเรือน 4% ที่อยู่อาศัย 20% คา เดินทาง 9% ยานพาหนะ 8% 4% 9%8%
  • 14. กรอบแนวคิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) .. 1 • แนวคิดต่อเนื่องจากแผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ ๘ - ๑๐ • ึ ั ป ิ ั ิ “ป ัช ศ ฐ ิ ี ”• ยดหลกการปฏบตตาม “ปรชญาของเศรษฐกจพอเพยง” • ขับเคลื่อนให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกภาคส่วน ทุกระดับ • ยึดแนวคิดการพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวมที่มี “คนเป็นศูนย์กลางการ พัฒนา”พฒนา • เน้น มิติตัวคน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และการเมือง • สร้างภูมิคุ้มกันให้พร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในระดับปัจเจก ครอบครัว ชมชน สังคม และประเทศชาติครอบครว ชุมชน สงคม และประเทศชาต • ให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมในกระบวนการพัฒนา ปประเทศ
  • 15. กรอบแนวคิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) .. 2 • ให้ความสําคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศ • ้ ส ิ ส ้ ้ ็ ฐ ิ ป• เนนการเสรมสรางความเขมแขงของฐานการผลตภาคเกษตรและการประกอบการ ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม • ปรับตัวในการเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจโลกและภูมิภาค ซึ่ไทยมีพันธกรณี ภายใต้กรอบความร่วมมือต่าง ๆๆ • ใช้โอกาสที่เกิดขึ้นและเพิ่มภูมิคุ้มกันของทุนที่มีอยู่ในสังคมไทยอย่างเหมาะสม ื่ ้ ่ป ิ ี ใ ปีเพือก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี ๒๕๕๘ • เชื่อมโยงด้านกายภาพทั้งโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ฐ • ยกระดับคุณภาพคน การเสริมสร้างองค์ความรู้ การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ เป็นพลังขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลย นวตกรรมและความคดสรางสรรค เปนพลงขบเคลอนการพฒนา เศรษฐกิจและสังคมไทย
  • 16. ึ ั ํ ั ั ั ี่ 1เจาะลก หลกการสาคญของ แผนพฒนาฯ ฉบบท ๑๑ .. 1 • พัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยืนู ุ • เสริมสร้างทุนสังคม (ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนทางวัฒนธรรม) พัฒนาคนและ สังคมไทยส่สังคมคณภาพ ม่งสร้างภมิค้มกันตั้งแต่ระดับปัจเจก ครอบครัว และสงคมไทยสูสงคมคุณภาพ มุงสรางภูมคุมกนตงแตระดบปจเจก ครอบครว และ ชุมชน ่ ่• สามารถจัดการความเสี่ยง และปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง • มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรและได้รับประโยชน์จากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมมโอกาสเขาถงทรพยากรและไดรบประโยชนจากการพฒนาเศรษฐกจและสงคม อย่างเป็นธรรม ิ ้ ิ ิ ่ ั ิ• เสริมสร้างทุนเศรษฐกิจ (ทุนกายภาพ ทุนทางการเงิน) มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจ ภายในประเทศให้เข้มแข็ง • ใช้ภูมิปัญญาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ • ให้ความสําคัญกับการปรับโครงสร้างการค้าและการลงทนให้สอดคล้องกับความ• ใหความสาคญกบการปรบโครงสรางการคาและการลงทุนใหสอดคลองกบความ ต้องการของตลาดภายในประเทศและต่างประเทศ
  • 17. ึ ั ํ ั ั ั ี่ 2เจาะลก หลกการสาคญของ แผนพฒนาฯ ฉบบท ๑๑ .. 2 • เชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ บนพื้นฐานการพึ่งพาซึ่งกันและกัน • ส ิ ส ้ ั ช ิ สิ่ ้• เสรมสรางทุนทรพยากรธรรมชาตและสงแวดลอม • สร้างความมั่นคงด้านอาหาร บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ เป็นฐานการผลิตภาคเกษตร • ม่งส่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนตํ่า และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การมุงสูการเปนเศรษฐกจและสงคมคารบอนตา และเปนมตรกบสงแวดลอม การ ผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ่• เตรียมความพร้อมรองรับการเปลียนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ • สร้างภมิค้มกันด้านการค้าจากเงื่อนไขด้านสิ่งแวดล้อมสรางภูมคุมกนดานการคาจากเงอนไขดานสงแวดลอม • เพิ่มบทบาทไทยในเวทีประชาคมโลก
  • 18. ึ ั ํ ั ั ั ี่ 3เจาะลก หลกการสาคญของ แผนพฒนาฯ ฉบบท ๑๑ .. 3 • บริหารจัดการประเทศเพื่อสร้างความเป็นธรรมในสังคม • ั ช ้ ช โ ึ ั ิ• พฒนาระบบราชการและขาราชการโดยยดหลกธรรมาภบาล • เพิ่มประสิทธิภาพการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • พัฒนาระบบและกลไกการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ อย่างมีส่วนร่วมอยางมสวนรวม • ส่งเสริมให้ประชาชนทุกระดับมีโอกาสเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเท่าเทียม • สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงทรัพยากร • ปลกจิตสํานึก ค่านิยมประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลแก่ประชาชน• ปลูกจตสานก คานยมประชาธปไตยและธรรมาภบาลแกประชาชน
  • 19. วิสัยทัศน์ปร เทศไทย ปีพ ศ ๒๕๗วสยทศนประเทศไทย ปพ.ศ. ๒๕๗๐ • คนไทยภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีมิตรไมตรีบนวิถีชีวิตแห่งความ ี ึ ั่ ใ ั ป ช ิปไ ั ิพอเพยง ยดมนในวฒนธรรมประชาธปไตย และหลกธรรมาภบาล การ บริการสาธารณะขั้นพื้นฐานที่ทั่วถึง มีคุณภาพสังคมมีความปลอดภัย และมั่นคง อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ดี เกื้อกูลและเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ระบบการผลิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงด้านอาหารและระบบการผลตเปนมตรกบสงแวดลอม มความมนคงดานอาหารและ พลังงาน อยู่บนฐานทางเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองและแข่งขันได้ในเวทีโลก ์สามารถอยู่ในประชาคมภูมิภาคและโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี
  • 20. วิสัยทัศน์ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่วสยทศน แผนพฒนาฯ ฉบบท ๑๑ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความ เสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการ เปลี่ยนแปลง”
  • 21. ั ิ ั ั ี่ 1พนธกจ แผนพฒนาฯ ฉบบท ๑๑ .. 1 • สร้างสังคมเป็นธรรมและเป็นสังคมที่มีคณภาพ ทกคนมีความมั่นคงใน• สรางสงคมเปนธรรมและเปนสงคมทมคุณภาพ ทุกคนมความมนคงใน ชีวิต ได้รับการคุ้มครองทางสังคมที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม มี โอกาสเข้าถึงทรัพยากรและกระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอภาค ทุกภาค ส่วนได้รับการเสริมพลังให้สามารถมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาสวนไดรบการเสรมพลงใหสามารถมสวนรวมในกระบวนการพฒนา ภายใต้ระบบบริหารจัดการภาครัฐที่โปร่งใส เป็นธรรม • พัฒนาคุณภาพคนไทยให้มีคุณธรรม เรียนรู้ตลอดชีวิต มีทักษะและการ ดํารงชีวิตอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย สถาบันทางสังคมและชมชนดารงชวตอยางเหมาะสมในแตละชวงวย สถาบนทางสงคมและชุมชน ท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง สามารถปรับตัวรู้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง
  • 22. ั ิ ั ั ี่ 2พนธกจ แผนพฒนาฯ ฉบบท ๑๑ .. 2 • พัฒนาฐานการผลิตและบริการให้เข้มแข็งและมีคณภาพบนฐานความร้• พฒนาฐานการผลตและบรการใหเขมแขงและมคุณภาพบนฐานความรู ความคิดสร้างสรรค์ และภูมิปัญญา สร้างความมั่นคงด้านอาหารและ พลังงาน ปรับโครงสร้างการผลิตและการบริโภคให้เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม พร้อมสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภมิภาคเพื่อความสงแวดลอม พรอมสรางความเชอมโยงกบประเทศในภูมภาคเพอความ มั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม • สร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สนับสนุน การมีส่วนร่วมของชมชน รวมทั้งสร้างภมิค้มกันเพื่อรองรับผลกระทบจากการมสวนรวมของชุมชน รวมทงสรางภูมคุมกนเพอรองรบผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ
  • 23. ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศุ ในแผนพัฒนา ฉบับที่ ๑๑ • ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม ์ ั ่ ั ่ ี ้ ี ิ ่ ั่ ื• ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยังยืน • ยทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงานยุทธศาสตรความเขมแขงภาคเกษตร ความมนคงของอาหารและพลงงาน • ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ สู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและ ่ ืยังยืน • ยทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภมิภาค เพื่อความมั่นคงยุทธศาสตรการสรางความเชอมโยงกบประเทศในภูมภาค เพอความมนคง ทางเศรษฐกิจและสังคม ่ ่• ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
  • 24. ความล้มเหลวจากการพัฒนาปร เทศ ในอดีตความลมเหลวจากการพฒนาประเทศ ในอดต • โครงสร้างเศรษฐกิจของไทยไม่สามารถรองรับการเจริญเติบโตได้อย่าง ั่ ื ั ้ ึ่ ิ ชิ ั ป ี่ ป ปั ัยงยน ยงตองพงพงและเผชญกบการเปลยนแปลงจากปจจยภายนอก ประเทศมากขึ้นตามลําดับ • ระบบเศรษฐกิจของไทยยังมีความอ่อนแอด้านปัจจัยสนับสนุนในส่วน ิ ์ โ โ ีของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • คณภาพการให้บริการของโครงสร้างพื้นฐาน กฎหมาย กฎและระเบียบคุณภาพการใหบรการของโครงสรางพนฐาน กฎหมาย กฎและระเบยบ ทางเศรษฐกิจที่ไม่เอื้อต่อการจัดระบบการแข่งขันที่เป็นธรรมและ ั ์ ป ี่ ป ิเหมาะสมกับสถานการณ์การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจ
  • 25. ความท้าทายที่รออย่ ในอนาคตความทาทายทรออยู ในอนาคต • การพัฒนาต่อไปนี้จะต้องให้ความสําคัญกับการปรับโครงสร้าง เศรษฐกิจส่การพัฒนาที่มีคณภาพและยั่งยืนเศรษฐกจสูการพฒนาทมคุณภาพและยงยน • ใช้ปัญญา ความรู้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความคิด ้ ่สร้างสรรค์ เป็นพื้นฐานสําคัญในการขับเคลือน • สร้างปัจจัยสนับสนนที่เอื้ออํานวยและมีบรรยากาศในการแข่งขันที่สรางปจจยสนบสนุนทเอออานวยและมบรรยากาศในการแขงขนท เป็นธรรม • ใช้โอกาสจากปัจจัยภายนอกให้เกิดประโยชน์กับประเทศได้อย่าง เหมาะสม • สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจให้เกิดขึ้นจากปัจจัย ใ ป ศ ป็ สํ ัภายในประเทศเปนสาคญ
  • 26. การสร้างกลยทธ์การแข่งขันการท่องเที่ยวไทยที่บรรจอย่ในการสรางกลยุทธการแขงขนการทองเทยวไทยทบรรจุอยูใน แผนพัฒนา ฉบับที่ ๑๑ • การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทาง ศ ฐ ิ สัเศรษฐกจและสงคม • การปรับโครงสร้างภาคบริการ ให้สามารถสร้างมลค่าเพิ่มกับสาขาู บริการที่มีศักยภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมบนฐานความคิด ้ ์ ัสร้างสรรค์และนวัตกรรม
  • 27. การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค ่ ่เพือความมันคงทางเศรษฐกิจและสังคม • พัฒนาฐานลงทุนโดยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระดับอนุ ิภูมภาค • ม่งพัฒนาพื้นที่ในภมิภาคต่าง ๆ ของประเทศให้เชื่อมโยงกับประเทศุ ู ๆ เพื่อนบ้านและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ่• ให้เป็นฐานการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม การเกษตร และการท่องเที่ยว พัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนและเมืองชายแดนพฒนาเขตเศรษฐกจชายแดนและเมองชายแดน • บูรณาการแผนพัฒนาพื้นที่เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน ให้บรรลุ ้ ่ ้ ่ประโยชน์ร่วมกันทั้งด้านความมั่นคงและเสถียรภาพของพื้นที่
  • 28. การปรับโครงสร้างภาคบริการให้สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มกับ ่ ่สาขาบริการทีมีศักยภาพและเป็นมิตรกับสิงแวดล้อมบนฐาน ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมความคดสรางสรรคและนวตกรรม • เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจบริการที่มีศักยภาพสูุ่ ู ธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ • สนับสนนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมให้กับธรกิจสนบสนุนการวจยและพฒนาเพอสรางนวตกรรมใหกบธุรกจ • ส่งเสริมการใช้องค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในการพัฒนาสินค้าและ บริการบรการ • ส่งเสริมการลงทุนในธุรกิจบริการที่มีศักยภาพ โดยอาศัยความได้เปรียบของ ํ ี่ ั้ ิ ์ ป ีทําเลทีตังทางภูมิศาสตร์ของประเทศ ความหลากหลายทางชีวภาพและ วัฒนธรรม และเอกลักษณ์ความเป็นไทย • สามารถรองรับการเปิดเสรีทางการค้าและกระแสความต้องการของ ตลาดโลก ได้แก่ ธุรกิจการท่องเที่ยว ธุรกิจบริการสุขภาพ ธุรกิจบริการ โลจิ สติกส์ ธุรกิจภาพยนตร์ ธุรกิจการจัดประชุมและแสดงนิทรรศการนานาชาติ
  • 29. • พัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการลงทนในภาคบริการทั้งในประเทศและพฒนาปจจยแวดลอมใหเออตอการลงทุนในภาคบรการทงในประเทศและ ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศในภาคบริการ ป ั ป ป ิ ิ ใ ้ ิ โ ้ ื้ ั• ปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการของโครงสร้างพืนฐาน พัฒนาระบบ ฐานข้อมูลภาคบริการโดยรวมของประเทศและข้อมูลเชิงลึกในสาขาบริการ ่ที่มีศักยภาพ • ปรับปรงกฎหมาย กฎ ระเบียบ และสิทธิประโยชน์ให้เอื้อต่อการลงทนปรบปรุงกฎหมาย กฎ ระเบยบ และสทธประโยชนใหเออตอการลงทุน • ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี • ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการประกอบธุรกิจ • ส่งเสริมธรกิจบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสงเสรมธุรกจบรการทเปนมตรกบสงแวดลอม • ผลิตและพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพสอดคล้องกับความต้องการของ ธุรกิจ
  • 30. • ฟื้นฟและพัฒนาคณภาพแหล่งท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับความต้องการของ• ฟนฟูและพฒนาคุณภาพแหลงทองเทยวใหสอดคลองกบความตองการของ ตลาด ้ ่ ่ ่• ฟื้นฟูพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวหลักที่เสื่อมโทรม • พัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจของธรกิจท่องเที่ยวในกล่มพื้นที่ที่มีศักยภาพสงพฒนาเครอขายวสาหกจของธุรกจทองเทยวในกลุมพนททมศกยภาพสูง • ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ และกระแส ้ โ ี่ ิ ี่ ิความต้องการของตลาดโลก เช่น การท่องเทียวเชิงสุขภาพ การท่องเทียวเชิง นิเวศการท่องเที่ยวเชิงศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสัมผัสวิถี ชีวิตชุมชน • ส่งเสริมการดําเนินกลยทธ์ทางการตลาดรปแบบใหม่ที่สามารถเข้าถึงกล่มสงเสรมการดาเนนกลยุทธทางการตลาดรูปแบบใหมทสามารถเขาถงกลุม ลูกค้าและขยายไปยังตลาดใหม่ ๆ ที่มีศักยภาพ
  • 31. • บริหารจัดการการท่องเที่ยวให้เกิดความสมดุลและยั่งยืน • ใ ้ สํ ั ั ั ่ ี่ ชิ ส ้ ส ์ ป็ ิ ่• ใหความสาคญกบการพฒนาการทองเทยวเชงสรางสรรคและเปนมตรตอ สิ่งแวดล้อม • คํานึงถึงความสมดุล และความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยว • พัฒนายกระดับมาตรฐานสินค้าและบริการพฒนายกระดบมาตรฐานสนคาและบรการ • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้มีคุณภาพและเพียงพอ • บูรณาการการท่องเที่ยวให้เชื่อมโยงกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งสาขาการผลิตและบริการอื่น ๆทรพยากรธรรมชาต รวมทงสาขาการผลตและบรการอน ๆ
  • 32. • เสริมสร้างความเข้มแข็งของท้องถิ่น ชมชน ผ้ประกอบการรายย่อย วิสาหกิจเสรมสรางความเขมแขงของทองถน ชุมชน ผูประกอบการรายยอย วสาหกจ ชุมชน และบุคลากรภาครัฐ เพื่อร่วมกันพัฒนาและเชื่อมโยงกับสาขาการ ผลิตและบริการที่เกี่ยวเนื่องในพื้นที่ตามแนวทางการพัฒนาเครือข่ายผลตและบรการทเกยวเนองในพนทตามแนวทางการพฒนาเครอขาย วิสาหกิจ • พัฒนาทักษะและองค์ความรู้ของบุคลากร ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น และชุมชนุ • เสริมสร้างศักยภาพของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ใ ้ส ป ั ั ื่ ั ่ ี่ ิ ึ้ใหสามารถปรบตวเพอรองรบผลกระทบตาง ๆ ทอาจจะเกดขนจากการ เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขตามกฎระเบียบใหม่ของโลก
  • 33. สถานการณ์และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เป็น ความท้าทายต่อการท่องเที่ยวไทยในปัจจุบัน .. 1 • ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ 1 ิ โ1. ความถดถอยของเศรษฐกิจโลก 2. การปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนย์กลางู ฐ ู 3. การขยายตัวของขั้วอํานาจทางเศรษฐกิจใหม่ อาทิ บราซิล รัสเซีย อินเดีย และ จีน ส่งผลต่อการรวมกล่มทางเศรษฐกิจในภมิภาคต่างๆการเปลี่ยนแปลงในจน สงผลตอการรวมกลุมทางเศรษฐกจในภูมภาคตางๆการเปลยนแปลงใน ตลาดการเงินของโลกที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนย้ายเงินทุน สินค้าและบริการ 4. การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี ส่งผลให้ประเทศไทยต้องพัฒนาการตลาดท่องเที่ยว เชิงรุกและเตรียมความพร้อมต่อการผันผวนของค่าเงิน การพัฒนาบุคลากรในุ ุ การท่องเที่ยวให้มีคุณภาพ การปรับปรุงกฎระเบียบต่างๆ
  • 34. สถานการณ์และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เป็น ความท้าทายต่อการท่องเที่ยวไทยในปัจจุบัน .. 2 • ผลกระทบด้านสังคม 1 ใ ้ ใ ั ั1. การให้ความสนใจกับชุมชน มรดกทางวัฒนธรรม 2. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสู่สังคมผู้สูงอายุ ส่งผลต่อพฤติกรรมการู ู ู ุ ฤ ท่องเที่ยว 3 นักท่องเที่ยวให้ความสําคัญกับคณภาพของแหล่งท่องเที่ยวที่ต้องปลอดภัย3. นกทองเทยวใหความสาคญกบคุณภาพของแหลงทองเทยวทตองปลอดภย สะอาด มีการรักษา สภาพแวดล้อม และใช้สื่อสารสนเทศในการท่องเที่ยว ึ้มากขึน 4. รูปแบบของการท่องเที่ยวมีแนวโน้มท่องเที่ยวแบบอิสระ สนใจการท่องเที่ยวู เฉพาะทาง .. การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Health and Wellness  Tourism) การท่องเที่ยวแบบผจญภัย (Adventure Tourism)Tourism) การทองเทยวแบบผจญภย (Adventure Tourism)  การท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sports Tourism)
  • 35. 5.  กระแสโลกาภิวัตน์และวัฒนธรรมโลกที่เข้ามาในไทย การเปิดการค้าเสรี ก่อให้เกิดการอพยพย้ายถิ่น การเคลื่อนย้ายแรงงาน ส่งผลต่อวิถีชีวิตคนไทย ทั้งกอใหเกดการอพยพยายถน การเคลอนยายแรงงาน สงผลตอวถชวตคนไทย ทง ระดับครอบครัว ชุมชนและประเทศ .. เกิดการสูญหายของวัฒนธรรมพื้นถิ่น ..  ส่ ่ ่ ี่ ไสงผลตอการทองเทยวไทย
  • 36. สถานการณ์และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เป็น ความท้าทายต่อการท่องเที่ยวไทยในปัจจุบัน .. 3 • ผลกระทบด้านทรัพยากรธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพ ิ ศภูมอากาศ 1. สถานการณ์และแนวโน้มความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมทวีความรุนแรงขึ้น 2 ปัญหามลพิษ อณหภมิโลกที่ร้อนขึ้น การกัดเซาะของชายฝั่ง ภาวะภัยแล้ง2. ปญหามลพษ อุณหภูมโลกทรอนขน การกดเซาะของชายฝง ภาวะภยแลง และนํ้าท่วม ส่งผลต่อความงดงาม และบรรยากาศของแหล่งท่องเที่ยว ่ ้ ่3. ไทยต้องเตรียมพร้อมรองรับผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยการคํานึงถึงการท่องเที่ยว ที่สะอาด (Green Tourism) การพัฒนามาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว( ) ฐ ตลอดจนพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวในทุกระดับให้มี ศักยภาพรองรับการเปลี่ยนแปลงบนพื้นฐานการเติบโตของการท่องเที่ยวศกยภาพรองรบการเปลยนแปลงบนพนฐานการเตบโตของการทองเทยว อย่างสมดุลและยั่งยืน
  • 37. สถานการณ์และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เป็น ความท้าทายต่อการท่องเที่ยวไทยในปัจจุบัน .. 4 • ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด 1 ่ ี่ ้ ป ั ี ้ ใ ้ ั ่ ป ี่ ป โ1. ภาคการท่องเทียวต้องปรับเตรียมความพร้อมให้ทันต่อการเปลียนแปลง โดย ต้องบริหารจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ 2. ต้องประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการส่งเสริมการท่องเที่ยว 3 เทคโนโลยีด้านการบินและการขยายตัวของกิจการสายการบินต้นทนตํ่า3. เทคโนโลยดานการบนและการขยายตวของกจการสายการบนตนทุนตา ส่งเสริมให้เกิดการเดินทางบ่อยขึ้น และระยะเวลาในการพํานักของ ี่ ้ ้นักท่องเทียวแต่ละครังสันลง
  • 38. สถานการณ์และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่เป็น ความท้าทายต่อการท่องเที่ยวไทยในปัจจุบัน .. 5 • ผลกระทบด้านภาพลักษณ์และความเชื่อมั่น 1 ไ ป ปั ิ ิ ่ โ ปั ื1. ไทยประสบปัญหาภาวะวิกฤติต่างๆ โดยเฉพาะปัญหาการเมือง ภายในประเทศ การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ปัญหาจาก ่ ่อุทกภัยและวาตภัย ความเสื่อมโทรมของแหล่งท่องเที่ยว ความปลอดภัย และ ปัญหาการก่อการร้ายใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ญ 2. สถานการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อภาพลักษณ์และความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยว ่ ไตอไทย 3. เป็นเหตุให้นักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดหลักเปลี่ยนจุดหมายไปยังแหล่งท่องเที่ยว ในภูมิภาคอื่นๆ ส่งผลกระทบต่อจํานวนและรายได้จากการท่องเที่ยว
  • 39. ปัจจัยความเสี่ยงภายในประเทศ..อปสรรคการเชื่อมโยงกับภมิภาคปจจยความเสยงภายในประเทศ..อุปสรรคการเชอมโยงกบภูมภาค ในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยและภาคบริการที่เกี่ยวข้อง (1) • ผู้ประกอบการไทยขาดศักยภาพในการลงทุนในต่างประเทศรวมทั้งการลงทุนในประเทศเพื่อน บ้านและขาดความพร้อมต่อการแข่งขันเสรีภายในประเทศ • ขาดทักษะของผู้ประกอบการในการประกอบธุรกิจร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน • ขาดการรวมพลังในรปแบบของสภาธรกิจ และกรอบการหารือภาครัฐร่วมกับเอกชนอย่างมี• ขาดการรวมพลงในรูปแบบของสภาธุรกจ และกรอบการหารอภาครฐรวมกบเอกชนอยางม ประสิทธิภาพเพื่อเสนอแนวการลงทุนร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน หรือรับข้อเสนอการร่วมลงทุน ั ใ ื้ ี่ ั ั ใ ป็ ้ป ั ้ป ้ ใ ้ป โ ์• ภาครัฐในพืนทียังขาดศักยภาพในการเป็นผู้ประสานงานกับผู้ประกอบการด้านการใช้ประโยชน์ จากกรอบความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน ํ ์ ใ ้ ไ ใ ื่• ขาดการกําหนดกรอบยุทธศาสตร์ภาพรวมในการลงทุนของผู้ประกอบการไทยในประเทศเพือน บ้านที่มีบทบาทเชิงรุกและสามารถสร้างเสริมผลประโยชน์ของไทย พร้อมทั้งมีความรับผิดชอบ ั ใ ป ื่ ้ ื่ ไ ้ ื้ ื่ ใ ั ่ ั ี่ ั่ ืทางสังคมในประเทศเพือนบ้านเพือความไว้เนือเชือใจและการพัฒนาร่วมกันทียังยืน • ขาดยุทธศาสตร์ภาพรวมอย่างมีบูรณาการ และแผนปฏิบัติการเชิงลึกในการช่วยเหลือ ้ ี่ไ ีผู้ประกอบการ รวมทังเกษตรกรภายในประเทศทีได้รับผลกระทบเชิงลบจากการแข่งขันเสรีใน กรอบประชาคมอาเซียน
  • 40. ปัจจัยความเสี่ยงภายในประเทศ..อปสรรคการเชื่อมโยงกับภมิภาคปจจยความเสยงภายในประเทศ..อุปสรรคการเชอมโยงกบภูมภาค ในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยและภาคบริการที่เกี่ยวข้อง (2) • แรงงานไทยขาดการยอมรับในมาตรฐานฝีมือแรงงานและมีข้อจํากัดด้านภาษาต่างประเทศ รวมทั้งความร้ความเข้าใจด้านขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมของประเทศในภมิภาคู ู • ภาครัฐยังขาดการวางแผนงานด้านแรงงานร่วมกับประเทศที่เป็นตลาดแรงงานไทย เพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืนร่วมกันส่งผลให้เกิดความเสียเปรียบในการเคลื่อนย้ายแรงงานและการลงทนจากพฒนาทยงยนรวมกนสงผลใหเกดความเสยเปรยบในการเคลอนยายแรงงานและการลงทุนจาก ต่างประเทศ • ไทยขาดแคลนแรงงานมีทักษะฝีมือในสาขาที่มีความต้องการ และแม้ว่าจะมีการรับรองข้อตกลง• ไทยขาดแคลนแรงงานมทกษะฝมอในสาขาทมความตองการ และแมวาจะมการรบรองขอตกลง ยอมรับร่วมคุณสมบัตินักวิชาชีพอาเซียน (ASEAN Mutual Recognition  Arrangement) ไปแล้ว ๗ สาขา (แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล สถาปนิก วิศวกร ช่างArrangement) ไปแลว ๗ สาขา (แพทย ทนตแพทย พยาบาล สถาปนก วศวกร ชาง สํารวจ และนักบัญชี และอยู่ระหว่างการดําเนินการรับรองในสาขาบริการท่องเที่ยว) แต่ยัง จําเป็นต้องดําเนินการให้สามารถใช้ประโยชน์จากมาตรฐานร่วมดังกล่าวได้อย่างเต็มที่จาเปนตองดาเนนการใหสามารถใชประโยชนจากมาตรฐานรวมดงกลาวไดอยางเตมท • ไทยยังต้องพึ่งพาแรงงานต่างด้าว แต่ยังขาดนโยบายที่ชัดเจนด้านการใช้แรงงานต่างประเทศ สวัสดิการและการเคลื่อนย้ายแรงงาน และมีความล่าช้าในการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจชายแดนและสวสดการและการเคลอนยายแรงงาน และมความลาชาในการจดตงเขตเศรษฐกจชายแดนและ การวางแผนด้านการพัฒนาด้านแรงงานรองรับเขตเศรษฐกิจ
  • 41. ปัจจัยความเสี่ยงภายในประเทศ..อปสรรคการเชื่อมโยงกับภมิภาคปจจยความเสยงภายในประเทศ..อุปสรรคการเชอมโยงกบภูมภาค ในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยและภาคบริการที่เกี่ยวข้อง (3) • ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องขาดความรับรู้อย่างพอเพียงในการใช้ประโยชน์จากความเชื่อมโยงระบบโล จิสติกส์และการคมนาคมขนส่งภายใต้แผนแม่บทความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนและจสตกสและการคมนาคมขนสงภายใตแผนแมบทความเชอมโยงระหวางกนในอาเซยนและ ผลกระทบจากยุทธศาสตร์เชื่อมโยงระบบโลจิสติกส์ของมหาอํานาจในภูมิภาค • ขาดกลไกกลางในการบรณาการแผนงานและโครงการในระดับพื้นที่ทําให้เสียโอกาสในการ• ขาดกลไกกลางในการบูรณาการแผนงานและโครงการในระดบพนททาใหเสยโอกาสในการ เชื่อมโยงระบบจากแนวพื้นที่เศรษฐกิจต่าง ๆ ในอนุภูมิภาค ื้ ี่ ั ิ ื ใ ้– แนวพืนทีพัฒนาเศรษฐกิจเหนือ - ใต้ – แนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจตะวันออก - ตะวันตก ้– แนวพื้นที่เศรษฐกิจตอนใต้ – การเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านระหว่างเมืองชายแดนสําคัญในกรอบ GMS และญ IMT – GT  – แผนงานพัฒนาโครงข่ายรถไฟความเร็วสูงของจีนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตู้ ู – การพัฒนาท่าเรือยุทธศาสตร์ในอ่าวเบงกอลของจีนในพม่าและของอินเดีย
  • 42. ปัจจัยความเสี่ยงภายในประเทศ..อปสรรคการเชื่อมโยงกับภมิภาคปจจยความเสยงภายในประเทศ..อุปสรรคการเชอมโยงกบภูมภาค ในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยและภาคบริการที่เกี่ยวข้อง (4) • ความไม่แน่นอนทางการเมืองและความมั่นคงในประเทศเพื่อนบ้าน • ป ศ ื่ ้ ป ศ ่ ่ ป ี่ ่ ไปส่ ั ศ ิ สั• ประเทศเพอนบานหลายประเทศอยูระหวางการเปลยนผานไปสูการพฒนาเศรษฐกจและสงคม ที่ดีขึ้น รวมทั้งมีการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองเพื่อสร้างเสถียรภาพและความมั่นคงเพิ่มขึ้น จะต้องอาศัยเวลาในการปรับตัวให้สอดคล้องกับโลกาภิวัตน์และเศรษฐกิจโลกจะตองอาศยเวลาในการปรบตวใหสอดคลองกบโลกาภวตนและเศรษฐกจโลก • จําเป็นต้องติดตามพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพื่อนบ้านอย่างใกล้ชิด เพื่อ ป โ ์ใ ่ ิ ิ ้ ั ่ ั่ ืประโยชน์ในการส่งเสริมเศรษฐกิจ การค้า และสังคมอย่างยังยืน
  • 43. การสร้างภูมิคุ้มกันในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อู ุ พัฒนาการท่องเที่ยวไทยไปสู่ความยั่งยืน (1) • กําหนดบทบาทและทิศทางการพัฒนาของประเทศที่กระตุ้นให้เกิดการเติบโต และเชื่อมโยงของสาขาต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจและเชอมโยงของสาขาตาง ๆ ทางเศรษฐกจ • ให้ความสําคัญต่อการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมและโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ ี่ไ ไ ้ภายใต้แผนงานและโครงการทีได้กําหนดไว้ในปัจจุบัน รวมทังแผนงานและโครงการ ที่จะพัฒนาเพิ่มเติมในอนาคต • เปิดโอกาสให้มีการลงทุนพัฒนาจากต่างประเทศและภายใต้กรอบความร่วมมือ ภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้สามารถยกระดับให้เป็นแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจภาครฐและภาคเอกชน เพอใหสามารถยกระดบใหเปนแนวพนทพฒนาเศรษฐกจ (Economic Corridor) ที่เป็นเส้นทางการค้าและการลงทุนของอนุภูมิภาคได้ ่ ็ ัอย่างเต็มศักยภาพ • บูรณาการเชื่อมโยงทั้งในอนุภูมิภาคและระหว่างอนุภูมิภาค ตลอดจนในกรอบู ุ ู ุ ู อาเซียนภายใต้แผนแม่บทการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน และพื้นที่ต่อเนื่องอื่น ๆ
  • 44. การสร้างภูมิคุ้มกันในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อู ุ พัฒนาการท่องเที่ยวไทยไปสู่ความยั่งยืน (2) • ใช้ศักยภาพความได้เปรียบของที่ตั้งทางภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ และศักยภาพ ของพื้นที่ในภมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ เพื่อสร้างฐานการผลิตให้สามารถของพนทในภูมภาคตาง ๆ ของประเทศ เพอสรางฐานการผลตใหสามารถ แข่งขันได้ในตลาดโลก ื ื่ ี่ ้• การเป็นเครือข่ายเชือมโยงของธุรกิจการแปรรูปอาหาร การท่องเทียว บริการทังด้าน สุขภาพ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่สําคัญของภูมิภาค โดยกําหนดทิศทางการ พัฒนาพื้นที่ของประเทศให้สอดคล้องกับโอกาสและศักยภาพการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของแต่ละภมิภาคต่อไปแล ส ม แ ล ภูมภ ไ • สร้างความเชื่อมโยงในแต่ละกรอบความร่วมมือ พร้อมทั้งเปิดโอกาสในการพัฒนา ื้ ี่ ื ่ ื่ ึ ื ์ ใ ิ ี่ ํ ัพืนทีเมืองชายแดนตลอดต่อเนืองถึงเมืองและชุมชนศูนย์กลางในภูมิภาคทีสาคัญ ของประเทศ ซึ่งอยู่ในแนวเชื่อมโยงระหว่างประเทศตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจต่าง ๆ ให้ ่เกิดการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น
  • 45. การสร้างภูมิคุ้มกันในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อู ุ พัฒนาการท่องเที่ยวไทยไปสู่ความยั่งยืน (3) • สร้างความเข้มแข็งและการพัฒนาความสามารถในการปรับตัวของ ผ้ประกอบการไทย ให้ทันกับสถานการณ์การเชื่อมโยงระหว่างกันในภมิภาคที่ผูประกอบการไทย ใหทนกบสถานการณการเชอมโยงระหวางกนในภูมภาคท เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ื่ ่• เพือเสริมสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและเพิมระดับความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศไทยในเวทีระหว่างประเทศ • โดยเฉพาะในกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มจะมีบทบาทสูงในอนาคต เช่น เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป็นต้น โดยเน้นบทบาทของสภาธรกิจ และกรอบการหารือเศรษฐกจสรางสรรค เปนตน โดยเนนบทบาทของสภาธุรกจ และกรอบการหารอ ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในพื้นที่ของกรอบความร่วมมือ • ภาครัฐต้องให้การสนับสนุนในการพัฒนาผู้ประกอบการไทยและผู้ประกอบการของ ประเทศเพื่อนบ้านในบริเวณพื้นที่การพัฒนาร่วม
  • 46. การสร้างภูมิคุ้มกันในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อู ุ พัฒนาการท่องเที่ยวไทยไปสู่ความยั่งยืน (4) • พัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนและเมืองชายแดนแบบมีสมดุลบนพื้นฐานของ การสร้างผลประโยชน์ร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านและความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกันการสรางผลประโยชนรวมกบประเทศเพอนบานและความไวเนอเชอใจระหวางกน • บูรณาการด้านกิจกรรมทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้านเป็นไปตามหลักวิเคราะห์ ไ ี ี ี ไ ื่ ี่ ้ความได้เปรียบเปรียบเทียบระหว่างไทยกับประเทศเพือนบ้านในด้านทีตังทาง ยุทธศาสตร์ ประเภทการผลิต และความใกล้ชิดกับแหล่งวัตถุดิบ แรงงานและท่า ส่งออก • จัดสรรบทบาทหน้าที่ระหว่างเขตเศรษฐกิจในภาคต่างๆอย่างเหมาะสม• จดสรรบทบาทหนาทระหวางเขตเศรษฐกจในภาคตางๆอยางเหมาะสม • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านท่าส่งออกรองรับตามความเหมาะสมในปัจจุบัน และ ่โอกาสในการพัฒนาต่อเนื่องในอนาคต • ไทยต้องให้การสนับสนนประเทศเพื่อนบ้านในการพัฒนาในลักษณะห้นส่วนการไทยตองใหการสนบสนุนประเทศเพอนบานในการพฒนาในลกษณะหุนสวนการ พัฒนาที่มีความเสมอภาค
  • 47. การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนการทองเทยวอยางยงยน • การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Sustainable Tourism) มีหลักการที่ ้ ่ ื S i blสอดคล้องกับการพัฒนาอย่างยังยืน (Sustainable  Development)Development)  –มีการอนุรักษ์และการใช้ทรัพยากรอย่างพอดี เพื่อให้สามารถใชุ้ ประโยชน์ต่อไปได้ในระยะเวลายาวนาน –มีการกระจายผลประโยชน์ให้แก่คนส่วนใหญ่ มีการร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดระหว่างผ้ที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้ส่วนเสีย–มการรวมมอกนอยางใกลชดระหวางผูทเกยวของหรอมสวนไดสวนเสย
  • 48. การพัฒนาอย่างยั่งยืน คือ อะไร ? (1)การพฒนาอยางยงยน คอ อะไร ? (1) การพัฒนามนุษย์ (ตัวเรา) • การพัฒนาพฤติกรรม – พฤติกรรมทั่วไป .. วินัย วัฒนธรรมฤ – พฤติกรรมในการทํามาหาเลี้ยงชีพ .. สัมมาอาชีวะ สุจริตไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น – พฤติกรรมเศรษฐกิจทั่วไป .. กิน ใช้จ่าย เตรียมอาหาร กําจัดของเสียทิ้งขยะพฤตกรรมเศรษฐกจทวไป .. กน ใชจาย เตรยมอาหาร กาจดของเสยทงขยะ – พฤติกรรมในการหาความสุข .. สุขโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น • การพัฒนาจิตใจ: จิตใจที่พอใจ มีอดมคติ มีความสข มีอิสรภาพ ใกล้ชิดธรรมชาติ• การพฒนาจตใจ: จตใจทพอใจ มอุดมคต มความสุข มอสรภาพ ใกลชดธรรมชาต สันโดษอย่างถูกต้อง ั ปั ปั ้ปั ิโ ้ ปั ํ ่ ิ ั ิ• การพัฒนาปัญญา: ปัญญาแก้ปัญหา บริโภคด้วยปัญญา นําสุ่อิสรภาพ สันติสุข
  • 49. การพัฒนาอย่างยั่งยืน คือ อะไร ? (2)การพฒนาอยางยงยน คอ อะไร ? (2) – การพัฒนาทางสังคม ้• สร้างบรรยากาศแห่งการไม่เบียดเบียน การช่วยเหลือเกื้อกูลในชุมชน ในเมือง ใน ประเทศ และระหว่างประเทศ –การพัฒนาทางธรรมชาติ / สิ่งแวดล้อม • ไ ่ ี ี ิ ่ ่ ั ิ ่ ั ิ• ไมเบียดเบียนธรรมชาติ อยูรวมกับธรรมชาติอยางสันติ • ธรรมชาติเป็นศูนย์กลางในการคิด การทํา –การพัฒนาทางเทคโนโลยี • พัฒนาเทคโนโลยีที่เกื้อกลธรรมชาติ ใช้เทคโนโลยีอย่างมีสติ ใช้ด้วยปัญญา• พฒนาเทคโนโลยทเกอกูลธรรมชาต ใชเทคโนโลยอยางมสต ใชดวยปญญา
  • 51. ่ ี่ ่ ั่ ื ื ไ ?การทองเทยวอยางยงยน คออะไร ? • การท่องเที่ยวกลุ่มใหญ่หรือกลุ่มเล็กที่มีการจัดการอย่างดีเยี่ยม เพราะ ส ํ ไ ้ซึ่ ั ่ ี่ ใ ้ ี ึ ใ ่ ไ ่ สื่สามารถดารงไวซงทรพยากรทองเทยวใหมความดงดูดใจอยางไมเสอม คลาย และธุรกิจท่องเที่ยวมีการปรับปรุงคุณภาพให้ได้ผลกําไรอย่างเป็น ธรรม โดยมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมเยือนสมํ่าเสมออย่างเพียงพอ แต่มี ผลกระทบทางลบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สดผลกระทบทางลบตอสงแวดลอมนอยทสุด ที่มา: บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. 2542. การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยว ั่ ื ิ ์ ั้ ี่ ์ ิ ั ี ใ ่แบบยังยืน. พิมพ์ครังที 1. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 52. ป: “ ่ ี่ ่ ั่ ื ”สรุป: ความหมายของ “การทองเทยวอยางยงยน” • การท่องเที่ยวที่มีการกําหนดแนวทางการใช้ประโยชน์และการ ั ั ่ ี่ ั้ ปั ั ้ ี่พัฒนาทรัพยากรการท่องเทียว รวมทังปัจจัยแวดล้อมที เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเพื่อตอบสนองความจําเป็นทางเกยวของกบการทองเทยวเพอตอบสนองความจาเปนทาง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสุนทรียภาพแก่สมาชิกของ สังคมในปัจจุบันและอนาคต โ ใ ้• โดยใช้ทรัพยากรอันทรงคุณค่าอย่างชาญฉลาด สามารถรักษา เอกลักษณ์ของธรรมชาติและวัฒนธรรมไว้นานที่สด เกิดผลเอกลกษณของธรรมชาตและวฒนธรรมไวนานทสุด เกดผล กระทบน้อยที่สุด และใช้ประโยชน์ได้ตลอดไป
  • 53. ลักษณะการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน ้การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน มีลักษณะสําคัญอยู่ 6 ประการดังนี้ คือ • เป็นการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวทกประเภท ทกแห่งเปนการทองเทยวในแหลงทองเทยวทุกประเภท ทุกแหง • เป็นการท่องเที่ยวที่เน้นคุณค่าและความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละแหล่ง ่ ี่ท่องเทียว • เป็นการท่องเที่ยวที่รับผิดชอบต่อทรัพยากรการท่องเที่ยวและสิ่งแวดล้อม • เป็นการท่องเที่ยวที่ให้นักท่องเที่ยวได้รับความรู้และประสบการณ์เกี่ยวข้อง กับธรรมชาติและวัฒนธรรมกบธรรมชาตและวฒนธรรม • เป็นการท่องเที่ยวที่ให้ผลตอบแทนแก่ผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ยวอย่างยืนยาว ็ ี่ ี่ ้ ้ ่ ื• เป็นการท่องเทียวทีให้ผลประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิน และคืนผลประโยชน์ กลับสู่ทรัพยากรท่องเที่ยวและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น
  • 54. รปแบบการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนรูปแบบการจดการทองเทยวอยางยงยน จะต้องคํานึงถึง :‐ ่ ่• เป็นการจัดการท่องเทียวทีมีจิตสํานึก มีความรับผิดชอบต่อ สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศนั้นๆสภาพแวดลอมและระบบนเวศนนๆ • เป็นการจัดการการท่องเที่ยวที่สร้างความร้และให้ความร้เ น ร ร ร เ ว สร ว มรูแล ใ ว มรู • เป็นการจัดการการท่องเที่ยวที่ประชาชนในท้องถิ่นมีบทบาท มี ส่วนร่วมในการตัดสินใจ ร่วมจัดทําและร่วมได้รับผลประโยชน์ ่อย่างเสมอภาค
  • 55. ํ ั ั ั ่ ี่ ่ ั่ ืความสาคญของการจดการทรพยากรการทองเทยวอยางยงยน • เพื่อให้การใช้ทรัพยากรท่องเที่ยวเป็นไปอย่างคุ้มค่า และมี ประสิทธิภาพสูงสุด ื่ ี่ ่ ื• เพือรักษาทรัพยากรท่องเทียวให้คงอยู่อย่างยังยืน ื่ ป้ ั ่ ี่ ิ ั ั ่ ี่• เพือป้ องกันผลกระทบต่างๆ ทีจะเกิดกับทรัพยากรท่องเทียว ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมทงในเชงเศรษฐกจ สงคมและวฒนธรรม
  • 56. ั ั “ ่ ี่ ่ ั่ ื ” (1)หลกการจดการ “การทองเทยวอยางยงยน” (1) • อนุรักษ์และใช้ทรัพยากรอย่างพอดี (Using Resource  Sustainable)Sustainable) • ลดการบริโภคและใช้ทรัพยากรที่เกินความจําเป็นและลดการก่อของเสีย (Reducing Over‐Consumption and Waste) ั ่ ิ ิ ั ั• รักษาและส่งเสริมความหลากหลายของธรรมชาติ สังคมและวัฒนธรรม (Maintain Diversity)y) • การประสานการพัฒนาการท่องเที่ยว (Integrating Tourism  i t Pl i )into Planning) • ต้องการนําการท่องเที่ยวขยายฐานเศรษฐกิจในท้องถิ่น (Supportingตองการนาการทองเทยวขยายฐานเศรษฐกจในทองถน (Supporting  Local)
  • 57. ั ั “ ่ ี่ ่ ั่ ื ” (2)หลกการจดการ “การทองเทยวอยางยงยน” (2) • การมีส่วนร่วม การสร้างเครือข่ายพัฒนาการท่องเที่ยวกับท้องถิ่น I l i L l C iti )(Involving Local Communities) • ประชมปรึกษาหารือกับผ้ที่เกี่ยวข้องที่มีผลประโยชน์ร่วมกันประชุมปรกษาหารอกบผูทเกยวของทมผลประโยชนรวมกน (Consulting Stakeholders and the Public) • การพัฒนาบุคลากร (Training Staff) ่• จัดเตรียมข้อมูลคู่มือบริการข่าวสารการท่องเที่ยวให้พร้อม( Marketing Tourism Responsibly)Marketing Tourism Responsibly) • ประเมินผล ตรวจสอบและวิจัย (Undertaking Research)g )
  • 58. ป: ่ ี่ ่ ั่ ื ้ ื่ ไ ้ ?สรุป: การทองเทยวอยางยงยน เนนเรองอะไรบาง ? • จะต้องดูแลทรัพยากรการท่องเที่ยวให้สามารถใช้ประโยชน์ต่อไปได้ใน ระยะเวลา ยาวนานจนถึงชั่วลูกชั่วหลาน มิใช่เพียงเพื่อคนรุ่นปัจจุบันเท่านั้นู ุ ุ • ลดการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง และลดปริมาณของเสียที่จะเป็นอันตรายต่อ สิ่งแวดล้อมสงแวดลอม • มีการกระจายรายได้และผลประโยชน์ให้แก่คนในท้องถิ่นที่มีแหล่งท่องเที่ยว ตั้งอย่ เปิดโอกาสให้ชมชนในท้องถิ่นได้เข้าร่วมในการจัดการ และการให้บริการแก่ตงอยู เปดโอกาสใหชุมชนในทองถนไดเขารวมในการจดการ และการใหบรการแก นักท่องเที่ยว • มีการประชมปรึกษาหารือกันอย่างสมํ่าเสมอระหว่างผ้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น• มการประชุมปรกษาหารอกนอยางสมาเสมอระหวางผูมสวนไดสวนเสย เชน หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง ผู้ประกอบธุรกิจการท่องเที่ยว และชุมชนในท้องถิ่น เพื่อการวางแผนงาน การจัดสรรงบประมาณ และการจัดการทรัพยากรอย่างเหมาะสมเพอการวางแผนงาน การจดสรรงบประมาณ และการจดการทรพยากรอยางเหมาะสม • มีการสร้างเครือข่ายเพื่อเผยแพร่แนวคิด การศึกษาวิจัย และความรู้เกี่ยวกับ ่ ี่ ่ ั่ ื ไปใ ่ป ั้ ใ ป ่การ ทองเทยวอยางยงยน ออกไปในหมูประชาชน ทงภายในประเทศและระหวาง ประเทศอย่างกว้างขวาง
  • 59. อ่านเพิ่มเติมอานเพมเตม • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙), ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง, ๑๔ ธันวาคมุ ๒๕๕๔, หน้า ๑ – ๑๘๓ • แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ ศ ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ ราชกิจจาแผนพฒนาการทองเทยวแหงชาต พ.ศ. ๒๕๕๕ ๒๕๕๙, ราชกจจา นุเบกษา, เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๖๗ ง, ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๔, หน้า ๑๔ – ๗๒ • บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา ๒๕๔๒,  การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน พิมพ์ครั้งที่ ๑ คณะมนษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พมพครงท ๑, คณะมนุษยศาสตร มหาวทยาลยเชยงใหม • อุษาวดี พลพิพัฒน์ ๒๕๔๕, การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน : กรณีศึกษาการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยชมชนในประเทศไทย จลสารการท่องเที่ยว ๒ (ทองเทยวเชงนเวศโดยชุมชนในประเทศไทย, จุลสารการทองเทยว ๒๑, ๔ ( ตุลาคม- ธันวาคม ), หน้า ๓๘-๔๘