SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 12
Descargar para leer sin conexión
การประเมินเตรียมพร้อมของรพ.ในการตอบโต้เหตุฉุกเฉินอุบัติภัยสารเคมี

                   (Hospital Preparedness assessment for Toxicological Mass Casualties)
                                                                                                   น.พ. กิติพงษ์ พนมยงค์

                                                                                                 พบ., วว. เวชปฏิบัติทั่วไป

                                                                                           MHSCc. (OHS) QUT Australia

                                                                               อว. เวชศาสตร์ป้องกันแขนงอาชีวเวชศาสตร์

                                                        ศูนย์อาชีวเวชศาสตร์ และ เวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม,รพ.นพรัตนราชธานี

    เนื่องจากการเจริญเติบโตทางด้านอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องของประเทศไทยทาให้สถิติการใช้และนาเข้าสารเคมีและเคมีภัณฑ์
    ของประเทศมีแนวโน้มสูงขึ้น1 ขณะเดียวกันสถิติการเกิดอุบัติภัยสารเคมีในช่วงหลายปีที่ผ่านมาก็เพิ่มเป็นเงาตามตั ว2 บทเรียน
    จากอดีตของการเกิดอุบัติภัยสารเคมี3พบว่า
     ผู้ประสบภัยที่ช่วยเหลือตนเองได้มักมาถึงโรงพยาบาลก่อน
     ผู้ป่วยมักมาถึงโดยขาดการประสานงาน
     โรงพยาบาลที่อยู่ใกล้ที่สุดมักท่วมท้น
     เวชบริการสาหรับผู้ไม่ได้กระทบโดยตรง มักเป็นปัญหาเสริม
     การช่วยผู้ประสบภัยโดยผู้ที่ขาดทักษะมักก่อการบาดเจ็บเพิ่มขึ้น

    ทาให้มีการตื่นตัวในการบริหารจัดการของเตรียมความพร้อมเพื่อรับอุบัติภัยสารเคมี โดยเฉพาะ ด้านการรักษาพยาบาล ณ จุด
    เกิดเหตุ ,ห้องฉุกเฉิน, และการติดตามผลกระทบต่อสุขภาพหลังอุบัติภัย ถึงแม้ว่าในประเทศไทยยังไม่มีการจัดทามาตรฐานและ
    การประเมินของโรงพยาบาลในการรับอุบัติภัยสารเคมี แต่ตามข้อกฎหมายกาหนดไว้ในแผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พศ . 25484
    กรณีเมื่อเกิดอุบัติภัยสารเคมีระบุบทบาทหน่วยบริการด้านการแพทย์ว่าให้เป็นทีมหนึ่งในหน่วยปฏิบัติการเฉพาะด้านมีภาระ
    กิจการให้บริการการแพทย์แก่ผู้ประสบภัย ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัยออกจากจุดอันตราย, การส่งต่อ และ
    รักษาผู้ป่วย ดังนั้นโรงพยาบาลควรเตรียมการโดยจัดทาเป็นแผนของโรงพยาบาล จัดทาหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้าไปในแผน
    ท้องถิ่นหรือในแผนระดับชาติให้บุคลากรของตนเองคุ้นเคยกับแผนเหล่านี้และรู้ว่าจะทาอย่างไรเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้น และจะทา
    อย่างไรเมื่อมีเหตุการณ์ที่เกินความสามารถของโรงพยาบาลเอง ,การฝึกอบรม และการฝึกซ้อม เครื่องมือและเวชภัณฑ์ที่
    ต้องการ อนึ่ง การจัดระบบบริการอาจมีความแตกต่างกันตามสภาพ และข้อจากัด ของแต่ละจังหวัด ในบทความนี้จะพูดถึง
    เฉพาะหลักการเตรียมความพร้อมเพื่อดูแลผู้ประสบภัยจากสารเคมี ของโรงพยาบาลเท่านั้นซึ่งโดยทั่วไปเราอาจแบ่งได้คร่าวๆ
    ดังต่อไปนี้4-7

                    การปฏิบัติของโรงพยาบาลเมื่อได้รับแจ้งเหตุแผนการจัดการผู้ป่วย
                    การหาข้อมูลของสารเคมีและชุดป้องกันสารเคมี
                    การปฏิบัติการของหน่วยรักษาพยาบาล ณ ที่เกิดเหตุ
                    การปฐมพยาบาล, คัดกรองผู้ป่วย และการลดการปนเปื้อนสารเคมี
                    การปฏิบัติการของหน่วยรักษาพยาบาล ขณะนาส่ง
                    การปฏิบัติการของหน่วยรักษาพยาบาล ณ โรงพยาบาล
                    อุปกรณ์ที่จาเป็นต้องนามาใช้ได้ทันที


การปฏิบัติของโรงพยาบาลเมื่อได้รับแจ้งเหตุ
         ยืนยันการเกิดเหตุ
แจ้งหน่วยเวชบริการฉุกเฉินให้จัด เตรียมบริเวณที่ล้างพิษ

           แจ้งให้หน่วยบริการที่ เกี่ยวข้องทุกหน่วยทราบ

           ซักซ้อมชุดปฏิบัติการ ล้างพิษ

           ระลึกเสมอว่าผู้ป่วยทุกรายได้รับพิษจนกว่าจะพิสูจน์ได้



โดยหัวใจสาคัญอยู่ที่ข้อมูลต่างๆดังต่อไปนี้

           กรณีไม่ทราบข้อมูลต้องอนุมานว่าเป็นสารเคมีที่เป็นพิษมากที่สุด

           ชนิดและลักษณะของอุบัติภัยเช่น การระเบิด, การรั่วของก๊าซ, หรืออุบัติเหตุขณะขนส่ง

           หมายเลขโทรศัพท์ของผู้แจ้งเหตุ

           จานวน,อาการของผู้ป่วยและลักษณะการบาดเจ็บร่วมอื่นๆเช่นไฟ,ระเบิด,การบาดเจ็บทางกายภาพ

           การทาลายล้างพิษภาคสนามและเวลาที่คาดว่าผู้ป่วยจะมาถึงเพื่อการเตรียมพร้อมของรพ.

           ข้อมูลชื่อของสารเคมีที่เกี่ยวข้อง(ถ้าเป็นไปได้)ซึ่งบอกถึงความเป็นพิษและเป็นประโยชน์ต่อการรักษา

การระบุชนิดของสารเคมีที่เป็นไปได้
ซึ่งสามารถหาได้จากรูปสัญญลักษณ์ประเภทสินค้าอันตราย (Label) หรือ Placards ( รูปที1), เอกสารการขนส่ง(Transportation
                                                                                ่

sheet),และฐานข้อมูล เป็นต้น




( รูปที่1)ตัวอย่างรูปสัญญลักษณ์และระบบข้อมูลแสดงประเภทสินค้าอันตราย8

ฐานข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี
อาจแบ่งคร่าวๆได้เป็น 2 ประเภทคือ

ข้อมูลที่ On line
ตย.แหล่งข้อมูลที่ On line                                         ลักษณะและข้อจากัดของข้อมูลที่มีอยู่

www.anamai.moph.go.th (กรมอนามัย)                                 ข้อมูลภาษาไทยของสารเคมี 100 ชนิด, เป็นข้อมูลตาย

http://chemtrack.or.th (จุฬาฯ)                                    มีข้อมูลสารเคมีจานวนมาก, มีการแปล MSDS และ Safety

                                                                  Guide เป็นไทย, เข้าถึงข้อมูลได้ด, มีการพัฒนาต่อเนื่อง
                                                                                                  ี

www.diw.go.th (กรมโรงงานอุตสาหกรรม)                               ข้อมูลเกี่ยวกับสถานประกอบการเข้าได้บ้างไม่ได้บ้างแสดงการ

                                                                  ใช้,การนาเข้า,การเก็บสารเคมีรายจังหวัด

www.pcd.go.th (กรมควบคุมมลพิษ)                                    เข้าได้บ้าง ข้อมูลภาษาอังกฤษ 600 รายการ, ข้อมูลทั่วไป

                                                                  สาหรับการปฐมพยาบาลและการล้างพิษ

www.toxnet.nlm.nih.gov (Toxnet)                                   ฐานข้อมูลที่เกี่ยวกับการรักษาพิษสาหรับบุคลากรทางการแพทย์



ข้อมูลที่ Off line
ตย.แหล่งข้อมูลที่ Off line                                        ลักษณะและข้อจากัดของข้อมูลที่มีอยู่

                 CAMEO                                           Knowledge Base เกี่ยวกับสารเคมีต่างๆ เช่นคุณสมบัติทาง

                 ILO Encyclopedia                                ฟิสิกส์ ระดับการเกิดอันตราย การปฐมพยาบาล การป้องกัน

                                                                  อันตราย

                 CAMEO, CAMEOfm                                  Database เกี่ยวกับสถานประกอบการ และสารเคมีที่เกี่ยวข้อง

                 CAMEOThai (Next year release)




ปัญหาของข้อมูลระบบ Online
           การเข้าถึงข้อมูลยังมีอุปสรรค เช่นหลายครั้งไม่สามารถ Login เข้าสู่ Website นั้นได้ หรือเข้าถึงได้ แต่การเชื่อมต่อและ

           การแสดงผลข้อมูลช้าเกินไป

           บาง Website ต้องใช้ Password เวลามีเหตุฉุกเฉินอาจจาไม่ได้ และยุ่งยาก

           ถ้าออกไปปฏิบัติงาน ณ สถานที่เกิดอุบัติภัยจากเคมีวัตถุ ก็จะเชื่อมต่อและเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้ยาก

ปัญหาของข้อมูลระบบ Off line
มีความยุ่งยากในการบันทึกข้อมูล เช่น

           มี User Interface ที่เข้าใจยาก และเพิ่มเติมไม่ได้
ใช้ภาษาไทยไม่ได้

            ขาดความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้

ชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมี (Chemical Protective Clothing)
ชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมี(Chemical Protective Clothing)เป็นชุดที่ถูกออกแบบมาเพื่อใส่ป้องกันไม่ให้ส่วนต่างๆของร่างกายมี
การสัมผัสต่อสารเคมีอันตราย เป็นสิ่งกีดขวางระหว่างร่างกายและสารเคมีซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อผิวหนังหรือซึมผ่านผิงหนังแล้วทา
ให้เกิดผลกระทบต่ออวัยวะอื่นๆ มีหลายระดับสาหรับการป้องกันภัยระดับต่างๆกัน การเลือกใช้อย่างเหมาะสมร่วมกับอุปกรณ์
ปกป้องระบบหายใจจะสามารถป้องกันบุคลากรที่ต้องปฏิบัติงานในสิ่งแวดล้อมที่มีสารเคมีอันตรายได้ แต่ไม่ได้ป้องกันอันตรายทาง
กายภาพ เช่น ไฟ รังสี ไฟฟ้า การใช้อุปกรณ์ปกป้องส่วนบุคคล จะต้องพิจารณาให้ครบทั้งชุด ปกป้องศีรษะโดยใช้หมวกนิรภัย
ปกป้องตาโดยใช้แว่นนิรภัยซึ่งเลนส์ ทาด้วยวัสดุที่สามารถทนแรงกระแทกได้ หรือที่ครอบตา (Goggles) ปกป้องหูด้วยที่อุดหู และ
ปกป้องเท้าด้วยรองเท้านิรภัยซึ่งกันสารเคมีได้ เป็นต้น โดย EPA (Environment Protection Agency) หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมของ
สหรัฐอเมริกาได้มีการจาแนกตามความต้องการที่จะใช้ป้องกันสารเคมีในแต่ละสถานการณ์มี 4 ชนิดคือ

Level A Protection
ให้การป้องกันในระดับสูงสุด ทั้งด้านการหายใจ การสัมผัส กับ ผิวหนัง ดวงตา และ ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ป้องกันสารเคมีทั้งใน

รูป ของแข็ง ของเหลว และ ก๊าซ สามารถเข้าเขต Hot Zoneได้




ชุดประกอบด้วย                                            Level A Protection

            ถังอากาศที่มีความดันมากกว่าความดันบรรยากาศ

            ชุดทนสารเคมีแบบคลุมทั้งตัวไร้รอยต่อ

            ถุงมือและรองเท้าบู้ทที่ทนต่อสารเคมี

ข้อบ่งใช้

      ไม่ทราบว่าสารเคมีนั้นคืออะไร

      ทราบว่าสารเคมีนั้นสามารถดูดซึมทางผิวหนังได้

      ทราบว่าสารเคมีนั้นเป็นอันตรายเมื่อสัมผัสผิวหนังในรูปไอหรือของเหลว

      ปฏิบัติงานในบริเวณที่อับ และ ไม่มีการระบายอากาศ (confined space)
Level B Protection
ใช้ป้องกันระบบทางเดินหายใจในระดับสูงสุดแต่ระดับการป้องกันจะรองลงมาสาหรับผิวหนังและดวงตาโดย มากจะใช้ป้องกัน

ของเหลวหรือวัตถุกระเด็น เป็นชุดที่หุ้มทั้งตัวแต่ไม่หมด ไอระเหยและฝุ่นสามารถเข้าตามรอยต่อบริเวณคอ ข้อมือได้




                                                                                  Level B Protection
ชุดประกอบด้วย

          ถังอากาศที่มีความดันมากกว่าความดันบรรยากาศ

          ชุดทนสารเคมีคลุมยาวตลอดแขนขา

          ถุงมือและรองเท้าบู้ทที่ทนต่อสารเคมี

ข้อบ่ง

          ทราบว่าสารเคมีนั้นเป็นอันตรายเมื่อสัมผัสผิวหนังในรูปของเหลว (ไม่ป้องกันการสัมผัสไอหรือแก๊สที่ผิวหนัง)

          ทราบว่าสารเคมีนั้นเป็นไอหรือแก๊สที่เป็นพิษทางการหายใจ

          ปฏิบัติงานในบริเวณที่ที่มี ออกซิเจนน้อย

Level C Protection
ใช้เมื่อรู้ว่าสารเคมีเป็นอันตรายต่อทางเดินหายใจ มีการวัดความเข้มข้นของสารเคมี และมีข้อบ่งชี้ในการใช้ air-purifying respirators

อันตรายจากการสัมผัสทางผิวหนังค่อนข้างน้อย และตลอดการปฏิบัติงานภายใต้ชุดดังกล่าวจะต้องมีการตรวจสภาพอากาศเป็นระยะ




ชุดประกอบด้วย                                 Level C Protection
เครื่องช่วยหายใจชนิดที่มีไส้กรองอากาศ

            ชุดทนสารเคมีแบบคลุมทั้งตัวไร้รอยต่อ

            ถุงมือและรองเท้าบู้ทที่ทนต่อสารเคมี

ข้อบ่งใช้

            ทราบว่าสารเคมีนั้นคืออะไรและป้องกันได้ด้วย air purifying respiratory protective device (ทราบ

            ชนิดและทราบว่าความเข้มข้นน้อยกว่า 1000 ppm)

            ทราบว่าสารเคมีนั้นเป็นอันตรายเมื่อรับสัมผัสทางการหายใจ

            ปฏิบัติงานในบริเวณที่มีออกซิเจนพอเพียง

Level D Protection
คือชุดใส่ทางานทั่วไป ใช้กรณีดูแลหลังจากได้รับการ decontamination และ ควบคุมสถานการณ์แล้ว ไม่ควรใส่ในที่ซึ่งมีสิ่ง

คุกคามต่อผิวหนังหรือทางเดินหายใจ




                                                                      Level D Protection


การปฏิบัติการของหน่วยรักษาพยาบาล ณ ที่เกิดเหตุ
เมื่อทีมเวชบริการฉุกเฉินที่พร้อมจะให้การช่วยเหลือไปถึงจุดเกิดเหตุ ให้เข้ารายงานตัวกับผู้บัญชาการเหตุการณ์ และ   ประสานทีม

กู้ภัย( HAZ.MAT team ) รับทราบแผนการปฏิบัติและการกาหนดพื้นที่แบ่ง พท.ระดับความปลอดภัยต่อสารเคมี (Control Zone) (รูป

ที่2)และ จุดคัดแยกผู้บาดเจ็บ ซึ่งระยะปลอดภัยจะถูกกาหนดโดยหน่วยงานผู้เชี่ยวชาญ เช่น กรมควบคุมมลพิษ หรือจากฐานข้อมูล

อิเล็คทรอนิคเช่น ASTDR , CHEMTREC
(รูปที2) การจัดแบ่งบริเวณของความปลอดภัยต่อสารเคมี (Isolate Area Establish Zones) แบ่ง พท.เป็น 3 ระดับได้แก่ Hot Zone,
      ่

Warm Zone, Cold Zone

          สาหรับรถพยาบาล ให้นารถไปจอดในที่จุดปลอดภัย ซึ่งมักเป็นที่สูง , อยู่เหนือลม ต้นน้า เพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสสารเคมี

          และหันหัวรถพยาบาลออก เพื่อที่จะสามารถเคลื่อนย้ายได้ทันทีที่เกิดเหตุแทรกซ้อนห้ามผ่านเข้าไปในบริเวณเขตชาระ

          ล้างสารเคมี (Warm Zone)

          ก่อนการปฏิบัติการด้านรักษาพยาบาลให้ทีมเวชบริการฉุกเฉินมีการสวมใส่ชุดและอุปกรณ์ป้องกันภัยสารเคมีให้

          เหมาะสมกับชนิดสารเคมี (อย่างน้อยระดับ C) และให้เรียบร้อยก่อนลงจากรถพยาบาล แต่ถ้าจะเข้าปฏิบัติการในเขตชาระ

          ล้างสารเคมี (Warm Zone) หรือเขต ( Hot Zone) จะต้องคานึงการเพิ่มระดับของชุดป้องกันสารเคมี

          แพทย์ที่ถึงที่เกิดเหตุคนแรกจะเป็น ผู้บัญชาการส่วนเวชบริการฉุกเฉิน จนกว่าจะมีผู้ที่มีระดับสูงกว่าในสายการบังคับ

          บัญชาเข้ารับช่วงต่อ

          เมื่อมีการรับตัวผู้ประสบภัยจาก HAZMAT ทีมย้ายมายังจุดปลอดภัย (Cold Zone) จะเป็นจุดที่เริ่มให้การรักษาพยาบาล

          ก่อนการส่งต่อผู้ประสบภัยไปยังโรงพยาบาล

การให้การปฐมพยาบาล , การประเมินสภาพ และ การลดการปนเปื้อนสารเคมี (First Aids, Patient Assessment
and Decontamination)

ทีมเวชบริการฉุกเฉินจะมีการประเมินและแบ่งกลุ่มผู้ประสบภัยตามความเร่งด่วนที่จะให้การรักษา โดยพิจารณาจาก ทางเดินหายใจ,

การหายใจ, การเต้นของชีพจร ซึ่งสามารถแบ่งเป็นการดูแลรักษาอย่างฉุกเฉินและประคับประคอง เช่นการช่วยเหลือในด้านระบบ

หายใจ, การให้สารน้า, การลดการเจ็บปวด,ปลอบขวัญ , ให้กาลังใจ , ลดการเคลื่อนไหวที่ไม่จาเป็น และการดูแลรักษาอย่างจาเพาะ

เช่นการให้ยาต้านพิษ ( Antidote )

การลดการปนเปื้อน หรือการล้างพิษ ( Decontamination Procedure)

การล้างพิษ ( Decontamination Procedure)
คือกระบวนการการขจัด หรือทาลายสภาพพิษของวัตถุอันตรายซึ่งติดอยู่บนบุคคลและ/หรืออุปกรณ์ ในการเกิดอุบัติภัยจากวัตถุ

อันตรายซึ่งมีจุดประสงค์หลักเพื่อ

     1.   ลดการบาดเจ็บ ,ลดการดูดซึมของวัตถุอันตรายที่จะเข้าสู่ร่างกาย

     2.   ลดการแพร่กระจายสู่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

     3.   ลดการปนเปื้อนของเจ้าหน้าที่ (responder)

ระบบการล้างพิษ ( mass casualty decontamination systems)
         ระบบการล้างพิษหมู่ แบบระบบคู่ คือ มีระบบหนึ่งสาหรับ ambulatory victims และอีกระบบหนึ่งสาหรับ non-
          ambulatory victims
         ระบบการล้างพิษหมู่ แบบระบบเดี่ยว คือ ล้างทั้ง ambulatory และ non-ambulatory victims ในระบบเดียวกัน




            ระบบการล้างพิษหมู่ แบบระบบคู่                           ระบบการล้างพิษหมู่ แบบระบบเดี่ยว

วิธีการล้างพิษ
     •    ใช้มือควัก-ปาดออก, ตัดเสื้อผ้าออก(Dry Decontamination)

     •    ล้างตา/แผล เป็นลาดับแรก

     •    ล้างจากบนลงล่าง หัวจรดเท้า

     •    ผู้ป่วยที่มีประวัติการรับสัมผัสสารเคมีทางตาควรได้รับการปฐมพยาบาลโดยการล้างตาด้วย normal saline หรือ น้าสะอาด

          ข้างละอย่างน้อย 10-15นาที ควรได้รับการตรวจด้วย pH paper จน pH เป็นกลาง

     •    ล้างตัวด้วยน้าสะอาดที่ไหลอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 5 นาที

     •    ถ้าสารปนเปื้อนมีลักษณะเหนียวหรือเป็นน้ามันใช้สบู่และแปรงอ่อนช่วย

     •    ถ้าสารปนเปื้อนมีลักษณะเป็นด่างใช้สบู่และแปรงอ่อนช่วยและล้างด้วยน้าสะอาดที่ไหลอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 15 นาที
(รูปที๓)วิธีการล้างพิษ
                                                          ่

การจาหน่ายผู้ป่วยจาก Support Zone or Cold Zone
ผู้ป่วยที่ไม่มีการรับสัมผัสและไม่มีอาการผิดปกติสามารถถูกจาหน่ายได้      การปฏิบัติการของหน่วยรักษาพยาบาล ขณะนาส่งการ

เคลื่อนย้ายผู้ประสบภัยจากจุดเกิดเหตุไปยังโรงพยาบาล สิ่งที่ทีมช่วยเหลือพึงระลึกเสมอเมื่อจะมีการการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัยจาก

จุดเกิดเหตุไปยังโรงพยาบาลคือ



     •    ผู้บาดเจ็บต้องสะอาดก่อนขึ้นรถ (ACAP: as clean as possible)

     •    ลดการเคลื่อนไหว,ปลอบขวัญ,ให้กาลังใจ

     •    ห่อและคลุมผู้บาดเจ็บด้วยผ้าพลาสติก

     •    ก่อนล้อหมุน ตรวจสอบและกรอกข้อมูลในใบ refer ให้ครบถ้วน

     •    ปิดแอร์,เปิดหน้าต่าง

     •    ติดต่อโรงพยาบาลที่รับrefer ตาม radio report checklist

     •    ประเมินและดูแลเรื่องABCs และล้างตาต่อ(ถ้าจาเป็น)

     •    Appropriate treatment,antidote,O2,etc.



การปฏิบัติการของหน่วยรักษาพยาบาลเมื่อถึงโรงพยาบาล
     •    เข้าสู่โรงพยาบาลตามทิศทางที่กาหนด ,จอดรถในจุดที่จะทา Secondary decontamination

     •    ทีม EMS, ผู้บาดเจ็บ,รถAmbulance ถือว่าเป็นสิ่งที่เปื้อนวัตถุอันตราย ดังนั้น ต้องผ่านการdecontaminationในจุดที่
          โรงพยาบาลกาหนด สถานที่ล้างพิษที่อยู่ในที่เปิดโล่งจะเป็นสถานที่ดีที่สุด
     •    ถุงขยะ,ถุงใส่สิ่งที่ผู้บาดเจ็บอาเจียนออกมา, Disposable material ต้องใส่ถุงและปิดผนึกอีกครั้งก่อนส่งไปทาลาย

     •    ER ต้องแบ่งเป็น 2 ทีม คือ ทีมใน ER(เขตสะอาด)และทีมนอก ER ซึ่งจะปฏิบัติงานที่ Triage area และ Secondary

          decontamination area
•    เมื่อมีผู้ป่วยมาแพทย์หรือพยาบาลห้องฉุกเฉินจะต้องไปที่รถพยาบาลเพื่อประเมินสภาพและการปนเปื้อนของผู้ป่วย
       •    ผู้บันทึกจะเขียนรูปบริเวณร่างกายของผู้ป่วยที่แพทย์บอกว่ามีการปนเปื้อน จะต้องนึกเสมอว่าการปนเปื้อนอาจจะเป็น
            สาเหตุให้ถึงแก่ชีวิตได้
       •    เริ่มการคัดกรอง ( triage) ผู้ป่วยตั้งแต่ตรงนี้ ระหว่างการประเมินผู้ป่วยนี้ การลดการ ปนเปื้อนอาจทาได้พร้อมกันโดย
            การถอดเสื้อผ้าที่สงสัยว่าจะปนเปื้อนออกให้หมด รวมทั้งเครื่องประดับ นาฬิกา เช็ดหรือถูสิ่งที่มองเห็นว่าปนเปื้อน ควร
            ระวังไม่ให้บาดแผลของผู้ป่วยปนเปื้อน บุคลากรเองควรระวังไม่ให้มีการสัมผัสสารพิษด้วย (ในทางทฤษฏีนั้นการล้างพิษ
            ควรทาก่อนที่จะมีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย แต่ในความเป็นจริงการ ล้างพิษบริเวณจุดเกิดเหตุจะมีข้อจากัด บุคลากรห้อง
            ฉุกเฉินควรถือว่าผู้ป่วยทุกรายจาเป็นต้องทา การล้างพิษ จนกว่าจะได้ข้อมูลว่าไม่จาเป็น        (เช่นในกรณี สัมผัส carbon
            monoxide)
       •     ถ้าไม่ได้ถอดเสื้อผ้าผู้ป่วยออกในเหตุการณ์ ควรถอดออกก่อนเข้าในห้องฉุกเฉิน ซึ่งจะเป็นการลดการสัมผัสให้กับผู้ป่วย
            และเป็นการลดการปนเปื้อนให้ห้องฉุกเฉิน
       •    เสื้อผ้าที่ปนเปื้อนจะต้องเก็บไว้ในถุงพลาสติกสองชั้น ผนึก และ เขียนบอกไว้ ทีมล้างพิษจะต้องนาเปลนอนมายัง
            รถพยาบาล นาส่งผู้ป่วย และนาผู้ป่วยไปยัง บริเวณ ล้างพิษตามแผนที่วางไว้
       •    ต้องให้ความสาคัญในการรักษาภาวะเร่งด่วนซึ่งได้แก่ ทางเดินหายใจ การหายใจ และ ระบบไหลเวียนเลือด พร้อมไปกับ
            การลดการปนเปื้อน เมื่อมีเหตุการณ์ฉุกเฉิน บุคลากรของห้องฉุกเฉินจะมุ่งไปที่การล้างพิษ และการช่วยเหลือผู้ป่วย การ
            ค้นหาพิษของสารเคมีและวิธีรักษาจะเป็นหน้าที่ของบุคลากรอื่น อย่างไรก็ดีการใช้เครื่องป้องกันตนเองจะต้องใช้ให้ถูก
            และไม่ถอดออกจนกว่าจะปลอดภัย


 อุปกรณ์ที่จาเป็นที่ EMS Team ควรมี
        กล้องส่องทางไกล

        แผนบรรเทาภัยจากวัตถุอันตราย,flowchart, checklist

        แผนที่,หมายเลขโทรศัพท์,คลื่นวิทยุและนามเรียกขาน

        Chemical Protective Clothing at least level C, face mask respirator with cartridge

        สัญญลักษณ์แสดงตาแหน่ง เช่น Medical doctor, Nurse or EMT

        คู่มือการระงับอุบัติภัย,MSDS,สอ.1

        ครุภัณฑ์และเวชภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง antidote,O2,etc, อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการล้างพิษ

สรุป
       สถานพยาบาลต้องขยายแผนฉุกเฉินและขอบเขตเวชบริการให้ครอบคลุมการดูแลอุบัติภัยสารเคมี

       เตรียม ชุดป้องกันสารเคมี, ยาต้านพิษ ให้เพียงพอ และมีกาหนดการซ้อมชัดเจน และทาอย่างจริงจัง

       เตรียมพร้อมกระบวนการวางแผนรับอุบัติภัยสารเคมีการเตรียมรับผู้ป่วย ณ จุดเกิดเหตุและห้องฉุกเฉิน

       พยายามจากัดการแพร่กระจายของวัตถุอันตรายโดยการล้างพิษ (Decontamination)

       Supportive and Symptomatic treatment คือ สิ่งสาคัญ เนื่องจากวัตถุอันตรายที่มี Antidote มีน้อยมากและ Antidote คือวัตถุ

       อันตราย ถ้าใช้อย่างไม่ถูกต้อง
เอกสารอ้างอิง
1. National coordination Subcommittee on Policy and plan for Chemical Safety And Thailand
  Chemicals Management Profile Working Group. Chemical Production, import, export and use. In:
  Food and Drug Administration of the Royal Thai Government. Thailand Chemicals Management
  Profile 2005 (Draft). Bangkok, 2005: 2/1-2/11

2. สานักงานควบคุมวัตถุอันตราย, กรมโรงงานอุตสาหกรรม, กระทรวงอุตสาหกรรม. สถิติอุบัติภัยจากสารเคมีระหว่างปี พ.ศ.2527 -
 พ.ศ.2543(ในประเทศไทย). Available from: URL: http://www2.diw.go.th/haz/hazard/Libary/chem_ac.htm

3. Schwartz RB. . Hospital Preparedness for Mass Casualty Disasters. Department of Emergency
   Medicine, Institute of Disaster Medicine, Medical College of Georgia, 2005

4. Treat K.N. Hospital preparedness for weapons of mass destruction incidents: An initial assessment.
   Annals of Emergency Medicine Nov. 2001

5. The HEICS plan. Available at: http://www.emsa.cahwnet.gov/dms2/download.htm.
  Accessed 2005 Feb 28.

6. Kirk MA, Cisek J, Rose SR. 1994. Emergency department response to hazardous materials
   incidents. Emerg Med Clin North Am 12: 461-481.

7. Okumura S. , Okumura T. ,Ishimatsu S. , Miura K. , Maekawa H. and Naito T.
   Clinical review: Tokyo – protecting the health care worker during a chemical mass
   casualty event: an important issue of continuing relevance. Critical Care 2005, 9:397-400

8. Burgess JL, Blackmon GM, Brodkin CA, Robertson WO. Hospital preparedness for hazardous
   materials incidents and treatment of contaminated patients. West J Med 1997; 167:387-391

9. Wetter DC., Daniell WE., and CD.Treser. Hospital Preparedness for Victims of Chemical or
   Biological Terrorism. American Journal of Public Health; May 2001, Vol. 91, No. 5:710-716

10. Okumura T, Suzuki K, Fukuda A, et al. The Tokyo subway sarin attack:disaster management, part
    1: community emergency response. Acad Emerg Med. 1998;5:613–617.

11. Okumura T, Suzuki K, Fukuda A, et al. The Tokyo subway sarin attack: disaster management,
    part 2: hospital response. Acad Emerg Med. 1998;5:618–624.

12. Keim ME, Pesik N, Twum-Danso NAY: Lack of hospital preparedness for chemical terrorism in a
    major US city: 1996–2000. Prehosp Disast Med 2003;18(3):193–199

13. American Hospital Association: Disaster readiness, 2005. Available at
    http://www.hospitalconnect.com/aha/key_issues/disaster_readiness/readiness.
    Accessed 15th June 2007.

14. Okumura T,Ninomiya N,Ohta M: The chemical disaster response system in Japan. Prehosp Disast
    Med 2003;18(3):189–192.

15. Lieut. Col. (ret) Adini B., Col. (res) Goldberg A., Col. (res) Laor D., Cohen R., Zadok R., Col. Bar-
   Dayan Y: Assessing Levels of Hospital Emergency Preparedness. Prehosp Disast Med
   2006;21(6):452–457.

16. วันทนี พันธุ์ประสิทธิ์. การตอบโต้เหตุฉุกเฉินสารเคมี.กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุข
   ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2545
17. The Pennsylvania Department of Health, and the Federal Health Resources and Services
   Administration (HRSA) : Hospital Emergency Preparedness Needs Assessment, Regional Findings
   of a Statewide Survey: NORTHEAST REGION February 3, 2003 (revised)
18. Agency for Toxic Substance and Disease Registry (ATSDR) Medical Management Guidelines
    for Acute chemical exposure. http://www.atsdr.cdc.gov/mmg.html. Assessed 10th July 2007

19. อดุลย์ บัณฑุกุล. การเตรียมตัวสาหรับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลในการรับมือการก่อการร้ายด้วยสารเคมีและอาวุธชีวภาพ.
      กรุงเทพมหานคร.วารสารโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี, 2548:57-67

20. สานักงานเลขาธิการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน, กรมป้องกันบรรเทาสาธารณภัย, กระทรวงมหาดไทย. แผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
 แห่งชาติ พศ. 2548 ภาคการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. พิมพ์ครั้งที่1.กรุงเทพ:โรงพิมพ์ชวนพิมพ์, 2548:126-142.

21. Occupational Safety & Health Administration. OSHA BEST PRACTICES for HOSPITAL-
    BASED FIRST RECEIVERS OF VICTIMS from Mass Casualty Incidents Involving the Release
    of Hazardous Substances. Available from: URL: http://www.osha.gov/Publications/osha3249.pdf

22. Chomchai S. Emergency department preparedness for hazardous material incidents. Lecture In:
    short course in Occupational Medicine. 2548

23. อดุลย์ บัณฑุกุล. เกณฑ์รับอุบัติภัยสารเคมี . กรุงเทพมหานคร: กลุ่มศูนย์การแพทย์เฉพาะทางด้านอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์
   สิ่งแวดล้อม โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี, 2549: 1-36

24. กิติพงษ์ พนมยงค์.การเตรียมพร้อมของรพ.ในการตอบโต้เหตุฉุกเฉินอุบัติภัยสารเคมี . ใน: การประชุมวิชาการโรงพยาบาล
      นพรัตนราชธานี ครั้งที9. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ราชทัณฑ์, 2548: 23-30
                           ่

25. สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ. อุบัติเหตจากสารอันตราย. สมุทรปราการ, 2546: 1-16


26. Chan JTS., Yeung RSD., Tang SYH.. Hospital preparedness for chemical and biological incidents
    in Hong Kong. Hong Kong Med J 2002;Vol 8 No 6: 440-446


27. The Hospital and Healthcare System Disaster Interest Group and The California Emergency
    Medical Services Authority. Patient decontamination recommendations for hospitals. July 2005

28. McLaughlin SB. The Case for Decontamination Facilities in Healthcare Facilities. Chicago, IL:
    American Society for Healthcare Engineering, American Healthcare Facility Association;
    2002;Management monograph 055976.

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464SophinyaDara
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2Dmath Danai
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆการเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆChakkrawut Mueangkhon
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลย
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลยข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลย
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลยpeter dontoom
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Robkongfire
RobkongfireRobkongfire
Robkongfirepoomarin
 
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้นpeter dontoom
 
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkroojaja
 
แนวข้อสอบวิชาความสามารถทั่วไป (ติวสอบครูผู้ช่วย สอบครูดอทคอม)
แนวข้อสอบวิชาความสามารถทั่วไป (ติวสอบครูผู้ช่วย สอบครูดอทคอม)แนวข้อสอบวิชาความสามารถทั่วไป (ติวสอบครูผู้ช่วย สอบครูดอทคอม)
แนวข้อสอบวิชาความสามารถทั่วไป (ติวสอบครูผู้ช่วย สอบครูดอทคอม)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีtechno UCH
 
โครงการการจัดงานวันครู2556
โครงการการจัดงานวันครู2556โครงการการจัดงานวันครู2556
โครงการการจัดงานวันครู2556Wes Yod
 
แบบรายงานความคืบหน้าโครงการโรงเรียนสีขาว
แบบรายงานความคืบหน้าโครงการโรงเรียนสีขาวแบบรายงานความคืบหน้าโครงการโรงเรียนสีขาว
แบบรายงานความคืบหน้าโครงการโรงเรียนสีขาวManit Wongmool
 

La actualidad más candente (20)

ใบสมัครเข้าร่วมโครงการ
ใบสมัครเข้าร่วมโครงการใบสมัครเข้าร่วมโครงการ
ใบสมัครเข้าร่วมโครงการ
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
k karan 1
k karan 1k karan 1
k karan 1
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆการเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลย
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลยข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลย
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลย
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Robkongfire
RobkongfireRobkongfire
Robkongfire
 
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
 
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
 
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
แนวข้อสอบวิชาความสามารถทั่วไป (ติวสอบครูผู้ช่วย สอบครูดอทคอม)
แนวข้อสอบวิชาความสามารถทั่วไป (ติวสอบครูผู้ช่วย สอบครูดอทคอม)แนวข้อสอบวิชาความสามารถทั่วไป (ติวสอบครูผู้ช่วย สอบครูดอทคอม)
แนวข้อสอบวิชาความสามารถทั่วไป (ติวสอบครูผู้ช่วย สอบครูดอทคอม)
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
 
โครงการการจัดงานวันครู2556
โครงการการจัดงานวันครู2556โครงการการจัดงานวันครู2556
โครงการการจัดงานวันครู2556
 
แบบรายงานความคืบหน้าโครงการโรงเรียนสีขาว
แบบรายงานความคืบหน้าโครงการโรงเรียนสีขาวแบบรายงานความคืบหน้าโครงการโรงเรียนสีขาว
แบบรายงานความคืบหน้าโครงการโรงเรียนสีขาว
 

Similar a Nopparat Hazmat Preparedness

สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...Vongsakara Angkhakhummoola
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste managementNithimar Or
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททpakpoomounhalekjit
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
 
Ep and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantanaEp and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantanaAimmary
 
Hazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physicianHazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physiciantaem
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียUtai Sukviwatsirikul
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)The Field Alliance
 

Similar a Nopparat Hazmat Preparedness (20)

สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
 
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste management
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
 
2011 drug system_report
2011 drug system_report2011 drug system_report
2011 drug system_report
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
Ep and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantanaEp and haz_mat-chantana
Ep and haz_mat-chantana
 
Hazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physicianHazmat response for Emergency physician
Hazmat response for Emergency physician
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portug...
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
Report: Pesticide Levels in Blood (Thai)
 

Más de Society of Thai Emergency Physicians

แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉินแนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉินSociety of Thai Emergency Physicians
 

Más de Society of Thai Emergency Physicians (20)

แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉินแนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
 
Ayutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage ScaleAyutthaya Triage Scale
Ayutthaya Triage Scale
 
Sawanpracharak Triage Scale
Sawanpracharak Triage ScaleSawanpracharak Triage Scale
Sawanpracharak Triage Scale
 
Principle Of Prachinburi Triage Scale(Pts)
Principle Of Prachinburi Triage Scale(Pts)Principle Of Prachinburi Triage Scale(Pts)
Principle Of Prachinburi Triage Scale(Pts)
 
Prachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage ScalePrachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage Scale
 
Medical Management Of Chemical Casualties
Medical Management Of Chemical CasualtiesMedical Management Of Chemical Casualties
Medical Management Of Chemical Casualties
 
Workplace Violence
Workplace ViolenceWorkplace Violence
Workplace Violence
 
Post Exposure Prophylaxis
Post Exposure ProphylaxisPost Exposure Prophylaxis
Post Exposure Prophylaxis
 
Tuberculosis And Airborne
Tuberculosis And AirborneTuberculosis And Airborne
Tuberculosis And Airborne
 
Management Of Violent Patient
Management Of Violent PatientManagement Of Violent Patient
Management Of Violent Patient
 
Bioterrorism Present
Bioterrorism PresentBioterrorism Present
Bioterrorism Present
 
Approach to Shock and Hemodynamics
Approach to Shock and HemodynamicsApproach to Shock and Hemodynamics
Approach to Shock and Hemodynamics
 
Shock: Emergency approach and management
Shock: Emergency approach and managementShock: Emergency approach and management
Shock: Emergency approach and management
 
Updates And Adjuncts In CPR
Updates And Adjuncts In CPRUpdates And Adjuncts In CPR
Updates And Adjuncts In CPR
 
Vascular Access And Others Essentail Procedures
Vascular Access And Others Essentail ProceduresVascular Access And Others Essentail Procedures
Vascular Access And Others Essentail Procedures
 
Severe Sepsis And Septic Shock
Severe Sepsis And Septic ShockSevere Sepsis And Septic Shock
Severe Sepsis And Septic Shock
 
Why do we need NMBAs for RSI?
Why do we need NMBAs for RSI?Why do we need NMBAs for RSI?
Why do we need NMBAs for RSI?
 
What about the "nearly arrest" patients?
What about the "nearly arrest" patients?What about the "nearly arrest" patients?
What about the "nearly arrest" patients?
 
Literature And Journal in Emergency Medicine
Literature And Journal in Emergency MedicineLiterature And Journal in Emergency Medicine
Literature And Journal in Emergency Medicine
 
Updates in ACLS 2005
Updates in ACLS 2005Updates in ACLS 2005
Updates in ACLS 2005
 

Nopparat Hazmat Preparedness

  • 1. การประเมินเตรียมพร้อมของรพ.ในการตอบโต้เหตุฉุกเฉินอุบัติภัยสารเคมี (Hospital Preparedness assessment for Toxicological Mass Casualties) น.พ. กิติพงษ์ พนมยงค์ พบ., วว. เวชปฏิบัติทั่วไป MHSCc. (OHS) QUT Australia อว. เวชศาสตร์ป้องกันแขนงอาชีวเวชศาสตร์ ศูนย์อาชีวเวชศาสตร์ และ เวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม,รพ.นพรัตนราชธานี เนื่องจากการเจริญเติบโตทางด้านอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องของประเทศไทยทาให้สถิติการใช้และนาเข้าสารเคมีและเคมีภัณฑ์ ของประเทศมีแนวโน้มสูงขึ้น1 ขณะเดียวกันสถิติการเกิดอุบัติภัยสารเคมีในช่วงหลายปีที่ผ่านมาก็เพิ่มเป็นเงาตามตั ว2 บทเรียน จากอดีตของการเกิดอุบัติภัยสารเคมี3พบว่า  ผู้ประสบภัยที่ช่วยเหลือตนเองได้มักมาถึงโรงพยาบาลก่อน  ผู้ป่วยมักมาถึงโดยขาดการประสานงาน  โรงพยาบาลที่อยู่ใกล้ที่สุดมักท่วมท้น  เวชบริการสาหรับผู้ไม่ได้กระทบโดยตรง มักเป็นปัญหาเสริม  การช่วยผู้ประสบภัยโดยผู้ที่ขาดทักษะมักก่อการบาดเจ็บเพิ่มขึ้น ทาให้มีการตื่นตัวในการบริหารจัดการของเตรียมความพร้อมเพื่อรับอุบัติภัยสารเคมี โดยเฉพาะ ด้านการรักษาพยาบาล ณ จุด เกิดเหตุ ,ห้องฉุกเฉิน, และการติดตามผลกระทบต่อสุขภาพหลังอุบัติภัย ถึงแม้ว่าในประเทศไทยยังไม่มีการจัดทามาตรฐานและ การประเมินของโรงพยาบาลในการรับอุบัติภัยสารเคมี แต่ตามข้อกฎหมายกาหนดไว้ในแผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พศ . 25484 กรณีเมื่อเกิดอุบัติภัยสารเคมีระบุบทบาทหน่วยบริการด้านการแพทย์ว่าให้เป็นทีมหนึ่งในหน่วยปฏิบัติการเฉพาะด้านมีภาระ กิจการให้บริการการแพทย์แก่ผู้ประสบภัย ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัยออกจากจุดอันตราย, การส่งต่อ และ รักษาผู้ป่วย ดังนั้นโรงพยาบาลควรเตรียมการโดยจัดทาเป็นแผนของโรงพยาบาล จัดทาหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้าไปในแผน ท้องถิ่นหรือในแผนระดับชาติให้บุคลากรของตนเองคุ้นเคยกับแผนเหล่านี้และรู้ว่าจะทาอย่างไรเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้น และจะทา อย่างไรเมื่อมีเหตุการณ์ที่เกินความสามารถของโรงพยาบาลเอง ,การฝึกอบรม และการฝึกซ้อม เครื่องมือและเวชภัณฑ์ที่ ต้องการ อนึ่ง การจัดระบบบริการอาจมีความแตกต่างกันตามสภาพ และข้อจากัด ของแต่ละจังหวัด ในบทความนี้จะพูดถึง เฉพาะหลักการเตรียมความพร้อมเพื่อดูแลผู้ประสบภัยจากสารเคมี ของโรงพยาบาลเท่านั้นซึ่งโดยทั่วไปเราอาจแบ่งได้คร่าวๆ ดังต่อไปนี้4-7 การปฏิบัติของโรงพยาบาลเมื่อได้รับแจ้งเหตุแผนการจัดการผู้ป่วย การหาข้อมูลของสารเคมีและชุดป้องกันสารเคมี การปฏิบัติการของหน่วยรักษาพยาบาล ณ ที่เกิดเหตุ การปฐมพยาบาล, คัดกรองผู้ป่วย และการลดการปนเปื้อนสารเคมี การปฏิบัติการของหน่วยรักษาพยาบาล ขณะนาส่ง การปฏิบัติการของหน่วยรักษาพยาบาล ณ โรงพยาบาล อุปกรณ์ที่จาเป็นต้องนามาใช้ได้ทันที การปฏิบัติของโรงพยาบาลเมื่อได้รับแจ้งเหตุ ยืนยันการเกิดเหตุ
  • 2. แจ้งหน่วยเวชบริการฉุกเฉินให้จัด เตรียมบริเวณที่ล้างพิษ แจ้งให้หน่วยบริการที่ เกี่ยวข้องทุกหน่วยทราบ ซักซ้อมชุดปฏิบัติการ ล้างพิษ ระลึกเสมอว่าผู้ป่วยทุกรายได้รับพิษจนกว่าจะพิสูจน์ได้ โดยหัวใจสาคัญอยู่ที่ข้อมูลต่างๆดังต่อไปนี้ กรณีไม่ทราบข้อมูลต้องอนุมานว่าเป็นสารเคมีที่เป็นพิษมากที่สุด ชนิดและลักษณะของอุบัติภัยเช่น การระเบิด, การรั่วของก๊าซ, หรืออุบัติเหตุขณะขนส่ง หมายเลขโทรศัพท์ของผู้แจ้งเหตุ จานวน,อาการของผู้ป่วยและลักษณะการบาดเจ็บร่วมอื่นๆเช่นไฟ,ระเบิด,การบาดเจ็บทางกายภาพ การทาลายล้างพิษภาคสนามและเวลาที่คาดว่าผู้ป่วยจะมาถึงเพื่อการเตรียมพร้อมของรพ. ข้อมูลชื่อของสารเคมีที่เกี่ยวข้อง(ถ้าเป็นไปได้)ซึ่งบอกถึงความเป็นพิษและเป็นประโยชน์ต่อการรักษา การระบุชนิดของสารเคมีที่เป็นไปได้ ซึ่งสามารถหาได้จากรูปสัญญลักษณ์ประเภทสินค้าอันตราย (Label) หรือ Placards ( รูปที1), เอกสารการขนส่ง(Transportation ่ sheet),และฐานข้อมูล เป็นต้น ( รูปที่1)ตัวอย่างรูปสัญญลักษณ์และระบบข้อมูลแสดงประเภทสินค้าอันตราย8 ฐานข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี อาจแบ่งคร่าวๆได้เป็น 2 ประเภทคือ ข้อมูลที่ On line
  • 3. ตย.แหล่งข้อมูลที่ On line ลักษณะและข้อจากัดของข้อมูลที่มีอยู่ www.anamai.moph.go.th (กรมอนามัย) ข้อมูลภาษาไทยของสารเคมี 100 ชนิด, เป็นข้อมูลตาย http://chemtrack.or.th (จุฬาฯ) มีข้อมูลสารเคมีจานวนมาก, มีการแปล MSDS และ Safety Guide เป็นไทย, เข้าถึงข้อมูลได้ด, มีการพัฒนาต่อเนื่อง ี www.diw.go.th (กรมโรงงานอุตสาหกรรม) ข้อมูลเกี่ยวกับสถานประกอบการเข้าได้บ้างไม่ได้บ้างแสดงการ ใช้,การนาเข้า,การเก็บสารเคมีรายจังหวัด www.pcd.go.th (กรมควบคุมมลพิษ) เข้าได้บ้าง ข้อมูลภาษาอังกฤษ 600 รายการ, ข้อมูลทั่วไป สาหรับการปฐมพยาบาลและการล้างพิษ www.toxnet.nlm.nih.gov (Toxnet) ฐานข้อมูลที่เกี่ยวกับการรักษาพิษสาหรับบุคลากรทางการแพทย์ ข้อมูลที่ Off line ตย.แหล่งข้อมูลที่ Off line ลักษณะและข้อจากัดของข้อมูลที่มีอยู่  CAMEO Knowledge Base เกี่ยวกับสารเคมีต่างๆ เช่นคุณสมบัติทาง  ILO Encyclopedia ฟิสิกส์ ระดับการเกิดอันตราย การปฐมพยาบาล การป้องกัน อันตราย  CAMEO, CAMEOfm Database เกี่ยวกับสถานประกอบการ และสารเคมีที่เกี่ยวข้อง  CAMEOThai (Next year release) ปัญหาของข้อมูลระบบ Online การเข้าถึงข้อมูลยังมีอุปสรรค เช่นหลายครั้งไม่สามารถ Login เข้าสู่ Website นั้นได้ หรือเข้าถึงได้ แต่การเชื่อมต่อและ การแสดงผลข้อมูลช้าเกินไป บาง Website ต้องใช้ Password เวลามีเหตุฉุกเฉินอาจจาไม่ได้ และยุ่งยาก ถ้าออกไปปฏิบัติงาน ณ สถานที่เกิดอุบัติภัยจากเคมีวัตถุ ก็จะเชื่อมต่อและเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้ยาก ปัญหาของข้อมูลระบบ Off line มีความยุ่งยากในการบันทึกข้อมูล เช่น มี User Interface ที่เข้าใจยาก และเพิ่มเติมไม่ได้
  • 4. ใช้ภาษาไทยไม่ได้ ขาดความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ ชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมี (Chemical Protective Clothing) ชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมี(Chemical Protective Clothing)เป็นชุดที่ถูกออกแบบมาเพื่อใส่ป้องกันไม่ให้ส่วนต่างๆของร่างกายมี การสัมผัสต่อสารเคมีอันตราย เป็นสิ่งกีดขวางระหว่างร่างกายและสารเคมีซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อผิวหนังหรือซึมผ่านผิงหนังแล้วทา ให้เกิดผลกระทบต่ออวัยวะอื่นๆ มีหลายระดับสาหรับการป้องกันภัยระดับต่างๆกัน การเลือกใช้อย่างเหมาะสมร่วมกับอุปกรณ์ ปกป้องระบบหายใจจะสามารถป้องกันบุคลากรที่ต้องปฏิบัติงานในสิ่งแวดล้อมที่มีสารเคมีอันตรายได้ แต่ไม่ได้ป้องกันอันตรายทาง กายภาพ เช่น ไฟ รังสี ไฟฟ้า การใช้อุปกรณ์ปกป้องส่วนบุคคล จะต้องพิจารณาให้ครบทั้งชุด ปกป้องศีรษะโดยใช้หมวกนิรภัย ปกป้องตาโดยใช้แว่นนิรภัยซึ่งเลนส์ ทาด้วยวัสดุที่สามารถทนแรงกระแทกได้ หรือที่ครอบตา (Goggles) ปกป้องหูด้วยที่อุดหู และ ปกป้องเท้าด้วยรองเท้านิรภัยซึ่งกันสารเคมีได้ เป็นต้น โดย EPA (Environment Protection Agency) หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมของ สหรัฐอเมริกาได้มีการจาแนกตามความต้องการที่จะใช้ป้องกันสารเคมีในแต่ละสถานการณ์มี 4 ชนิดคือ Level A Protection ให้การป้องกันในระดับสูงสุด ทั้งด้านการหายใจ การสัมผัส กับ ผิวหนัง ดวงตา และ ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ป้องกันสารเคมีทั้งใน รูป ของแข็ง ของเหลว และ ก๊าซ สามารถเข้าเขต Hot Zoneได้ ชุดประกอบด้วย Level A Protection ถังอากาศที่มีความดันมากกว่าความดันบรรยากาศ ชุดทนสารเคมีแบบคลุมทั้งตัวไร้รอยต่อ ถุงมือและรองเท้าบู้ทที่ทนต่อสารเคมี ข้อบ่งใช้  ไม่ทราบว่าสารเคมีนั้นคืออะไร  ทราบว่าสารเคมีนั้นสามารถดูดซึมทางผิวหนังได้  ทราบว่าสารเคมีนั้นเป็นอันตรายเมื่อสัมผัสผิวหนังในรูปไอหรือของเหลว  ปฏิบัติงานในบริเวณที่อับ และ ไม่มีการระบายอากาศ (confined space)
  • 5. Level B Protection ใช้ป้องกันระบบทางเดินหายใจในระดับสูงสุดแต่ระดับการป้องกันจะรองลงมาสาหรับผิวหนังและดวงตาโดย มากจะใช้ป้องกัน ของเหลวหรือวัตถุกระเด็น เป็นชุดที่หุ้มทั้งตัวแต่ไม่หมด ไอระเหยและฝุ่นสามารถเข้าตามรอยต่อบริเวณคอ ข้อมือได้ Level B Protection ชุดประกอบด้วย ถังอากาศที่มีความดันมากกว่าความดันบรรยากาศ ชุดทนสารเคมีคลุมยาวตลอดแขนขา ถุงมือและรองเท้าบู้ทที่ทนต่อสารเคมี ข้อบ่ง ทราบว่าสารเคมีนั้นเป็นอันตรายเมื่อสัมผัสผิวหนังในรูปของเหลว (ไม่ป้องกันการสัมผัสไอหรือแก๊สที่ผิวหนัง) ทราบว่าสารเคมีนั้นเป็นไอหรือแก๊สที่เป็นพิษทางการหายใจ ปฏิบัติงานในบริเวณที่ที่มี ออกซิเจนน้อย Level C Protection ใช้เมื่อรู้ว่าสารเคมีเป็นอันตรายต่อทางเดินหายใจ มีการวัดความเข้มข้นของสารเคมี และมีข้อบ่งชี้ในการใช้ air-purifying respirators อันตรายจากการสัมผัสทางผิวหนังค่อนข้างน้อย และตลอดการปฏิบัติงานภายใต้ชุดดังกล่าวจะต้องมีการตรวจสภาพอากาศเป็นระยะ ชุดประกอบด้วย Level C Protection
  • 6. เครื่องช่วยหายใจชนิดที่มีไส้กรองอากาศ ชุดทนสารเคมีแบบคลุมทั้งตัวไร้รอยต่อ ถุงมือและรองเท้าบู้ทที่ทนต่อสารเคมี ข้อบ่งใช้ ทราบว่าสารเคมีนั้นคืออะไรและป้องกันได้ด้วย air purifying respiratory protective device (ทราบ ชนิดและทราบว่าความเข้มข้นน้อยกว่า 1000 ppm) ทราบว่าสารเคมีนั้นเป็นอันตรายเมื่อรับสัมผัสทางการหายใจ ปฏิบัติงานในบริเวณที่มีออกซิเจนพอเพียง Level D Protection คือชุดใส่ทางานทั่วไป ใช้กรณีดูแลหลังจากได้รับการ decontamination และ ควบคุมสถานการณ์แล้ว ไม่ควรใส่ในที่ซึ่งมีสิ่ง คุกคามต่อผิวหนังหรือทางเดินหายใจ Level D Protection การปฏิบัติการของหน่วยรักษาพยาบาล ณ ที่เกิดเหตุ เมื่อทีมเวชบริการฉุกเฉินที่พร้อมจะให้การช่วยเหลือไปถึงจุดเกิดเหตุ ให้เข้ารายงานตัวกับผู้บัญชาการเหตุการณ์ และ ประสานทีม กู้ภัย( HAZ.MAT team ) รับทราบแผนการปฏิบัติและการกาหนดพื้นที่แบ่ง พท.ระดับความปลอดภัยต่อสารเคมี (Control Zone) (รูป ที่2)และ จุดคัดแยกผู้บาดเจ็บ ซึ่งระยะปลอดภัยจะถูกกาหนดโดยหน่วยงานผู้เชี่ยวชาญ เช่น กรมควบคุมมลพิษ หรือจากฐานข้อมูล อิเล็คทรอนิคเช่น ASTDR , CHEMTREC
  • 7. (รูปที2) การจัดแบ่งบริเวณของความปลอดภัยต่อสารเคมี (Isolate Area Establish Zones) แบ่ง พท.เป็น 3 ระดับได้แก่ Hot Zone, ่ Warm Zone, Cold Zone สาหรับรถพยาบาล ให้นารถไปจอดในที่จุดปลอดภัย ซึ่งมักเป็นที่สูง , อยู่เหนือลม ต้นน้า เพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสสารเคมี และหันหัวรถพยาบาลออก เพื่อที่จะสามารถเคลื่อนย้ายได้ทันทีที่เกิดเหตุแทรกซ้อนห้ามผ่านเข้าไปในบริเวณเขตชาระ ล้างสารเคมี (Warm Zone) ก่อนการปฏิบัติการด้านรักษาพยาบาลให้ทีมเวชบริการฉุกเฉินมีการสวมใส่ชุดและอุปกรณ์ป้องกันภัยสารเคมีให้ เหมาะสมกับชนิดสารเคมี (อย่างน้อยระดับ C) และให้เรียบร้อยก่อนลงจากรถพยาบาล แต่ถ้าจะเข้าปฏิบัติการในเขตชาระ ล้างสารเคมี (Warm Zone) หรือเขต ( Hot Zone) จะต้องคานึงการเพิ่มระดับของชุดป้องกันสารเคมี แพทย์ที่ถึงที่เกิดเหตุคนแรกจะเป็น ผู้บัญชาการส่วนเวชบริการฉุกเฉิน จนกว่าจะมีผู้ที่มีระดับสูงกว่าในสายการบังคับ บัญชาเข้ารับช่วงต่อ เมื่อมีการรับตัวผู้ประสบภัยจาก HAZMAT ทีมย้ายมายังจุดปลอดภัย (Cold Zone) จะเป็นจุดที่เริ่มให้การรักษาพยาบาล ก่อนการส่งต่อผู้ประสบภัยไปยังโรงพยาบาล การให้การปฐมพยาบาล , การประเมินสภาพ และ การลดการปนเปื้อนสารเคมี (First Aids, Patient Assessment and Decontamination) ทีมเวชบริการฉุกเฉินจะมีการประเมินและแบ่งกลุ่มผู้ประสบภัยตามความเร่งด่วนที่จะให้การรักษา โดยพิจารณาจาก ทางเดินหายใจ, การหายใจ, การเต้นของชีพจร ซึ่งสามารถแบ่งเป็นการดูแลรักษาอย่างฉุกเฉินและประคับประคอง เช่นการช่วยเหลือในด้านระบบ หายใจ, การให้สารน้า, การลดการเจ็บปวด,ปลอบขวัญ , ให้กาลังใจ , ลดการเคลื่อนไหวที่ไม่จาเป็น และการดูแลรักษาอย่างจาเพาะ เช่นการให้ยาต้านพิษ ( Antidote ) การลดการปนเปื้อน หรือการล้างพิษ ( Decontamination Procedure) การล้างพิษ ( Decontamination Procedure)
  • 8. คือกระบวนการการขจัด หรือทาลายสภาพพิษของวัตถุอันตรายซึ่งติดอยู่บนบุคคลและ/หรืออุปกรณ์ ในการเกิดอุบัติภัยจากวัตถุ อันตรายซึ่งมีจุดประสงค์หลักเพื่อ 1. ลดการบาดเจ็บ ,ลดการดูดซึมของวัตถุอันตรายที่จะเข้าสู่ร่างกาย 2. ลดการแพร่กระจายสู่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม 3. ลดการปนเปื้อนของเจ้าหน้าที่ (responder) ระบบการล้างพิษ ( mass casualty decontamination systems)  ระบบการล้างพิษหมู่ แบบระบบคู่ คือ มีระบบหนึ่งสาหรับ ambulatory victims และอีกระบบหนึ่งสาหรับ non- ambulatory victims  ระบบการล้างพิษหมู่ แบบระบบเดี่ยว คือ ล้างทั้ง ambulatory และ non-ambulatory victims ในระบบเดียวกัน ระบบการล้างพิษหมู่ แบบระบบคู่ ระบบการล้างพิษหมู่ แบบระบบเดี่ยว วิธีการล้างพิษ • ใช้มือควัก-ปาดออก, ตัดเสื้อผ้าออก(Dry Decontamination) • ล้างตา/แผล เป็นลาดับแรก • ล้างจากบนลงล่าง หัวจรดเท้า • ผู้ป่วยที่มีประวัติการรับสัมผัสสารเคมีทางตาควรได้รับการปฐมพยาบาลโดยการล้างตาด้วย normal saline หรือ น้าสะอาด ข้างละอย่างน้อย 10-15นาที ควรได้รับการตรวจด้วย pH paper จน pH เป็นกลาง • ล้างตัวด้วยน้าสะอาดที่ไหลอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 5 นาที • ถ้าสารปนเปื้อนมีลักษณะเหนียวหรือเป็นน้ามันใช้สบู่และแปรงอ่อนช่วย • ถ้าสารปนเปื้อนมีลักษณะเป็นด่างใช้สบู่และแปรงอ่อนช่วยและล้างด้วยน้าสะอาดที่ไหลอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 15 นาที
  • 9. (รูปที๓)วิธีการล้างพิษ ่ การจาหน่ายผู้ป่วยจาก Support Zone or Cold Zone ผู้ป่วยที่ไม่มีการรับสัมผัสและไม่มีอาการผิดปกติสามารถถูกจาหน่ายได้ การปฏิบัติการของหน่วยรักษาพยาบาล ขณะนาส่งการ เคลื่อนย้ายผู้ประสบภัยจากจุดเกิดเหตุไปยังโรงพยาบาล สิ่งที่ทีมช่วยเหลือพึงระลึกเสมอเมื่อจะมีการการเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัยจาก จุดเกิดเหตุไปยังโรงพยาบาลคือ • ผู้บาดเจ็บต้องสะอาดก่อนขึ้นรถ (ACAP: as clean as possible) • ลดการเคลื่อนไหว,ปลอบขวัญ,ให้กาลังใจ • ห่อและคลุมผู้บาดเจ็บด้วยผ้าพลาสติก • ก่อนล้อหมุน ตรวจสอบและกรอกข้อมูลในใบ refer ให้ครบถ้วน • ปิดแอร์,เปิดหน้าต่าง • ติดต่อโรงพยาบาลที่รับrefer ตาม radio report checklist • ประเมินและดูแลเรื่องABCs และล้างตาต่อ(ถ้าจาเป็น) • Appropriate treatment,antidote,O2,etc. การปฏิบัติการของหน่วยรักษาพยาบาลเมื่อถึงโรงพยาบาล • เข้าสู่โรงพยาบาลตามทิศทางที่กาหนด ,จอดรถในจุดที่จะทา Secondary decontamination • ทีม EMS, ผู้บาดเจ็บ,รถAmbulance ถือว่าเป็นสิ่งที่เปื้อนวัตถุอันตราย ดังนั้น ต้องผ่านการdecontaminationในจุดที่ โรงพยาบาลกาหนด สถานที่ล้างพิษที่อยู่ในที่เปิดโล่งจะเป็นสถานที่ดีที่สุด • ถุงขยะ,ถุงใส่สิ่งที่ผู้บาดเจ็บอาเจียนออกมา, Disposable material ต้องใส่ถุงและปิดผนึกอีกครั้งก่อนส่งไปทาลาย • ER ต้องแบ่งเป็น 2 ทีม คือ ทีมใน ER(เขตสะอาด)และทีมนอก ER ซึ่งจะปฏิบัติงานที่ Triage area และ Secondary decontamination area
  • 10. เมื่อมีผู้ป่วยมาแพทย์หรือพยาบาลห้องฉุกเฉินจะต้องไปที่รถพยาบาลเพื่อประเมินสภาพและการปนเปื้อนของผู้ป่วย • ผู้บันทึกจะเขียนรูปบริเวณร่างกายของผู้ป่วยที่แพทย์บอกว่ามีการปนเปื้อน จะต้องนึกเสมอว่าการปนเปื้อนอาจจะเป็น สาเหตุให้ถึงแก่ชีวิตได้ • เริ่มการคัดกรอง ( triage) ผู้ป่วยตั้งแต่ตรงนี้ ระหว่างการประเมินผู้ป่วยนี้ การลดการ ปนเปื้อนอาจทาได้พร้อมกันโดย การถอดเสื้อผ้าที่สงสัยว่าจะปนเปื้อนออกให้หมด รวมทั้งเครื่องประดับ นาฬิกา เช็ดหรือถูสิ่งที่มองเห็นว่าปนเปื้อน ควร ระวังไม่ให้บาดแผลของผู้ป่วยปนเปื้อน บุคลากรเองควรระวังไม่ให้มีการสัมผัสสารพิษด้วย (ในทางทฤษฏีนั้นการล้างพิษ ควรทาก่อนที่จะมีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย แต่ในความเป็นจริงการ ล้างพิษบริเวณจุดเกิดเหตุจะมีข้อจากัด บุคลากรห้อง ฉุกเฉินควรถือว่าผู้ป่วยทุกรายจาเป็นต้องทา การล้างพิษ จนกว่าจะได้ข้อมูลว่าไม่จาเป็น (เช่นในกรณี สัมผัส carbon monoxide) • ถ้าไม่ได้ถอดเสื้อผ้าผู้ป่วยออกในเหตุการณ์ ควรถอดออกก่อนเข้าในห้องฉุกเฉิน ซึ่งจะเป็นการลดการสัมผัสให้กับผู้ป่วย และเป็นการลดการปนเปื้อนให้ห้องฉุกเฉิน • เสื้อผ้าที่ปนเปื้อนจะต้องเก็บไว้ในถุงพลาสติกสองชั้น ผนึก และ เขียนบอกไว้ ทีมล้างพิษจะต้องนาเปลนอนมายัง รถพยาบาล นาส่งผู้ป่วย และนาผู้ป่วยไปยัง บริเวณ ล้างพิษตามแผนที่วางไว้ • ต้องให้ความสาคัญในการรักษาภาวะเร่งด่วนซึ่งได้แก่ ทางเดินหายใจ การหายใจ และ ระบบไหลเวียนเลือด พร้อมไปกับ การลดการปนเปื้อน เมื่อมีเหตุการณ์ฉุกเฉิน บุคลากรของห้องฉุกเฉินจะมุ่งไปที่การล้างพิษ และการช่วยเหลือผู้ป่วย การ ค้นหาพิษของสารเคมีและวิธีรักษาจะเป็นหน้าที่ของบุคลากรอื่น อย่างไรก็ดีการใช้เครื่องป้องกันตนเองจะต้องใช้ให้ถูก และไม่ถอดออกจนกว่าจะปลอดภัย อุปกรณ์ที่จาเป็นที่ EMS Team ควรมี  กล้องส่องทางไกล  แผนบรรเทาภัยจากวัตถุอันตราย,flowchart, checklist  แผนที่,หมายเลขโทรศัพท์,คลื่นวิทยุและนามเรียกขาน  Chemical Protective Clothing at least level C, face mask respirator with cartridge  สัญญลักษณ์แสดงตาแหน่ง เช่น Medical doctor, Nurse or EMT  คู่มือการระงับอุบัติภัย,MSDS,สอ.1  ครุภัณฑ์และเวชภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง antidote,O2,etc, อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการล้างพิษ สรุป สถานพยาบาลต้องขยายแผนฉุกเฉินและขอบเขตเวชบริการให้ครอบคลุมการดูแลอุบัติภัยสารเคมี เตรียม ชุดป้องกันสารเคมี, ยาต้านพิษ ให้เพียงพอ และมีกาหนดการซ้อมชัดเจน และทาอย่างจริงจัง เตรียมพร้อมกระบวนการวางแผนรับอุบัติภัยสารเคมีการเตรียมรับผู้ป่วย ณ จุดเกิดเหตุและห้องฉุกเฉิน พยายามจากัดการแพร่กระจายของวัตถุอันตรายโดยการล้างพิษ (Decontamination) Supportive and Symptomatic treatment คือ สิ่งสาคัญ เนื่องจากวัตถุอันตรายที่มี Antidote มีน้อยมากและ Antidote คือวัตถุ อันตราย ถ้าใช้อย่างไม่ถูกต้อง
  • 11. เอกสารอ้างอิง 1. National coordination Subcommittee on Policy and plan for Chemical Safety And Thailand Chemicals Management Profile Working Group. Chemical Production, import, export and use. In: Food and Drug Administration of the Royal Thai Government. Thailand Chemicals Management Profile 2005 (Draft). Bangkok, 2005: 2/1-2/11 2. สานักงานควบคุมวัตถุอันตราย, กรมโรงงานอุตสาหกรรม, กระทรวงอุตสาหกรรม. สถิติอุบัติภัยจากสารเคมีระหว่างปี พ.ศ.2527 - พ.ศ.2543(ในประเทศไทย). Available from: URL: http://www2.diw.go.th/haz/hazard/Libary/chem_ac.htm 3. Schwartz RB. . Hospital Preparedness for Mass Casualty Disasters. Department of Emergency Medicine, Institute of Disaster Medicine, Medical College of Georgia, 2005 4. Treat K.N. Hospital preparedness for weapons of mass destruction incidents: An initial assessment. Annals of Emergency Medicine Nov. 2001 5. The HEICS plan. Available at: http://www.emsa.cahwnet.gov/dms2/download.htm. Accessed 2005 Feb 28. 6. Kirk MA, Cisek J, Rose SR. 1994. Emergency department response to hazardous materials incidents. Emerg Med Clin North Am 12: 461-481. 7. Okumura S. , Okumura T. ,Ishimatsu S. , Miura K. , Maekawa H. and Naito T. Clinical review: Tokyo – protecting the health care worker during a chemical mass casualty event: an important issue of continuing relevance. Critical Care 2005, 9:397-400 8. Burgess JL, Blackmon GM, Brodkin CA, Robertson WO. Hospital preparedness for hazardous materials incidents and treatment of contaminated patients. West J Med 1997; 167:387-391 9. Wetter DC., Daniell WE., and CD.Treser. Hospital Preparedness for Victims of Chemical or Biological Terrorism. American Journal of Public Health; May 2001, Vol. 91, No. 5:710-716 10. Okumura T, Suzuki K, Fukuda A, et al. The Tokyo subway sarin attack:disaster management, part 1: community emergency response. Acad Emerg Med. 1998;5:613–617. 11. Okumura T, Suzuki K, Fukuda A, et al. The Tokyo subway sarin attack: disaster management, part 2: hospital response. Acad Emerg Med. 1998;5:618–624. 12. Keim ME, Pesik N, Twum-Danso NAY: Lack of hospital preparedness for chemical terrorism in a major US city: 1996–2000. Prehosp Disast Med 2003;18(3):193–199 13. American Hospital Association: Disaster readiness, 2005. Available at http://www.hospitalconnect.com/aha/key_issues/disaster_readiness/readiness. Accessed 15th June 2007. 14. Okumura T,Ninomiya N,Ohta M: The chemical disaster response system in Japan. Prehosp Disast Med 2003;18(3):189–192. 15. Lieut. Col. (ret) Adini B., Col. (res) Goldberg A., Col. (res) Laor D., Cohen R., Zadok R., Col. Bar- Dayan Y: Assessing Levels of Hospital Emergency Preparedness. Prehosp Disast Med 2006;21(6):452–457. 16. วันทนี พันธุ์ประสิทธิ์. การตอบโต้เหตุฉุกเฉินสารเคมี.กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2545 17. The Pennsylvania Department of Health, and the Federal Health Resources and Services Administration (HRSA) : Hospital Emergency Preparedness Needs Assessment, Regional Findings of a Statewide Survey: NORTHEAST REGION February 3, 2003 (revised)
  • 12. 18. Agency for Toxic Substance and Disease Registry (ATSDR) Medical Management Guidelines for Acute chemical exposure. http://www.atsdr.cdc.gov/mmg.html. Assessed 10th July 2007 19. อดุลย์ บัณฑุกุล. การเตรียมตัวสาหรับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลในการรับมือการก่อการร้ายด้วยสารเคมีและอาวุธชีวภาพ. กรุงเทพมหานคร.วารสารโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี, 2548:57-67 20. สานักงานเลขาธิการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน, กรมป้องกันบรรเทาสาธารณภัย, กระทรวงมหาดไทย. แผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน แห่งชาติ พศ. 2548 ภาคการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. พิมพ์ครั้งที่1.กรุงเทพ:โรงพิมพ์ชวนพิมพ์, 2548:126-142. 21. Occupational Safety & Health Administration. OSHA BEST PRACTICES for HOSPITAL- BASED FIRST RECEIVERS OF VICTIMS from Mass Casualty Incidents Involving the Release of Hazardous Substances. Available from: URL: http://www.osha.gov/Publications/osha3249.pdf 22. Chomchai S. Emergency department preparedness for hazardous material incidents. Lecture In: short course in Occupational Medicine. 2548 23. อดุลย์ บัณฑุกุล. เกณฑ์รับอุบัติภัยสารเคมี . กรุงเทพมหานคร: กลุ่มศูนย์การแพทย์เฉพาะทางด้านอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์ สิ่งแวดล้อม โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี, 2549: 1-36 24. กิติพงษ์ พนมยงค์.การเตรียมพร้อมของรพ.ในการตอบโต้เหตุฉุกเฉินอุบัติภัยสารเคมี . ใน: การประชุมวิชาการโรงพยาบาล นพรัตนราชธานี ครั้งที9. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ราชทัณฑ์, 2548: 23-30 ่ 25. สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ. อุบัติเหตจากสารอันตราย. สมุทรปราการ, 2546: 1-16 26. Chan JTS., Yeung RSD., Tang SYH.. Hospital preparedness for chemical and biological incidents in Hong Kong. Hong Kong Med J 2002;Vol 8 No 6: 440-446 27. The Hospital and Healthcare System Disaster Interest Group and The California Emergency Medical Services Authority. Patient decontamination recommendations for hospitals. July 2005 28. McLaughlin SB. The Case for Decontamination Facilities in Healthcare Facilities. Chicago, IL: American Society for Healthcare Engineering, American Healthcare Facility Association; 2002;Management monograph 055976.