SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 44
Descargar para leer sin conexión
ช่วงแจกคะแนนก่อนเรียน !!!
แมกม่าอยู่ที่ชั้นใดในโครงสร้างโลก และชั้นนั้นมีสถานะเป็นอะไร
สาเหตุใดที่ทาให้แผ่นธรณีภาคมีการเคลื่อนตัว
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี มีทั้งหมดกี่แบบ อะไรบ้าง
ถ้าแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป ชนกับแผ่นธรณีมหาสมุทร จะเกิดสัณฐานทางธรณีแบบใด ยกตัวอย่าง
แนวภูเขาไฟรูปโค้ง กับหมูเกาะภูเขาไฟรูปโค้ง ต่างกันอย่างไร
ธรณีพิบัติภัย
ธรณีพิบัติภัย หมายถึง ภัยธรรมชาติที่เกิดจากกระบวนการทางธรณีวิทยา เช่น แผ่นดินไหว สึนามิ หลุมยุบ ดิน
ถล่ม หิมะถล่ม ภูเขาไฟระเบิด เป็นต้น ถือเป็นภัยธรรมชาติที่เกิดจากกระบวนการทางธรณีวิทยาที่เกิดขึ้นโดย
ฉับพลันและรุนแรง ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บ้านเรือน ชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่เกิด
เหตุ
ข่าวล่าสุด !!!
https://news.mthai.com/world-news/789108.html
ภูเขาไฟตาอัล (Taal) ที่ตั้งอยู่กลางทะเลสาบ ห่างจากทางใต้ของ
กรุงมะนิลาไปประมาณ 70 กม. เป็นเหตุทาให้กลุ่มควันขนาด
มหึมาลอยขึ้นฟ้ากว่า 15 กม.
การระเบิดของภูเขาไฟลูกนี้ เกิดขึ้นหลังจากมีแผ่นดินไหว ขนาด
5.0 ลึก 10 กม. ศูนย์กลางเมือง มินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์
เมื่อเวลาประมาณ 17.30 น. ตามเวลาท้องถิ่น ของวันที่ 12 ม.ค.
2560 ที่ผ่านมา
ตรวจสอบความเข้าใจ
หนังสือเรียน หน้า 78
กิจกรรมที่ 7.1 ความสัมพันธ์ของตาแหน่งการเกิดภูเขาไฟบนแผ่นธรณี
การเกิดภูเขาไฟ
แนวการเกิดภูเขาไฟ
แนวการเกิดภูเขาไฟที่สาคัญมีอยู่ 4 แนว
1. แนวรอบมหาสมุทรแปซิฟิกหรือวงแหวนแห่งไฟ
2. แนวเทือกเขาแอลป์-หิมาลัย
3. แนวเทือกเขาแอฟริกาตะวันออกหรือเทือกเขาคิลิมันจาโร
4. แนวมหาสมุทรแอตแลนติก
แนวการเกิดภูเขาไฟ
แนวเทือกเขาแอลป์-หิมาลัย
แนวเทือกเขาแอฟริกาตะวันออก
หรือเทือกเขาคิลิมันจาโร
แนวมหาสมุทรแอตแลนติก
แนวรอบมหาสมุทร
แปซิฟิกหรือวงแหวน
แห่งไฟ
กิจกรรมตามหาภูเขาไฟ
• ใช้โปรแกรม GOOGLE GART ในการตามหาภูเขาไฟโดยห้ามซ้ากัน
แคปรูปพร้อมบอกชื่อนักเรียนใต้โพสครู เพื่อนาไปทาการศึกษาเกี่ยวกับ
ขนาด รูปร่าง รูปแบบ การประทุ โดยทาเป็นแผนผัง
INFOGRAPHIC ตัวอย่างเช่น
โครงสร้างของภูเขาไฟ
การระเบิดของภูเขาไฟ
 เกิดจากการปะทุของแมกมา (magma) แก๊ส และเถ้าจากใต้เปลือกโลก
 ก่อนการระเบิดมักมีสัญญาณบอกเหตุให้รู้ล่วงหน้า เช่น แผ่นดินในบริเวณ
รอบๆ ภูเขาไฟเกิดการสั่นสะเทือน มีเสียงคล้ายฟ้าร้องติดต่อกันเป็นเวลานาน
 เมื่อเกิดการระเบิด ลาวา เศษหิน ฝุ่นละออง เถ้าถ่านภูเขาไฟจะถูกพ่นออกมา
ทางปล่องภูเขาไฟ และออกมาทางช่องด้านข้างของภูเขาไฟ และจากแนวรอยแยก
ของภูเขาไฟ
 เมื่อแมกมาขึ้นมาสู่พื้นผิวโลก เรียกว่า ลาวา (lava)
การระเบิดของภูเขาไฟ
 สิ่งที่แตกต่างระหว่างลาวาและแมก
มาอีกอย่าง คือ แมกมาที่อยู่ใต้เปลือก
โลกจะมีความดันสูงมากเมื่อเทียบกับ
ลาวา
 ส่วนประกอบที่สาคัญที่มีผลต่อ
ความหนืดของแมกมา คือ ซิลิกา
(SiO2)
****ลาวาที่ออกมาสู่พื้นผิวโลกจะมีอุณหภูมิสูงในช่วง 700 – 1,250 องศาเซลเซียส ไหลตามความลาดเอียงของพื้นที่ ส่วนแก๊สที่ออกมาด้วยจะลอยออกไปในอากาศ ความ
รุนแรงของการระเบิดของภูเขาไฟส่วนมากเป็นผลมาจากความหนืดของแมกมา แมกมาที่เคลื่อนที่สู่ผิวโลก จะมีส่วนประกอบทางเคมีที่แตกต่างกัน
การระเบิดของภูเขาไฟ
 เมื่อมีภูเขาไฟระเบิดขึ้นสิ่งที่ถูกดันผ่านชั้นเปลือกโลกออกมาก็จะมีทั้ง
สถานะของแข็ง ของเหลว และก๊าซ
 ลาวาที่มีความหนืดน้อย แก๊สจะเคลื่อนที่ได้ง่าย และเมื่อลาวาเคลื่อนที่สู่
ผิวโลกจะเกิดการประทุหรือระเบิดไม่รุนแรง (ลาวาเบส)
 ลาวาที่มีความหนืดมาก แก๊สจะเคลื่อนที่ออกมาได้ยาก
ทาให้ความดันของลาวาสะสมเพิ่มขึ้น เมื่อเคลื่อนที่สู่ผิวโลกจะทาให้เกิด
การระเบิดอย่างรุนแรง (ลาวากรด)
การระเบิดของภูเขาไฟ
การระเบิดของภูเขาไฟ
 ของแข็ง จะพบในลักษณะของลาวา
หลาก (lava flow) ที่จะไหลแผ่ไปเป็น
รัศมีหลายร้อยกิโลเมตร มีขนาดตั้งแต่
เป็นผงฝุ่นขนาดเล็กหรือมีขนาดใหญ่
หนักหลายตันเมื่ออุณหภูมิลดลงก็จะ
กลายเป็นหินที่เรียกว่า ตะกอนภูเขาไฟ
(pyroclastic) ส่วนที่ปลิวว่อนไปใน
อากาศเมื่อเย็นตัวลงจะเรียก เถ้าธุลี
ภูเขาไฟ (volcanic ash)
การระเบิดของภูเขาไฟ
 ของเหลว ลาวาเป็นของเหลวที่พุ่งผ่านปล่อง
ภูเขาไฟขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศลาวาจะมีลักษณะที่
แตกต่างกันในการระเบิดแต่ละครั้ง
 ก๊าซ ที่เกิดจากภูเขาไฟระเบิดจะประกอบด้วย
ไอน้าร้อยละ 50 - 80 โดยปริมาตรนอกจากนั้น
ประกอบด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน
แก๊สในกลุ่มกามะถัน
การระเบิดของภูเขาไฟ
https://www.youtube.com/watch?v=V6a2oPWhf5E
https://www.youtube.com/watch?v=UqIz8f7EcMk
ดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟ
ดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟ ( Volcanic Explosivity Index: VEI) เป็น
มาตราสัมพัทธ์ของการระเบิดของภูเขาไฟ คริสโตเฟอร์ จี นิวฮอลล์แห่ง
หน่วยงานสารวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกาและสตีเฟน เซลฟ์ ที่มหาวิทยาลัย
ฮาวาย คิดค้นเมื่อปี 1982
***เทบพรา (tephra) แบ่งเป็นชนิดย่อยๆอีก 3 ชนิด คือ บอมบ์
(bomb) แลปปิลลิ (lapilli) และเถ้า (ash)
ประเภทของภูเขาไฟ
แบ่งตามรูปร่าง
➢ ภูเขาไฟรูปโล่ (Shield Volcano) เป็นภูเขาไฟที่
มีขนาดใหญ่ เกิดจากลาวาที่เป็นเบส คือมีแร่เหล็กและแมกนีเซียม
สูงโดยพื้นฐานแล้วภูเขาไฟชนิดนี้เกิดจาก ลาวาชนิดบะซอลท์ ที่
ไหลด้วยความหนืดต่า ลาวาไหลเร็ว แข็งตัวช้า ระเบิดไม่รุนแรง
ลาวาที่ไหลมาจากปล่องกลาง และไม่กองสูงชัน เหมือนภูเขาไฟ
ชนิดกรวยสลับชั้น ภูเขาไฟชนิดนี้มักจะเป็นภูเขาไฟที่ใหญ่ เช่น
ภูเขาไฟมอนาคี (ฮาวาย)
ประเภทของภูเขาไฟ
แบ่งตามรูปร่าง
➢ กรวยกรวดภูเขาไฟ (Cinder Cone) ภูเขาไฟชนิดนี้จะสูงชันมากมีลักษณะ
เป็นกรวยสูงขึ้น ฐานแคบ เกิดจากลาวาที่เป็นกรด คือ มีธาตุซิลิคอนมากกว่าธาตุ
อื่นๆ ลาวาข้นเหนียว และเกิดจากลาวาที่พุ่งออกมาทับถมกัน ลาวาจะมีความหนืดสูง
แต่จะแข็งตัวได้เร็ว การไหลไม่ต่อเนื่อง และมีลักษณะเป็นลาวาลูกกลมๆ ที่พุ่งออกมา
จากปล่องเดี่ยว และทับถมกันบริเวณรอบมีการระเบิดอย่างรุนแรงมากที่สุด
ภูเขาไฟแบบกรวยกรวด
ประเทศชิลี
ประเภทของภูเขาไฟ
แบ่งตามรูปร่าง
➢ ภูเขาไฟสลับชั้น (Composite Cone Volcano) เป็นภูเขาไฟรูปร่างสมมาตร รูปทรงสวยงามเป็นรูป
กรวยคว่า เป็นภูเขาไฟซึ่งเกิดจากการสลับหมุนเวียนของชั้นลาวา และเศษหิน ภูเขาไฟชนิดนี้อาจจะดันลาวา
ไหลออกมาเป็นเวลานาน และจะเปลี่ยนแปลงรูปแบบการประทุอย่างกะทันหัน ภูเขาไฟชนิดนี้ที่มีชื่อ เช่น
ภูเขาไฟฟูจิ (ญี่ปุ่น), ภูเขาไฟมายอน (ฟิลิปปินส์) และ ภูเขาไฟเซนต์เฮเลน (สหรัฐอเมริกา)
ประเภทของภูเขาไฟ
แบ่งตามโอกาสการระเบิด
ภูเขาไฟมีพลัง (active volcanoes) ภูเขาที่ยังคงมีการประทุอยู่อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันทั่ว
โลกมีภูเขาไฟที่มีพลังอยู่ประมาณ 1,300 ลูก และส่วนมากมีอยู่ในมลรัฐฮาวายประเทศ
สหรัฐอเมริกา ร้อยละ15 ของจานวนภูเขาไฟที่ยังคุกรุ่นอยู่ในประเทศอินโดนีเซีย
ภูเขาไฟสงบ (dormant volcanoes) คือ ภูเขาที่เคยมีการประทุในอดีตส่วนปัจจุบันจะไม่มีการ
ประทุอีก เช่น ภูเขาไฟเซนต์เฮเลนในประเทศสหรัฐอเมริกา ภูเขาไฟฟูจิ ญี่ปุ่น
ภูเขาไฟดับสนิท (extint volcanoes) คือ ภูเขาไฟที่ไม่มีการประทุมาตั้งแต่ในอดีตแต่มีการ
ผุพังไป เช่น ภูเขาไฟในประเทศไทย
ประเภทของภูเขาไฟ
ภูเขาไฟวิสุเวียส ตั้งอยู่ใน
ประเทศอิตาลีเป็นภูเขาไฟที่
ยังไม่ดับเพียงแห่งเดียวใน
ทวีปยุโรป
TYPES OF LAVA FLOWS
1. ปาโฮอีโฮอี (Pahoehoe lava flow)
2. อาอา (Aa lava flow)
3. บล็อกกี้ (Blocky lava flow)
4. พิลโล (pillow lava flow)
TYPES OF LAVA FLOWS
1. ปาโฮอีโฮอี (Pahoehoe lava
flow) เป็นลาวาที่มีลักษณะผิวเรียบและ
ต่อเนื่องกันเป็นสายสวยงาม มีแร่ซิลิกา
(Silica) ผสมอยู่น้อยจึงมีอัตราการไหลต่า
การเคลื่อนที่ช้า แต่ลาวาประเภทนี้มีอุณหูมิ
สูง
TYPES OF LAVA FLOWS
2. อาอา (Aa lava flow) มีอัตราการไหล
เร็วกว่า Pahoehoe lava ถึง 10 เท่า และ
จากการที่มีอัตราการไหลที่เร็วกว่านี้ทาให้เนื้อ
ของลาวาแตกละเอียด ผิวของมันจึงมีความ
ขรุขระต่างจาก นอกจากนี้Pahoehoe
lava อาจกลายเป็น Aa lava ได้หากมันมี
ความเร็วการไหลที่เพิ่มขึ้น จนทาให้เนื้อลาวามี
เศษชิ้นส่วนของหินที่แตกหัก แต่ Aa lava จะ
ไม่สามารถกลับไปเป็น Pahoehoe lava
ได้ ทั้งนี้ลาวา Pahoehoe lava และ Aa
lava ที่แข็งตัวแล้ว สามารถพบได้บนหมู่เกาะ
ฮาวาย
TYPES OF LAVA FLOWS
3. บล็อกกี้ (Blocky lava flow) มี
ส่วนผสมของ silica มากกว่า 55% ประกอบด้วย
เศษหินทรงสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่กว่า Aa lava
และเศษหินที่ว่านี้มีพื้นผิวที่เรียบกว่า ตัวอย่างของ
ลาวาชนิดนี้อยู่ที่ Nea Kameni Island ใน
caldera of Santorini ประเทศกรีซ
TYPES OF LAVA FLOWS
4. พิลโล (pillow lava flow)
โดยทั่วไป ลาวาชนิดนี้จะเป็นหินบะซอลต์และ
จะมีน้ารวมอยู่ด้วย ขนาดของหินจากลาวา
ชนิดนี้มีขนาดใหญ่และรูปร่างคล้ายหมอน
ภูเขาไฟในประเทศไทย
- ภูเขาไฟดอยผาคอกจาป่าแดด และปล่องภูเขาไฟดอยผาคอกหินฟู จังหวัด
ลาปาง
- ภูเขาไฟภูพระอังคาร ตาบลเจริญสุข อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์
- ภูเขาไฟภูเขาหลวง จังหวัดสุโขทัย
ภูเขาไฟดอยผาคอกจาป่าแดด
ปากปล่องภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว
ที่เขากระโดงจังหวัดบุรีรัมย์
ภูเขาไฟผาลาด จังหวัดลาปาง
 เมื่อภูเขาไฟระเบิดจะพ่นชิ้นส่วนภูเขาไฟ ขนาดต่างๆ ออกมา ส่วนมากเป็นเศษ
หิน ผลึกแร่ เถ้าภูเขาไฟ และฝุ่นภูเขาไฟ ตกลงมาสะสมตัวบนผิวโลก ชิ้นส่วนภูเขา
ไฟที่เกิดในลักษณะนี้เมื่อเย็นตัวและแข็งเป็นหินเรียกว่า หินชิ้นภูเขาไฟ
 เมื่อแข็งตัวเป็นหินเรียกว่า หินทัฟฟ์ (tuff)
 ถ้าเป็นเหลี่ยมเรียกว่า บล็อก (block)
 ถ้ามีรูปร่างคล้ายหยดน้าเรียกว่า บอมบ์ (bomb)
 หินที่ประกอบด้วยวัสดุภูเขาไฟขนาดใหญ่ ทั้งบล็อกและบอมบ์ เรียกหิน
ประเภทดังกล่าวว่า หินแอกโกลเมอเรต (agglomerate)
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงPonpirun Homsuwan
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)Physics Lek
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 

La actualidad más candente (20)

บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
Big Bang theory - ทฤษฏีบิกแบง
Big Bang theory - ทฤษฏีบิกแบงBig Bang theory - ทฤษฏีบิกแบง
Big Bang theory - ทฤษฏีบิกแบง
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)คลื่น (Wave) (For Power Point)
คลื่น (Wave) (For Power Point)
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 

Similar a ภูเขาไฟ

การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีคุณครู กดชะกอน
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่naleesaetor
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟNattha Namm
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่naleesaetor
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่naleesaetor
 
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงnarongsakday
 
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6Pongsathorn Suksri
 
สาระภูมิศาสตร์ (ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์)
สาระภูมิศาสตร์ (ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์)สาระภูมิศาสตร์ (ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์)
สาระภูมิศาสตร์ (ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์)พัน พัน
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 น้ำ' เพชร
 

Similar a ภูเขาไฟ (13)

การจำแนกภูเขาไฟตามรูปร่าง
การจำแนกภูเขาไฟตามรูปร่างการจำแนกภูเขาไฟตามรูปร่าง
การจำแนกภูเขาไฟตามรูปร่าง
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
 
แผ่นดินไหว503
แผ่นดินไหว503แผ่นดินไหว503
แผ่นดินไหว503
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่
 
งานคู่
งานคู่งานคู่
งานคู่
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
01 (1)
01 (1)01 (1)
01 (1)
 
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ M6
 
สาระภูมิศาสตร์ (ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์)
สาระภูมิศาสตร์ (ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์)สาระภูมิศาสตร์ (ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์)
สาระภูมิศาสตร์ (ปรากฎการณ์ทางภูมิศาสตร์)
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
 

Más de soysuwanyuennan

บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐานบทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐานsoysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกsoysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกsoysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1soysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3soysuwanyuennan
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1soysuwanyuennan
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาsoysuwanyuennan
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติsoysuwanyuennan
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีsoysuwanyuennan
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาsoysuwanyuennan
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีsoysuwanyuennan
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกsoysuwanyuennan
 

Más de soysuwanyuennan (12)

บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐานบทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
บทที่ 2 ธรณีแปรสัณฐาน
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
 
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกเอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
เอกสารประกอบกิจกรรม หน่วยที่ 2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 7.1
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.3
 
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
เอกสารประกอบกิจกรรม 6.1
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 4 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 

ภูเขาไฟ