SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 25
Descargar para leer sin conexión
หนวยการเรียนรูที่ 5
                           เรื่อง กิจกรรมการสํารวจรูปเรขาคณิตสามมิติ
รายวิชาที่นํามาบูรณาการ
          -
1. มาตรฐานการเรียนรู
          มฐ. ค 3.1
2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ
          ค 3.1 ม.1/4, 5, 6
3. สาระการเรียนรูประจําหนวย
   3.1 ภาพของรูปเรขาคณิต
   3.2 รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ
   3.3 กิจกรรมการสํารวจรูปเรขาคณิตสามมิติ
   3.4 หนาตัดรูปเรขาคณิตสามมิติ
   3.5 ภาพที่ไดจากการมองทางดานหนา ดานขาง และดานบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ
   3.6 รูปเรขาคณิตที่สรางจากลูกบาศก
4. รองรอยการเรียนรู
   4.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก
       1) ผลงานจากการทําแบบฝกหัด 1-2
       2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
       3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ
   4.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก
       1) การปฏิบัติกจกรรมในชั้นเรียน
                           ิ
       2) การมีสวนรวมในการปฏิบัตกิจกรรมกลุม
                                    ิ
   4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                   181

 5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม

                                                              แนวทางการจัดการเรียนรู
        รองรอยการเรียนรู
                                                     บทบาทครู                     บทบาทนักเรียน
5.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก
    1) การทําแบบฝกหัด 1-2              - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง      - ฝกคิดตามและรวมทํากิจกรรมในชั้น
    2) การทํากิจกรรมกลุม               - แนะการทําแบบฝกหัด                เรียน
    3) การทํากิจกรรมบูรณาการ            - อธิบายสรุปความคิดรวบยอดใน       - ทําแบบฝกหัด
                                          แตละเรื่อง                     - ทําแบบทดสอบหนวยยอยเปนรายกลุม
5.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก
    1) การปฏิบติกิจกรรมในชั้น
               ั                 - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังสรุป           - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด
       เรียนและการใชบริการหอง ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อหา               ประจําหนวย
       สมุดของโรงเรียนอยาง        ประจําหนวย                            - ใหนักเรียนไปคนควาโจทยในหอง
       เหมาะสม                   - แนะนําใหนักเรียนใชบริการหอง           สมุดโรงเรียนและหองสมุดกลุมสาระ
    2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติ สมุดของโรงเรียนอยางเหมาะสม                การเรียนรูคณิตศาสตร
       กิจกรรมกลุม              - แนะนําวิธีการจัดกลุมและการทํา         - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครูมอบหมาย
                                   กิจกรรมกลุม                             และชวยกันทํากิจกรรมในชั้นเรียน

5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง            - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง   - ทําแบบทดสอบหลังเรียนจบ
    การเรียน                              ความคิดรวบยอดประจําหนวยอีก
                                          ครั้ง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                            182

                                        แผนการจัดการเรียนรูที่ 1
                       เรื่อง ภาพของรูปเรขาคณิตและรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ
                                            เวลา 4 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) วาดรูปคลี่ของทรงสามมิติ เชน ลูกบาศก พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ทรงกระบอก ปริซึมได
        2) อธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติจากรูปเรขาคณิตสองมิติที่กาหนดใหได
                                                                            ํ
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) วาดรูปคลี่ของทรงสามมิติ เชน ลูกบาศก พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ทรงกระบอก ปริซมได
                                                                                           ึ
        2) อธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติจากรูปเรขาคณิตสองมิติที่กาหนดใหได
                                                                          ํ

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       1) ภาพของรูปเรขาคณิต
       2) รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ
   2.2 ทักษะ/กระบวนการ
       1) ทักษะการใหเหตุผล
       2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย
       3) ทักษะการแกปญหา
   2.3 ทักษะการคิด
       การคิดแปลความ การคิดวิเคราะห การคิดสรุปความ การคิดสังเคราะห

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน
        1) ผลงานจากการทํากิจกรรมที่ 1-6 และแบบฝกหัด 1
        2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันทํากิจกรรมในหนังสือเรียนและแบบฝกหัด
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                             183

       5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
       6) สงงาน
   3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
       1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
       2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
       นักเรียนรูวิธีวาดรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติที่กําหนดให

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑผานขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
   5.1 ขั้นนํา
        ชั่วโมงที่ 1 (ภาพของรูปเรขาคณิต, รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ)
        ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ โดยใหนักเรียนแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะของรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติวาเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร พรอม
ยกตัวอยางประกอบ
        ชั่วโมงที่ 2 (รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ (ตอ))
        ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนเกี่ยวกับรูปคลี่ของลูกบาศก 5 แบบ ในชั่วโมงที่ 1
        ชั่วโมงที่ 3 (รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ (ตอ))
        ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนวิธีการสรางรูปคลี่ของพีระมิดฐานเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสและทรงกระบอก
        ชั่วโมงที่ 4 (รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ (ตอ))
        ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนเกี่ยวกับวิธีการสรางรูปคลี่ของปริซึมฐานหาเหลี่ยมดานเทามุมเทา
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                      184

   5.2 ขั้นสอน
                                   กิจกรรมการเรียนการสอน                                      ฝกการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1 (ภาพของรูปเรขาคณิตสามมิติ, รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ)
1. ครูอธิบายการเขียนภาพของรูปเรขาคณิตสามมิติโดยการวาดบนกระดาน และใหนก             ั
เรียนทําไปพรอมกันในสมุดจดงาน (รายละเอียดอยูในหนังสือเรียนหนา 173-176)
2. ครูใหคําแนะนําเพิ่มเติมวา การเขียนภาพของรูปเรขาคณิตสามมิติบนกระดาษจุดไอโซ
เมตริกจะตองเขียนใหเห็นวามีความหนา (หรือความลึก) ซึ่งอาจใชการแรเงามาชวย หรือ
เขียนรูปในลักษณะเอียงใหเห็นมุมมองที่เปนความหนา (หรือความลึก)
3. ครูใหนักเรียนสังเกตวา การเขียนภาพบนกระดาษจุดไอโซเมตริก สวนของเสนตรงที่
ตอจุด 2 จุดใดที่อยูติดกันทุกคูจะยาวเทากัน
4. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับสิ่งของที่เปนทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากวามีอะไรบาง ( เชน      ทักษะการคิดวิเคราะห
กลองกระดาษ กลองขนม เปนตน)
5. ครูใหนักเรียนสังเกตวาสิ่งที่นักเรียนตอบมานั้นมีลักษณะเปนรูปเรขาคณิตสามมิติหรือไม   ทักษะการคิดแปลความ
เพราะอะไร ใหนักเรียนชวยกันอธิบายคําตอบ
6. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติพรอมกัน ดังนี้ (รูป               ทักษะการคิดสรุปความ
เรขาคณิตสามมิติเปนรูปที่มีความกวาง ความยาว และความหนา)
7. ครูแจกลูกบาศกที่เตรียมมาใหนักเรียน กลุมละ 1 อัน ใหนกเรียนสังเกตลักษณะของ
                                                             ั
กลองลูกบาศกที่ไดรับพรอมกับวาดภาพประกอบ
8. นักเรียนแตละกลุมคลี่กลองลูกบาศกเพื่อทําการสํารวจตามกิจกรรมที่ 1 ในหนังสือ          ทักษะการคิดวิเคราะห
เรียนหนา 177 พรอมวาดรูปที่คลี่ออกมาลงในกระดาษ A4 ของแตละคนวาวาดไดอยางไร ให
นํามาเปรียบเทียบกันเองในกลุมวาเหมือนหรือตางกัน จากนั้นแตละคนลองประกอบให
เพื่อนดูตามแบบที่วาดจะไดเปนรูปทรงลูกบาศกเหมือนเดิมหรือไม
9. ใหแตละกลุมชวยกันสรุปผลที่ไดวาสรางรูปคลี่ของลูกบาศกไดกี่แบบ อะไรบาง และมี     ทักษะการคิดสรุปความ
แบบอื่นอีกหรือไม ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมารายงานผลพรอมกับแสดงตัวอยาง
10. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปผลอีกครั้งวานักเรียนในหองสรางรูปคลี่ของลูกบาศกไดกี่     ทักษะการคิดสรุปความ
แบบ อะไรบาง จากนั้นครูแสดงใหนักเรียนดูบนกระดานทีละแบบ ดังนี้




11. ครูมอบหมายงานใหนักเรียนสรางลูกบาศกจากรูปคลี่แบบตางๆ คนละ 1 แบบ แลวนํา
มาสงในชั่วโมงถัดไป
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                      185

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                         ฝกการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 2 (รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ (ตอ))
1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมทํากิจกรรมที่ 2 ในหนังสือเรียนหนา 178
2. ครูนํารูปพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสแสดงใหนักเรียนสังเกต แลวรวมกันพิจารณาวาเปน    ทักษะการคิดวิเคราะห
รูปเรขาคณิตสามมิติหรือไม เพราะเหตุใด
3. ครูใหนักเรียนชวยกันคิดวาจะเขียนรูปคลี่ของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่ครูแสดง   ทักษะการคิดวิเคราะห
ใหดูไดกี่แบบ ใหนักเรียนในแตละกลุมชวยกันคิดและเขียนรูปออกมา
4. ใหนักเรียนแตละกลุมนําภาพที่วาดไดมาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียนวาวาดไดอยางไร         ทักษะการคิดแปลความ
แลวแสดงการประกอบเปนพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมใหเพื่อนดู
5. นักเรียนและครูรวมกันสรุปวานักเรียนในหองสรางรูปคลี่ของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยม          ทักษะการคิดสรุปความ
จัตุรัสไดกี่แบบ อะไรบาง และมีแบบอื่น ๆ ที่นักเรียนยังไมไดสรางอีกกี่แบบ แบบใดบาง
6. ครูใหนักเรียนแบงกลุมทํากิจกรรมที่ 3 ในหนังสือเรียนหนา 179 จากนั้นใหนักเรียน       ทักษะการคิดวิเคราะห
ชวยกันตอบคําถามทายกิจกรรม
7. ครูใหนักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลงานพรอมกับตอบคําถามที่ไดจากการทํากิจกรรม            ทักษะการคิดวิเคราะห
วามีปญหาอะไรบาง แลวแกปญหากันอยางไร
8. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปวิธีการสรางรูปคลี่ของทรงกระบอกจากแผนภาพตอไปนี้              ทักษะการคิดสรุปความ

                                              4. คลี่ออกทั้งหมด




   1. นําทรงกระบอกนอนลง
                                                             3. เปดดานขางออก
                  2. แยกฐานและฝาบนออก

9. ครูใหนักเรียนสรางรูปทรงกระบอกจากรูปคลี่ โดยกําหนดขนาดเอง นํามาสงครูในชั่ว           ทักษะการคิดสังเคราะห
โมงถัดไป
ชั่วโมงที่ 3 (รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ (ตอ))
1. ครูแสดงปริซึมฐานหาเหลี่ยมดานเทามุมเทา และถามนักเรียนวาเปนรูปอะไร เพราะ           ทักษะการคิดวิเคราะห
เหตุใด
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                         186

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                             ฝกการคิดแบบ
2. ครูซักถามนักเรียนตอไปวาจะเรียกปริซึมนี้วาอยางไร (ปริซึมฐานหาเหลี่ยมดานเทามุมเทา)   ทักษะการคิดวิเคราะห
3. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน เพื่อทํากิจกรรมที่ 4 ในหนังสือเรียนหนา
179-180
4. ใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันวาดรูปคลี่ของปริซึมฐานหาเหลี่ยมดานเทามุมเทาที่ความ         ทักษะการคิดวิเคราะห
ยาวของฐานแตละดานเปน 3 เซนติเมตร สูง 10 เซนติเมตร แลวจากนั้นใหนักเรียนใน
กลุมสนทนากันวาเกิดปญหาอะไรบางในการลงมือปฏิบัติและชวยกันแกปญหาที่เกิดขึ้น
อยางไร
5. ใหนกเรียนตัดรูปคลี่ที่สรางขึ้นนํามาประกอบเปนปริซึมฐานหาเหลี่ยมดานเทามุมเทา
        ั
6. นําผลงานของแตละกลุมมาวางไวหนาชั้นเรียนโดยครูเปนผูตัดสินความถูกตองของแต
ละกลุม
7. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลงานและปญหาที่เกิดขึ้นของแตละกลุม พรอมทั้งบอกวิธี            ทักษะการคิดวิเคราะห
การแกปญหาของกลุมตัวเองวาทําอยางไร
8. นักเรียนรวมกันสรุปวา ใชวิธีสรางรูปคลี่ของปริซึมฐานหาเหลี่ยมดานเทามุมเทาได         ทักษะการคิดสรุปความ
อยางไรบาง โดยครูคอยเสริมบางเปนบางครั้ง
9. ครูใหนักเรียนสรางรูปปริซึมฐานหาเหลี่ยมดานเทามุมเทาหรือปริซึมแบบอื่นๆ จากรูป          ทักษะการคิดสังเคราะห
คลี่ โดยกําหนดขนาดเอง นํามาสงครูในชั่วโมงถัดไป
ชั่วโมงที่ 4 (รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ (ตอ))
1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม ชวยกันลงมือทําตามขั้นตอนของกิจกรรมที่ 5 โดยครูคอยใหคํา           ทักษะการคิดวิเคราะห
แนะนําและตรวจสอบความถูกตอง
2. ใหแตละกลุมนําผลงานของตนเองนําเสนอหนาชั้นเรียน
3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปจากกิจกรรมที่ 5 วานักเรียนใชวิธีสรางรูปคลี่อยางไร             ทักษะการคิดสรุปความ
4. ครูจัดหาทรงสามมิติแบบตาง ๆ เชน กรวย พีระมิด ปริซึม ทรงกระบอก และอื่นๆ มา                 ทักษะการคิดวิเคราะห
วางไวหนาชั้นเรียน ใหนักเรียนแบงกลุมพิจารณาและสังเกตตามกิจกรรมที่ 6 ในหนังสือ
เรียนหนา 181
5. ใหแตละกลุมนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลที่ไดจากการ             ทักษะการคิดสรุปความ
นําเสนอ
6. ครูใหนกเรียนทําแบบฝกหัด 1 เปนการบาน
           ั
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                              187

    5.3 ขั้นสรุป
        นักเรียนและครูรวมกันสรุปตามประเด็นดังนี้
        1) ลักษณะของรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ
        2) ลักษณะของรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติแบบตางๆ เชน ลูกบาศก พีระมิด ปริซึม ทรงกระบอก

6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
         - หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 2
         - ทรงสามมิติตางๆ เชน กรวย พีระมิด ปริซึม ทรงกระบอก
                        
         - กระดาษ A4
         - อุปกรณการเขียนภาพ เชน ไมบรรทัด ดินสอ ยางลบ วงเวียน
   6.2 แหลงการเรียนรู
         - หองสมุดโรงเรียน
         - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
   7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
        ขั้นรวบรวมขอมูล
        ใหนักเรียนแบงกลุม แตละกลุมไดรับบัตรกิจกรรมรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ ดังนี้

         1.                                  2.                          3.




         4.                                  5.



      ขั้นวิเคราะห
      ใหนักเรียนแตละกลุมบอกวารูปคลี่แตละรูปเปนรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดใด พรอมวาดรูป
ประกอบ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2        188

         ขั้นสรุป
         นักเรียนควรวาดรูปเรขาคณิตสามมิติไดดังนี้
         1.                           2.                  3.



         4.                                  5.



        ขั้นประยุกตใช
        -
    7.2 กิจกรรมบูรณาการ
        -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                          189

8. บันทึกหลังการสอน

                                                               บันทึกหลังการสอน
                                                  (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)

                   ประเด็นการบันทึก                                                           จุดเดน                                         จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน


บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ .......................................................................
                                                                                                     ตําแหนง ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                     190

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
     แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                               แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
 ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป ....................
 ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................

                                                                                                                   ระดับการประเมิน
                            หัวขอการประเมิน
                                                                                         ดีมาก                  ดี         พอใช                      ควรปรับปรุง
   ความสนใจ
   การตอบคําถาม
   การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
   การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
   ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
   ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
   คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย


    แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                                          แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ .......................

                                                                                                                ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                                                  ดีมาก               ดี         ปานกลาง                 นอย               นอยมาก
    การวางแผนการทํางาน
    การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
    การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
    ความคิดสรางสรรค
    ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                              191

                                            แผนการจัดการเรียนรูที่ 2
                                 เรื่อง กิจกรรมการสํารวจรูปเรขาคณิตสามมิติ
                                                เวลา 4 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) สามารถวาดรูปคลี่ของทรงสามมิติ เชน ลูกบาศก พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ทรงกระบอก ปริซึมได
        2) อธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติจากรูปเรขาคณิตสองมิติที่กาหนดใหได
                                                                         ํ
        3) ระบุภาพสองมิตที่ไดจากการมองทางดานหนา(front view) ดานขาง(side view) หรือดานบน(top view)
                            ิ
ของรูปเรขาคณิตสามมิตที่กําหนดใหได
                         ิ
        4) วาดหรือประดิษฐรูปเรขาคณิตที่ประกอบขึ้นจากรูปเรขาคณิตสามมิติ เมื่อกําหนดใหมองรูปเรขาคณิต
สามมิติจากดานหนา(front view) ดานขาง(side view) หรือดานบน(top view)
        5) หาความสัมพันธระหวางมุมยอด หนา และขอบของทรงหลายหนาได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) สามารถวาดรูปคลี่ของทรงสามมิติ เชน ลูกบาศก พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ทรงกระบอก ปริซมได
                                                                                                 ึ
        2) อธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติจากรูปเรขาคณิตสองมิติที่กําหนดใหได
        3) ระบุภาพสองมิตท่ไดจากการมองทางดานหนา(front view) ดานขาง(side view) หรือดานบน(top view)
                           ิ ี
ของรูปเรขาคณิตสามมิตที่กําหนดใหได
                       ิ
        4) วาดหรือประดิษฐรูปเรขาคณิตที่ประกอบขึ้นจากรูปเรขาคณิตสามมิติ เมื่อกําหนดใหมองรูปเรขาคณิต
สามมิติจากดานหนา(front view) ดานขาง(side view) หรือดานบน(top view)
        5) หาความสัมพันธระหวางมุมยอด หนา และขอบของทรงหลายหนาได

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       1) หนา สัน และจุดยอด
       2) หนาตัดรูปเรขาคณิตสามมิติ
       3) ภาพที่ไดจากการมองทางดานหนา ดานขาง และดานบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ
       4) รูปเรขาคณิตที่สรางจากลูกบาศก
   2.2 ทักษะ/กระบวนการ
       1) ทักษะการใหเหตุผล
       2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย
       3) ทักษะการแกปญหา
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                    192

    2.3 ทักษะการคิด
        การคิดแปลความ การคิดวิเคราะห การคิดสรุปความ การคิดสังเคราะห

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน
        1) ผลงานจากการทํากิจกรรมที่ 1-3 และแบบฝกหัด 2
        2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันทํากิจกรรมและแบบฝกหัด
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) สงงาน
   3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
        2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนเขาใจถึงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติจากรูปเรขาคณิตสองมิติที่กําหนดใหได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑผานขั้นต่ํา
          
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                              193

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
   5.1 ขั้นนํา
       ชั่วโมงที่ 1 (การสรางทรงหลายหนาแบบตางๆ)
       ครูและนักเรียนทบทวนลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดตางๆ และรูปคลี่แตละแบบ โดยครูติดแผนภูมิ
ตอไปนี้บนกระดาน

                            รูปเรขาคณิตสามมิติ                       รูปคลี่




       ชั่วโมงที่ 2 (หนา สัน และจุดยอด)
       ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนลักษณะของรูปคลี่ของทรงหลายหนาแบบตางๆ
       ชั่วโมงที่ 3 (หนาตัดรูปเรขาคณิตสามมิต,ิ ภาพที่ไดจากการมองทางดานหนา ดานขาง และดานบนของ
รูปเรขาคณิตสามมิติ)
       ครูและนักเรียนทบทวนสวนประกอบของทรงหลายหนา ไดแก หนา สัน จุดยอดมุม โดยครูและนักเรียน
รวมกันอภิปรายเกี่ยวกับจํานวนหนา จํานวนสัน และจํานวนจุดยอดมุมของทรงหลายหนาตางๆ
       ชั่วโมงที่ 4 (รูปเรขาคณิตที่สรางจากลูกบาศก)
       ครูทบทวนการเขียนภาพที่ไดจากการมองดานบน ดานหนา และดานขาง โดยแนะนําหลักในการมองแตละ
ดานวาใหแนวสายตาของผูมองตั้งฉากกับดานที่มอง แลวใหนักเรียนเขียนภาพที่ไดจากการมองรูปเรขาคณิตสามมิติ
ตอไปนี้
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                194

                  1.

                               ภาพดานบน




                               ภาพดานหนา         ภาพดานขาง


                  2.

                                 ภาพดานบน




                                 ภาพดานหนา               ภาพดานขาง

 5.2 ขั้นสอน
                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1 (การสรางทรงหลายหนาแบบตางๆ)
1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมชวยกันสรางทรงหลายหนาแบบตางๆ ตามกิจกรรมที่ 1 ใน        ทักษะการคิดวิเคราะห
หนังสือเรียนหนา 183 โดยใหนกเรียนใชกระดาษลอกลายลอกภาพแลวตัดออก แลว
                                  ั
นํามาประกอบเปนรูปทรงตางๆ พรอมสังเกตและพิจารณาวิธีการทําแตละขั้นตอน
2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมนําเสนอการสรางรูปทรงหลายหนาแบบตางๆ กลุมละ 1 รูป
พรอมแสดงวิธีประกอบรูป
3. ครูใหนักเรียนศึกษาการสรางรูปทรงหลายหนาแบบตางๆ จากการคนควาในหอง            ทักษะการคิดสังเคราะห
สมุดของโรงเรียนหรือหองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร แลวใหนักเรียนแตละ
คนออกแบบรูปทรงหลายหนาและรูปคลี่ นํามาสรางเปนชิ้นงานสงครูในชั่วโมงถัดไป
ชั่วโมงที่ 2 (หนา สัน และจุดยอด)
1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม ทํากิจกรรมที่ 2 ในหนังสือเรียนหนา 186 ใหนกเรียนแตละ
                                                                          ั
กลุมศึกษาสวนประกอบของรูปที่สรางขึ้นวามีสวนประกอบใดบาง                         ทักษะการคิดวิเคราะห
2. ใหนักเรียนศึกษาความหมายของหนา สัน และจุดยอดมุมของทรงหลายหนาแลวชวย
กันอภิปรายหาขอสรุปจากการตอบคําถามตอไปนี้                                          ทักษะการคิดแปลความ
    1) พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีหนากี่หนา มีจุดยอดมุมกี่มุม และมีสนกี่เสน
                                                                        ั
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                      195

                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                                        ฝกการคิดแบบ
    2) ปริซึมฐานสามเหลี่ยมมีหนากี่หนา มีจุดยอดมุมกี่มม และมีสันกี่เสน
                                                          ุ
    3) ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีหนากี่หนา มีจุดยอดมุมกี่มม และมีสนกี่เสน
                                                              ุ        ั
    4) ปริซึมฐานหาเหลี่ยมดานเทามุมเทามีหนากี่หนา มีจุดยอดมุมกี่มุม และมีสนกี่เสน
                                                                               ั
    5) ปริซึมฐานหกเหลี่ยมดานเทามุมเทามีหนากี่หนา มีจุดยอดมุมกี่มุม และมีสันกี่เสน
3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลที่ไดจากการตอบคําถามขางตน
4. ครูใหนกเรียนแบงกลุมทํากิจกรรมที่ 3 ในหนังสือเรียนหนา 186-187 แลวใหนัก
            ั                                                                             ทักษะการคิดสรุปความ
เรียนแตละกลุมรายงานผลการสํารวจหนาชั้นเรียน
5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลที่ไดจากการสํารวจและรายงานหนาชั้นเรียนถึง
ความสัมพันธระหวางจํานวนจุดยอดมุม จํานวนหนา และจํานวนสัน ในรูปของสม                     ทักษะการคิดแปลความ
การ
6. ครูมอบหมายงานใหนกเรียนสํารวจทรงสามมิติและบอกจํานวนจุดยอดมุม จํานวน
                          ั
หนา และจํานวนสัน โดยการสรางทรงสามมิติจากรูปคลี่แบบตางๆ คนละ 1 ตัวอยาง
ชั่วโมงที่ 3 (หนาตัดรูปเรขาคณิตสามมิติ, ภาพที่ไดจากการมองทางดานหนา ดานขาง
              และดานบนของรูปเรขาคณิตสามมิต)        ิ
1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมทํากิจกรรมที่ 1 ในหนังสือเรียนหนา 188 เมื่อทุกกลุมทําเสร็จ
แลว รวมกันอภิปรายผลที่ได                                                               ทักษะการคิดวิเคราะห
2. ครูติดแผนภาพบนกระดาน ใหนกเรียนบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่เปนหนา
                                     ั                                                    ทักษะการคิดแปลความ
ตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติตอไปนี้                                                          ทักษะการคิดวิเคราะห
   1)                                         2)




  3)                                         4)




  5)
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                   196

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                       ฝกการคิดแบบ
   เฉลย
     1) รูปวงกลม                   2) รูปวงรี               3) รูปวงกลม
     4) รูปสามเหลี่ยม              5) รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
3. ครูติดแผนภาพบนกระดาน ใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้                            ทักษะการคิดวิเคราะห
   1) ทรงกระบอกมี กข เปนเสนผานศูนยกลางของฐาน ขค เปนสวนสูง
           ง             ค         (ก) Δกขค เปนรูปสามเหลี่ยมชนิดใด
                                   (ข) กขคง เกิดจากการใชระนาบตัดทรงกระบอก
           ก             ข
                                       ตามแนวใด
                                   (ค) Δกขค มีความสัมพันธกับ กขคง อยางไร
   เฉลย
   (ก) รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
   (ข) แนวตั้งฉากกับฐานและผานจุดศูนยกลางของฐาน
   (ค) Δกขค เกิดจากการแบงครึ่ง กขคง ดังนั้น พื้นที่ Δกขค เทากับครึ่งหนึ่งของพื้น
       ที่ กขคง
   2) ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมมุมฉาก
               จ           ง       (ก) กขคซ เปนรูปสี่เหลี่ยมชนิดใด
         ฉ             ช           (ข) ขˆ จ มีขนาดกี่องศา
                                         ซ
              ซ            ค       (ค) ขชจซ เกิดจากการใชระนาบตัดรูปทรง
          ก           ข                เรขาคณิตตามแนวใด
   เฉลย
   (ก) รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
   (ข) 90°
   (ค) แนวเสนทแยงมุม จช และตั้งฉากกับฐาน
4. ครูใหนักเรียนแบงกลุม แตละกลุมไดรับแจกกลองทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากกลุมละ 1        ทักษะการคิดวิเคราะห
กลอง ใหนักเรียนฝกมองภาพดานบน ภาพดานหนา และภาพดานขาง โดยครูแนะนํา
หลักในการมองภาพแตละดานวา จะตองมองแตละดานตามแนวสายตาที่ตั้งฉากกับ
ดานที่มอง แลวใหนักเรียนแตละกลุมเขียนภาพที่มองเห็นวาเปนรูปเรขาคณิตสองมิติ
ชนิดใด
5. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1 ในหนังสือเรียนหนา 190 เมื่อทุกกลุมทําเสร็จแลวครู   ทักษะการคิดสรุปความ
และนักเรียนรวมกันสรุปลักษณะของภาพจากมุมมองแตละดาน
6. ครูติดแผนภาพที่กําหนดมุมมองแตละดาน ใหนักเรียนแบงกลุมวิเคราะหวาเปนภาพ        ทักษะการคิดวิเคราะห
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                              197

                          กิจกรรมการเรียนการสอน                                       ฝกการคิดแบบ
ที่ไดจากการมองรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดใด โดยใหนักเรียนวาดรูปเรขาคณิตสามมิติ
ชนิดนั้นๆ
       ขอ        ภาพดานบน               ภาพดานหนา        ภาพดานขาง

       1.


       2.


       3.


       4.


       5.


       6.

  เฉลย
  1.                       2.                         3.



  4.                       5.                         6.



ชั่วโมงที่ 4 (รูปเรขาคณิตที่สรางจากลูกบาศก)
1. ครูใหนักเรียนนําลูกบาศกที่เตรียมมารวมกันที่หนาหองเรียน โดยนํามาวางตอกันเปน
ชั้นๆ โดยใหแตละชั้นมีจํานวนลูกบาศกเทากัน (จํานวนของลูกบาศกแตละชั้นคํานวณ
จากจํานวนนักเรียนในหองเรียน)
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                198

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                    ฝกการคิดแบบ


                 ชั้นที่ 3
                 ชั้นที่ 2
                 ชั้นที่ 1

2. ใหนักเรียนสังเกตลักษณะการตอกันของลูกบาศก และเมื่อตอเสร็จแลวจะได รูป        ทักษะการคิดวิเคราะห
เรขาคณิตสามมิตชนิดใด (ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก)
                   ิ
3. จากการสังเกตของนักเรียน ชวยกันตอบคําถามตอไปนี้พรอมกัน โดยครูเขียนขอ          ทักษะการคิดวิเคราะห
สรุปจากการตอบคําถามของนักเรียนบนกระดาน
    - รูปที่ไดเปนรูปทรงอะไร (ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก)
    - มีทั้งหมดกี่ช้น (3 ชั้น)
                     ั
    - แตละชั้นมีลักษณะเปนอยางไร เหมือนหรือตางกัน (เหมือนกัน)
    - แตละชั้นประกอบดวยลูกบาศกกี่อัน (12 อัน)
    - ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากนี้ ตองใชลูกบาศกทั้งหมดกี่อัน (36 อัน)
4. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับการนําลูกบาศกมาตอกัน วาสามารถนํามาตอ      ทักษะการคิดวิเคราะห
เปนแบบอื่นไดหรือไม และมีความจําเปนหรือไมวาจะตองมีจํานวนลูกบาศกเทากันทุก
ชั้น ใหนักเรียนชวยกันคิดแลวลองทดลองตอลูกบาศกในลักษณะตาง ๆ
5. ครูใหนักเรียนแบงกลุมเลนเกมตอภาพจากลูกบาศก โดยใหนักเรียนดูภาพที่จะสราง    ทักษะการคิดวิเคราะห
จากหนังสือเรียนหนา 191 ใหแตละกลุมเขียนภาพที่ไดจากการมองดานหนา ดานขาง
และดานบน ของรูปเรขาคณิตสามมิติที่สรางได เปรียบเทียบภาพที่ไดกับเพื่อนกลุมอื่น
เพื่อตรวจสอบความถูกตอง
6. ครูใหนกเรียนทํากิจกรรมที่ 1 ในหนังสือเรียนหนา 192-193 แลวอธิบายการเขียน
            ั                                                                       ทักษะการคิดแปลความ
จํานวนลูกบาศกกํากับไวในตารางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส (รายละเอียดอยูในหนังสือเรียน
หนา 193-195)
7. ครูเขียนแผนภาพบนกระดานดําแลวใหนักเรียนตอลูกบาศก ดังนี้                       ทักษะการคิดวิเคราะห
                                                                                    ทักษะการคิดแปลความ
                                1     2
                                1     1

  นักเรียนรวมกันอภิปรายและวิเคราะหภาพที่ได และเมื่อมองรูปเรขาคณิตสามมิติ
จากดานตาง ๆ และวาดภาพสองมิติที่ไดจากการมอง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                           199

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                               ฝกการคิดแบบ
8. ครูใหนักเรียนแบงกลุมทํากิจกรรมที่ 2 ในหนังสือเรียนหนา 195 แลวสงตัวแทนมา
รายงานผลที่ไดหนาชั้นเรียน โดยครูและเพื่อนๆ ชวยกันตรวจสอบความถูกตอง
9. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2 เปนการบาน

   5.3 ขั้นสรุป
       ครูและนักเรียนรวมกันสรุปตามประเด็นดังนี้
       1) ความสัมพันธระหวางจํานวนจุดยอดมุม จํานวนหนา และจํานวนสันของรูปเรขาคณิตสามมิติ
       2) ภาพที่ไดจากการมองรูปเรขาคณิตสามมิติจากดานตางๆ

6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
         - หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 2
         - กระดาษแข็ง
         - กรรไกร
         - กาว
         - รูปเรขาคณิตสามมิตแบบตางๆ เชน กรวย ทรงกระบอก พีระมิด
                               ิ
   6.2 แหลงการเรียนรู
         - หองสมุดโรงเรียน
         - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
   -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                          200

8. บันทึกหลังการสอน

                                                               บันทึกหลังการสอน
                                                  (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)

                   ประเด็นการบันทึก                                                           จุดเดน                                         จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน


บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ .......................................................................
                                                                                                     ตําแหนง ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                     201

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
     แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                               แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
 ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป ....................
 ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................

                                                                                                                   ระดับการประเมิน
                            หัวขอการประเมิน
                                                                                         ดีมาก                  ดี         พอใช                      ควรปรับปรุง
   ความสนใจ
   การตอบคําถาม
   การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
   การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
   ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
   ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
   คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย


    แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                                          แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ .......................

                                                                                                                ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                                                  ดีมาก               ดี         ปานกลาง                 นอย               นอยมาก
    การวางแผนการทํางาน
    การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
    การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
    ความคิดสรางสรรค
    ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                      202

                              การประเมินและสะทอนตนเองหลังเสร็จสิ้นการเรียนในหนวยการเรียนรูที่ 5
                                                     (Self Reflection)

1. การประเมินตนเองของนักเรียน ใหดําเนินการดังนี้
   1.1 ครูทบทวนผลการเรียนรูประจําบททุกขอ ใหนักเรียนไดทราบ โดยอาจเขียนไวบนกระดาน พรอมทั้งทบ
ทวนถึงหัวขอกิจกรรมการเรียนวาไดเรียนอะไรบาง
   1.2 ใหนักเรียนเขียนบันทึกการประเมินตนเองไวในสมุดงานดานหลังตามหัวขอ ดังนี้
                       บันทึกการประเมินและสะทอนตนเองประจําหนวยการเรียนรูที่ 5
                            วัน/เดือน/ป ที่บันทึก ............... / ............... / ...............

รายการบันทึก
1. จากการเรียนที่ผานมาไดมีความรูอะไรบาง
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
2. ปจจุบันนี้มีความสามารถปฏิบัติสิ่งใดไดแลวบาง
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
3. สิ่งที่ยังไมรู ไมกระจาง ไมเขาใจ มีอะไรบาง
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
4. ผลงานหรือชิ้นงานที่เนนความภาคภูมใจจากการเรียนในบทนี้คออะไร ทําไมจึงภาคภูมิใจ
                                                               ิ                                       ื
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................

2. การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใชกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนของครู
                                         ชื่อเรื่องที่วิจัย.......................................................................
1. ความเปนมาของปญหา
   สิ่งที่คาดหวัง..........................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
   สิ่งที่เปนจริง...........................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
   ปญหาที่พบคือ.......................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                      203

   สาเหตุของปญหาคือ..............................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
   แนวทางการแกปญหาคือ.......................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
2. วัตถุประสงคในการแกปญหา
   2.1 เพื่อแกปญหาเรื่อง...........................................................................................................................................
          ของนักเรียนชั้น..................... หอง........................... จํานวน............................ คน โดยใช............................
          ........................................................................................................................................................................
   2.2 เพื่อศึกษาผลการแกปญหาเกี่ยวกับ..................................................................................................................
          หลังจากที่ไดทดลองใชวิธีแกปญหาโดย.........................................................................................................
3. ขอบเขตของการแกปญหา
   3.1 กลุมเปาหมายในการแกปญหาคือ นักเรียนชั้น.......................... หอง................. จํานวน...........................คน
          ในภาคเรียนที่...................... ปการศึกษา................................... ที่มีปญหาเกี่ยวกับ........................................
   3.2 เนื้อหาที่ใชในการศึกษาคือ เรื่อง........................................................... หนวยการเรียนรู...............................
          วิชา...................................................................................
   3.3 ระยะเวลาในการศึกษา ประมาณ.......... สัปดาห/เดือน ตั้งแตวันที่....... เดือน.......................... พ.ศ. ..............
          ถึงวันที่................. เดือน..................................... พ.ศ. .........................
4. วิธีดําเนินการในการแกปญหา
   4.1 เครื่องมือที่ใชในการแกปญหา คือ..................................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
          ซึ่งมีขั้นตอนในการสรางและพัฒนาดังนี้
          ........................................................................................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
   4.2 เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคือ.....................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
          ซึ่งมีขั้นตอนในการสรางและตรวจสอบคุณภาพดังนี้
          ........................................................................................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                      204

   4.3 การเก็บรวบรวมขอมูล ไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตามวิธีการดังนี้
          1) นําเครื่องมือที่ใชในการแกปญหาไปทดลองใชกับนักเรียนในเวลา............................................................
               โดย............................................................................................................................................................
               ...................................................................................................................................................................
               ...................................................................................................................................................................
               ...................................................................................................................................................................
          2) นําเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลไปเก็บขอมูลเกี่ยวกับ.................................................................................
               โดย............................................................................................................................................................
               ...................................................................................................................................................................
               ...................................................................................................................................................................
               ...................................................................................................................................................................
   4.4 การวิเคราะหขอมูลและการสรุปผล ไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลและสรุปผลดังนี้
          ........................................................................................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
          ........................................................................................................................................................................
5. ผลการแกปญหา
   ผลการแกปญหาเกี่ยวกับ........................................................................................................................................
                      
   ของนักเรียนกลุมเปาหมาย ปรากฏผลดังนี้
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................
   ...............................................................................................................................................................................

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

La actualidad más candente (20)

Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 

Destacado

Destacado (16)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Similar a Unit5 (13)

Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Más de โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง

Más de โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง (16)

แนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับแนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับ
 
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a56dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
 
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
 
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde458ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
 
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173bCfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
 
เว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอนเว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอน
 
กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจคณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
 
Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 

Unit5

  • 1. หนวยการเรียนรูที่ 5 เรื่อง กิจกรรมการสํารวจรูปเรขาคณิตสามมิติ รายวิชาที่นํามาบูรณาการ - 1. มาตรฐานการเรียนรู มฐ. ค 3.1 2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ ค 3.1 ม.1/4, 5, 6 3. สาระการเรียนรูประจําหนวย 3.1 ภาพของรูปเรขาคณิต 3.2 รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ 3.3 กิจกรรมการสํารวจรูปเรขาคณิตสามมิติ 3.4 หนาตัดรูปเรขาคณิตสามมิติ 3.5 ภาพที่ไดจากการมองทางดานหนา ดานขาง และดานบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ 3.6 รูปเรขาคณิตที่สรางจากลูกบาศก 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก 1) ผลงานจากการทําแบบฝกหัด 1-2 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม 3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ 4.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก 1) การปฏิบัติกจกรรมในชั้นเรียน ิ 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัตกิจกรรมกลุม ิ 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 181 5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน 5.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก 1) การทําแบบฝกหัด 1-2 - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง - ฝกคิดตามและรวมทํากิจกรรมในชั้น 2) การทํากิจกรรมกลุม - แนะการทําแบบฝกหัด เรียน 3) การทํากิจกรรมบูรณาการ - อธิบายสรุปความคิดรวบยอดใน - ทําแบบฝกหัด แตละเรื่อง - ทําแบบทดสอบหนวยยอยเปนรายกลุม 5.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก 1) การปฏิบติกิจกรรมในชั้น ั - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังสรุป - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด เรียนและการใชบริการหอง ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อหา ประจําหนวย สมุดของโรงเรียนอยาง ประจําหนวย - ใหนักเรียนไปคนควาโจทยในหอง เหมาะสม - แนะนําใหนักเรียนใชบริการหอง สมุดโรงเรียนและหองสมุดกลุมสาระ 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติ สมุดของโรงเรียนอยางเหมาะสม การเรียนรูคณิตศาสตร กิจกรรมกลุม - แนะนําวิธีการจัดกลุมและการทํา - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครูมอบหมาย กิจกรรมกลุม และชวยกันทํากิจกรรมในชั้นเรียน 5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง - ทําแบบทดสอบหลังเรียนจบ การเรียน ความคิดรวบยอดประจําหนวยอีก ครั้ง
  • 3. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 182 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เรื่อง ภาพของรูปเรขาคณิตและรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ เวลา 4 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) วาดรูปคลี่ของทรงสามมิติ เชน ลูกบาศก พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ทรงกระบอก ปริซึมได 2) อธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติจากรูปเรขาคณิตสองมิติที่กาหนดใหได ํ 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) วาดรูปคลี่ของทรงสามมิติ เชน ลูกบาศก พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ทรงกระบอก ปริซมได ึ 2) อธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติจากรูปเรขาคณิตสองมิติที่กาหนดใหได ํ 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) ภาพของรูปเรขาคณิต 2) รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ 2.2 ทักษะ/กระบวนการ 1) ทักษะการใหเหตุผล 2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย 3) ทักษะการแกปญหา 2.3 ทักษะการคิด การคิดแปลความ การคิดวิเคราะห การคิดสรุปความ การคิดสังเคราะห 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมที่ 1-6 และแบบฝกหัด 1 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันทํากิจกรรมในหนังสือเรียนและแบบฝกหัด
  • 4. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 183 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนรูวิธีวาดรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติที่กําหนดให 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑผานขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (ภาพของรูปเรขาคณิต, รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ) ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ โดยใหนักเรียนแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะของรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติวาเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร พรอม ยกตัวอยางประกอบ ชั่วโมงที่ 2 (รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ (ตอ)) ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนเกี่ยวกับรูปคลี่ของลูกบาศก 5 แบบ ในชั่วโมงที่ 1 ชั่วโมงที่ 3 (รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ (ตอ)) ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนวิธีการสรางรูปคลี่ของพีระมิดฐานเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสและทรงกระบอก ชั่วโมงที่ 4 (รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ (ตอ)) ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนเกี่ยวกับวิธีการสรางรูปคลี่ของปริซึมฐานหาเหลี่ยมดานเทามุมเทา
  • 5. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 184 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (ภาพของรูปเรขาคณิตสามมิติ, รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ) 1. ครูอธิบายการเขียนภาพของรูปเรขาคณิตสามมิติโดยการวาดบนกระดาน และใหนก ั เรียนทําไปพรอมกันในสมุดจดงาน (รายละเอียดอยูในหนังสือเรียนหนา 173-176) 2. ครูใหคําแนะนําเพิ่มเติมวา การเขียนภาพของรูปเรขาคณิตสามมิติบนกระดาษจุดไอโซ เมตริกจะตองเขียนใหเห็นวามีความหนา (หรือความลึก) ซึ่งอาจใชการแรเงามาชวย หรือ เขียนรูปในลักษณะเอียงใหเห็นมุมมองที่เปนความหนา (หรือความลึก) 3. ครูใหนักเรียนสังเกตวา การเขียนภาพบนกระดาษจุดไอโซเมตริก สวนของเสนตรงที่ ตอจุด 2 จุดใดที่อยูติดกันทุกคูจะยาวเทากัน 4. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับสิ่งของที่เปนทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากวามีอะไรบาง ( เชน ทักษะการคิดวิเคราะห กลองกระดาษ กลองขนม เปนตน) 5. ครูใหนักเรียนสังเกตวาสิ่งที่นักเรียนตอบมานั้นมีลักษณะเปนรูปเรขาคณิตสามมิติหรือไม ทักษะการคิดแปลความ เพราะอะไร ใหนักเรียนชวยกันอธิบายคําตอบ 6. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติพรอมกัน ดังนี้ (รูป ทักษะการคิดสรุปความ เรขาคณิตสามมิติเปนรูปที่มีความกวาง ความยาว และความหนา) 7. ครูแจกลูกบาศกที่เตรียมมาใหนักเรียน กลุมละ 1 อัน ใหนกเรียนสังเกตลักษณะของ ั กลองลูกบาศกที่ไดรับพรอมกับวาดภาพประกอบ 8. นักเรียนแตละกลุมคลี่กลองลูกบาศกเพื่อทําการสํารวจตามกิจกรรมที่ 1 ในหนังสือ ทักษะการคิดวิเคราะห เรียนหนา 177 พรอมวาดรูปที่คลี่ออกมาลงในกระดาษ A4 ของแตละคนวาวาดไดอยางไร ให นํามาเปรียบเทียบกันเองในกลุมวาเหมือนหรือตางกัน จากนั้นแตละคนลองประกอบให เพื่อนดูตามแบบที่วาดจะไดเปนรูปทรงลูกบาศกเหมือนเดิมหรือไม 9. ใหแตละกลุมชวยกันสรุปผลที่ไดวาสรางรูปคลี่ของลูกบาศกไดกี่แบบ อะไรบาง และมี ทักษะการคิดสรุปความ แบบอื่นอีกหรือไม ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมารายงานผลพรอมกับแสดงตัวอยาง 10. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปผลอีกครั้งวานักเรียนในหองสรางรูปคลี่ของลูกบาศกไดกี่ ทักษะการคิดสรุปความ แบบ อะไรบาง จากนั้นครูแสดงใหนักเรียนดูบนกระดานทีละแบบ ดังนี้ 11. ครูมอบหมายงานใหนักเรียนสรางลูกบาศกจากรูปคลี่แบบตางๆ คนละ 1 แบบ แลวนํา มาสงในชั่วโมงถัดไป
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 185 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 2 (รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ (ตอ)) 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมทํากิจกรรมที่ 2 ในหนังสือเรียนหนา 178 2. ครูนํารูปพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสแสดงใหนักเรียนสังเกต แลวรวมกันพิจารณาวาเปน ทักษะการคิดวิเคราะห รูปเรขาคณิตสามมิติหรือไม เพราะเหตุใด 3. ครูใหนักเรียนชวยกันคิดวาจะเขียนรูปคลี่ของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่ครูแสดง ทักษะการคิดวิเคราะห ใหดูไดกี่แบบ ใหนักเรียนในแตละกลุมชวยกันคิดและเขียนรูปออกมา 4. ใหนักเรียนแตละกลุมนําภาพที่วาดไดมาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียนวาวาดไดอยางไร ทักษะการคิดแปลความ แลวแสดงการประกอบเปนพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมใหเพื่อนดู 5. นักเรียนและครูรวมกันสรุปวานักเรียนในหองสรางรูปคลี่ของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยม ทักษะการคิดสรุปความ จัตุรัสไดกี่แบบ อะไรบาง และมีแบบอื่น ๆ ที่นักเรียนยังไมไดสรางอีกกี่แบบ แบบใดบาง 6. ครูใหนักเรียนแบงกลุมทํากิจกรรมที่ 3 ในหนังสือเรียนหนา 179 จากนั้นใหนักเรียน ทักษะการคิดวิเคราะห ชวยกันตอบคําถามทายกิจกรรม 7. ครูใหนักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลงานพรอมกับตอบคําถามที่ไดจากการทํากิจกรรม ทักษะการคิดวิเคราะห วามีปญหาอะไรบาง แลวแกปญหากันอยางไร 8. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปวิธีการสรางรูปคลี่ของทรงกระบอกจากแผนภาพตอไปนี้ ทักษะการคิดสรุปความ 4. คลี่ออกทั้งหมด 1. นําทรงกระบอกนอนลง 3. เปดดานขางออก 2. แยกฐานและฝาบนออก 9. ครูใหนักเรียนสรางรูปทรงกระบอกจากรูปคลี่ โดยกําหนดขนาดเอง นํามาสงครูในชั่ว ทักษะการคิดสังเคราะห โมงถัดไป ชั่วโมงที่ 3 (รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ (ตอ)) 1. ครูแสดงปริซึมฐานหาเหลี่ยมดานเทามุมเทา และถามนักเรียนวาเปนรูปอะไร เพราะ ทักษะการคิดวิเคราะห เหตุใด
  • 7. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 186 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 2. ครูซักถามนักเรียนตอไปวาจะเรียกปริซึมนี้วาอยางไร (ปริซึมฐานหาเหลี่ยมดานเทามุมเทา) ทักษะการคิดวิเคราะห 3. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน เพื่อทํากิจกรรมที่ 4 ในหนังสือเรียนหนา 179-180 4. ใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันวาดรูปคลี่ของปริซึมฐานหาเหลี่ยมดานเทามุมเทาที่ความ ทักษะการคิดวิเคราะห ยาวของฐานแตละดานเปน 3 เซนติเมตร สูง 10 เซนติเมตร แลวจากนั้นใหนักเรียนใน กลุมสนทนากันวาเกิดปญหาอะไรบางในการลงมือปฏิบัติและชวยกันแกปญหาที่เกิดขึ้น อยางไร 5. ใหนกเรียนตัดรูปคลี่ที่สรางขึ้นนํามาประกอบเปนปริซึมฐานหาเหลี่ยมดานเทามุมเทา ั 6. นําผลงานของแตละกลุมมาวางไวหนาชั้นเรียนโดยครูเปนผูตัดสินความถูกตองของแต ละกลุม 7. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลงานและปญหาที่เกิดขึ้นของแตละกลุม พรอมทั้งบอกวิธี ทักษะการคิดวิเคราะห การแกปญหาของกลุมตัวเองวาทําอยางไร 8. นักเรียนรวมกันสรุปวา ใชวิธีสรางรูปคลี่ของปริซึมฐานหาเหลี่ยมดานเทามุมเทาได ทักษะการคิดสรุปความ อยางไรบาง โดยครูคอยเสริมบางเปนบางครั้ง 9. ครูใหนักเรียนสรางรูปปริซึมฐานหาเหลี่ยมดานเทามุมเทาหรือปริซึมแบบอื่นๆ จากรูป ทักษะการคิดสังเคราะห คลี่ โดยกําหนดขนาดเอง นํามาสงครูในชั่วโมงถัดไป ชั่วโมงที่ 4 (รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ (ตอ)) 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม ชวยกันลงมือทําตามขั้นตอนของกิจกรรมที่ 5 โดยครูคอยใหคํา ทักษะการคิดวิเคราะห แนะนําและตรวจสอบความถูกตอง 2. ใหแตละกลุมนําผลงานของตนเองนําเสนอหนาชั้นเรียน 3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปจากกิจกรรมที่ 5 วานักเรียนใชวิธีสรางรูปคลี่อยางไร ทักษะการคิดสรุปความ 4. ครูจัดหาทรงสามมิติแบบตาง ๆ เชน กรวย พีระมิด ปริซึม ทรงกระบอก และอื่นๆ มา ทักษะการคิดวิเคราะห วางไวหนาชั้นเรียน ใหนักเรียนแบงกลุมพิจารณาและสังเกตตามกิจกรรมที่ 6 ในหนังสือ เรียนหนา 181 5. ใหแตละกลุมนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลที่ไดจากการ ทักษะการคิดสรุปความ นําเสนอ 6. ครูใหนกเรียนทําแบบฝกหัด 1 เปนการบาน ั
  • 8. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 187 5.3 ขั้นสรุป นักเรียนและครูรวมกันสรุปตามประเด็นดังนี้ 1) ลักษณะของรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ 2) ลักษณะของรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติแบบตางๆ เชน ลูกบาศก พีระมิด ปริซึม ทรงกระบอก 6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 2 - ทรงสามมิติตางๆ เชน กรวย พีระมิด ปริซึม ทรงกระบอก  - กระดาษ A4 - อุปกรณการเขียนภาพ เชน ไมบรรทัด ดินสอ ยางลบ วงเวียน 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ใหนักเรียนแบงกลุม แตละกลุมไดรับบัตรกิจกรรมรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนแตละกลุมบอกวารูปคลี่แตละรูปเปนรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดใด พรอมวาดรูป ประกอบ
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 188 ขั้นสรุป นักเรียนควรวาดรูปเรขาคณิตสามมิติไดดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. ขั้นประยุกตใช - 7.2 กิจกรรมบูรณาการ -
  • 10. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 189 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ....................................................................... ตําแหนง ..................................................................
  • 11. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 190 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป .................... ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ ....................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 191 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่อง กิจกรรมการสํารวจรูปเรขาคณิตสามมิติ เวลา 4 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) สามารถวาดรูปคลี่ของทรงสามมิติ เชน ลูกบาศก พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ทรงกระบอก ปริซึมได 2) อธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติจากรูปเรขาคณิตสองมิติที่กาหนดใหได ํ 3) ระบุภาพสองมิตที่ไดจากการมองทางดานหนา(front view) ดานขาง(side view) หรือดานบน(top view) ิ ของรูปเรขาคณิตสามมิตที่กําหนดใหได ิ 4) วาดหรือประดิษฐรูปเรขาคณิตที่ประกอบขึ้นจากรูปเรขาคณิตสามมิติ เมื่อกําหนดใหมองรูปเรขาคณิต สามมิติจากดานหนา(front view) ดานขาง(side view) หรือดานบน(top view) 5) หาความสัมพันธระหวางมุมยอด หนา และขอบของทรงหลายหนาได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) สามารถวาดรูปคลี่ของทรงสามมิติ เชน ลูกบาศก พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ทรงกระบอก ปริซมได ึ 2) อธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติจากรูปเรขาคณิตสองมิติที่กําหนดใหได 3) ระบุภาพสองมิตท่ไดจากการมองทางดานหนา(front view) ดานขาง(side view) หรือดานบน(top view) ิ ี ของรูปเรขาคณิตสามมิตที่กําหนดใหได ิ 4) วาดหรือประดิษฐรูปเรขาคณิตที่ประกอบขึ้นจากรูปเรขาคณิตสามมิติ เมื่อกําหนดใหมองรูปเรขาคณิต สามมิติจากดานหนา(front view) ดานขาง(side view) หรือดานบน(top view) 5) หาความสัมพันธระหวางมุมยอด หนา และขอบของทรงหลายหนาได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) หนา สัน และจุดยอด 2) หนาตัดรูปเรขาคณิตสามมิติ 3) ภาพที่ไดจากการมองทางดานหนา ดานขาง และดานบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ 4) รูปเรขาคณิตที่สรางจากลูกบาศก 2.2 ทักษะ/กระบวนการ 1) ทักษะการใหเหตุผล 2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย 3) ทักษะการแกปญหา
  • 13. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 192 2.3 ทักษะการคิด การคิดแปลความ การคิดวิเคราะห การคิดสรุปความ การคิดสังเคราะห 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมที่ 1-3 และแบบฝกหัด 2 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันทํากิจกรรมและแบบฝกหัด 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนเขาใจถึงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติจากรูปเรขาคณิตสองมิติที่กําหนดใหได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑผานขั้นต่ํา  1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
  • 14. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 193 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (การสรางทรงหลายหนาแบบตางๆ) ครูและนักเรียนทบทวนลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดตางๆ และรูปคลี่แตละแบบ โดยครูติดแผนภูมิ ตอไปนี้บนกระดาน รูปเรขาคณิตสามมิติ รูปคลี่ ชั่วโมงที่ 2 (หนา สัน และจุดยอด) ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนลักษณะของรูปคลี่ของทรงหลายหนาแบบตางๆ ชั่วโมงที่ 3 (หนาตัดรูปเรขาคณิตสามมิต,ิ ภาพที่ไดจากการมองทางดานหนา ดานขาง และดานบนของ รูปเรขาคณิตสามมิติ) ครูและนักเรียนทบทวนสวนประกอบของทรงหลายหนา ไดแก หนา สัน จุดยอดมุม โดยครูและนักเรียน รวมกันอภิปรายเกี่ยวกับจํานวนหนา จํานวนสัน และจํานวนจุดยอดมุมของทรงหลายหนาตางๆ ชั่วโมงที่ 4 (รูปเรขาคณิตที่สรางจากลูกบาศก) ครูทบทวนการเขียนภาพที่ไดจากการมองดานบน ดานหนา และดานขาง โดยแนะนําหลักในการมองแตละ ดานวาใหแนวสายตาของผูมองตั้งฉากกับดานที่มอง แลวใหนักเรียนเขียนภาพที่ไดจากการมองรูปเรขาคณิตสามมิติ ตอไปนี้
  • 15. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 194 1. ภาพดานบน ภาพดานหนา ภาพดานขาง 2. ภาพดานบน ภาพดานหนา ภาพดานขาง 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (การสรางทรงหลายหนาแบบตางๆ) 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมชวยกันสรางทรงหลายหนาแบบตางๆ ตามกิจกรรมที่ 1 ใน ทักษะการคิดวิเคราะห หนังสือเรียนหนา 183 โดยใหนกเรียนใชกระดาษลอกลายลอกภาพแลวตัดออก แลว ั นํามาประกอบเปนรูปทรงตางๆ พรอมสังเกตและพิจารณาวิธีการทําแตละขั้นตอน 2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมนําเสนอการสรางรูปทรงหลายหนาแบบตางๆ กลุมละ 1 รูป พรอมแสดงวิธีประกอบรูป 3. ครูใหนักเรียนศึกษาการสรางรูปทรงหลายหนาแบบตางๆ จากการคนควาในหอง ทักษะการคิดสังเคราะห สมุดของโรงเรียนหรือหองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร แลวใหนักเรียนแตละ คนออกแบบรูปทรงหลายหนาและรูปคลี่ นํามาสรางเปนชิ้นงานสงครูในชั่วโมงถัดไป ชั่วโมงที่ 2 (หนา สัน และจุดยอด) 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม ทํากิจกรรมที่ 2 ในหนังสือเรียนหนา 186 ใหนกเรียนแตละ ั กลุมศึกษาสวนประกอบของรูปที่สรางขึ้นวามีสวนประกอบใดบาง ทักษะการคิดวิเคราะห 2. ใหนักเรียนศึกษาความหมายของหนา สัน และจุดยอดมุมของทรงหลายหนาแลวชวย กันอภิปรายหาขอสรุปจากการตอบคําถามตอไปนี้ ทักษะการคิดแปลความ 1) พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีหนากี่หนา มีจุดยอดมุมกี่มุม และมีสนกี่เสน ั
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 195 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 2) ปริซึมฐานสามเหลี่ยมมีหนากี่หนา มีจุดยอดมุมกี่มม และมีสันกี่เสน ุ 3) ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีหนากี่หนา มีจุดยอดมุมกี่มม และมีสนกี่เสน ุ ั 4) ปริซึมฐานหาเหลี่ยมดานเทามุมเทามีหนากี่หนา มีจุดยอดมุมกี่มุม และมีสนกี่เสน ั 5) ปริซึมฐานหกเหลี่ยมดานเทามุมเทามีหนากี่หนา มีจุดยอดมุมกี่มุม และมีสันกี่เสน 3. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลที่ไดจากการตอบคําถามขางตน 4. ครูใหนกเรียนแบงกลุมทํากิจกรรมที่ 3 ในหนังสือเรียนหนา 186-187 แลวใหนัก ั ทักษะการคิดสรุปความ เรียนแตละกลุมรายงานผลการสํารวจหนาชั้นเรียน 5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายผลที่ไดจากการสํารวจและรายงานหนาชั้นเรียนถึง ความสัมพันธระหวางจํานวนจุดยอดมุม จํานวนหนา และจํานวนสัน ในรูปของสม ทักษะการคิดแปลความ การ 6. ครูมอบหมายงานใหนกเรียนสํารวจทรงสามมิติและบอกจํานวนจุดยอดมุม จํานวน ั หนา และจํานวนสัน โดยการสรางทรงสามมิติจากรูปคลี่แบบตางๆ คนละ 1 ตัวอยาง ชั่วโมงที่ 3 (หนาตัดรูปเรขาคณิตสามมิติ, ภาพที่ไดจากการมองทางดานหนา ดานขาง และดานบนของรูปเรขาคณิตสามมิต) ิ 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมทํากิจกรรมที่ 1 ในหนังสือเรียนหนา 188 เมื่อทุกกลุมทําเสร็จ แลว รวมกันอภิปรายผลที่ได ทักษะการคิดวิเคราะห 2. ครูติดแผนภาพบนกระดาน ใหนกเรียนบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่เปนหนา ั ทักษะการคิดแปลความ ตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติตอไปนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห 1) 2) 3) 4) 5)
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 196 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ เฉลย 1) รูปวงกลม 2) รูปวงรี 3) รูปวงกลม 4) รูปสามเหลี่ยม 5) รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 3. ครูติดแผนภาพบนกระดาน ใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห 1) ทรงกระบอกมี กข เปนเสนผานศูนยกลางของฐาน ขค เปนสวนสูง ง ค (ก) Δกขค เปนรูปสามเหลี่ยมชนิดใด (ข) กขคง เกิดจากการใชระนาบตัดทรงกระบอก ก ข ตามแนวใด (ค) Δกขค มีความสัมพันธกับ กขคง อยางไร เฉลย (ก) รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (ข) แนวตั้งฉากกับฐานและผานจุดศูนยกลางของฐาน (ค) Δกขค เกิดจากการแบงครึ่ง กขคง ดังนั้น พื้นที่ Δกขค เทากับครึ่งหนึ่งของพื้น ที่ กขคง 2) ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมมุมฉาก จ ง (ก) กขคซ เปนรูปสี่เหลี่ยมชนิดใด ฉ ช (ข) ขˆ จ มีขนาดกี่องศา ซ ซ ค (ค) ขชจซ เกิดจากการใชระนาบตัดรูปทรง ก ข เรขาคณิตตามแนวใด เฉลย (ก) รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก (ข) 90° (ค) แนวเสนทแยงมุม จช และตั้งฉากกับฐาน 4. ครูใหนักเรียนแบงกลุม แตละกลุมไดรับแจกกลองทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากกลุมละ 1 ทักษะการคิดวิเคราะห กลอง ใหนักเรียนฝกมองภาพดานบน ภาพดานหนา และภาพดานขาง โดยครูแนะนํา หลักในการมองภาพแตละดานวา จะตองมองแตละดานตามแนวสายตาที่ตั้งฉากกับ ดานที่มอง แลวใหนักเรียนแตละกลุมเขียนภาพที่มองเห็นวาเปนรูปเรขาคณิตสองมิติ ชนิดใด 5. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1 ในหนังสือเรียนหนา 190 เมื่อทุกกลุมทําเสร็จแลวครู ทักษะการคิดสรุปความ และนักเรียนรวมกันสรุปลักษณะของภาพจากมุมมองแตละดาน 6. ครูติดแผนภาพที่กําหนดมุมมองแตละดาน ใหนักเรียนแบงกลุมวิเคราะหวาเปนภาพ ทักษะการคิดวิเคราะห
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 197 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ที่ไดจากการมองรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดใด โดยใหนักเรียนวาดรูปเรขาคณิตสามมิติ ชนิดนั้นๆ ขอ ภาพดานบน ภาพดานหนา ภาพดานขาง 1. 2. 3. 4. 5. 6. เฉลย 1. 2. 3. 4. 5. 6. ชั่วโมงที่ 4 (รูปเรขาคณิตที่สรางจากลูกบาศก) 1. ครูใหนักเรียนนําลูกบาศกที่เตรียมมารวมกันที่หนาหองเรียน โดยนํามาวางตอกันเปน ชั้นๆ โดยใหแตละชั้นมีจํานวนลูกบาศกเทากัน (จํานวนของลูกบาศกแตละชั้นคํานวณ จากจํานวนนักเรียนในหองเรียน)
  • 19. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 198 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั้นที่ 3 ชั้นที่ 2 ชั้นที่ 1 2. ใหนักเรียนสังเกตลักษณะการตอกันของลูกบาศก และเมื่อตอเสร็จแลวจะได รูป ทักษะการคิดวิเคราะห เรขาคณิตสามมิตชนิดใด (ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก) ิ 3. จากการสังเกตของนักเรียน ชวยกันตอบคําถามตอไปนี้พรอมกัน โดยครูเขียนขอ ทักษะการคิดวิเคราะห สรุปจากการตอบคําถามของนักเรียนบนกระดาน - รูปที่ไดเปนรูปทรงอะไร (ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก) - มีทั้งหมดกี่ช้น (3 ชั้น) ั - แตละชั้นมีลักษณะเปนอยางไร เหมือนหรือตางกัน (เหมือนกัน) - แตละชั้นประกอบดวยลูกบาศกกี่อัน (12 อัน) - ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากนี้ ตองใชลูกบาศกทั้งหมดกี่อัน (36 อัน) 4. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับการนําลูกบาศกมาตอกัน วาสามารถนํามาตอ ทักษะการคิดวิเคราะห เปนแบบอื่นไดหรือไม และมีความจําเปนหรือไมวาจะตองมีจํานวนลูกบาศกเทากันทุก ชั้น ใหนักเรียนชวยกันคิดแลวลองทดลองตอลูกบาศกในลักษณะตาง ๆ 5. ครูใหนักเรียนแบงกลุมเลนเกมตอภาพจากลูกบาศก โดยใหนักเรียนดูภาพที่จะสราง ทักษะการคิดวิเคราะห จากหนังสือเรียนหนา 191 ใหแตละกลุมเขียนภาพที่ไดจากการมองดานหนา ดานขาง และดานบน ของรูปเรขาคณิตสามมิติที่สรางได เปรียบเทียบภาพที่ไดกับเพื่อนกลุมอื่น เพื่อตรวจสอบความถูกตอง 6. ครูใหนกเรียนทํากิจกรรมที่ 1 ในหนังสือเรียนหนา 192-193 แลวอธิบายการเขียน ั ทักษะการคิดแปลความ จํานวนลูกบาศกกํากับไวในตารางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส (รายละเอียดอยูในหนังสือเรียน หนา 193-195) 7. ครูเขียนแผนภาพบนกระดานดําแลวใหนักเรียนตอลูกบาศก ดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดแปลความ 1 2 1 1 นักเรียนรวมกันอภิปรายและวิเคราะหภาพที่ได และเมื่อมองรูปเรขาคณิตสามมิติ จากดานตาง ๆ และวาดภาพสองมิติที่ไดจากการมอง
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 199 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 8. ครูใหนักเรียนแบงกลุมทํากิจกรรมที่ 2 ในหนังสือเรียนหนา 195 แลวสงตัวแทนมา รายงานผลที่ไดหนาชั้นเรียน โดยครูและเพื่อนๆ ชวยกันตรวจสอบความถูกตอง 9. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2 เปนการบาน 5.3 ขั้นสรุป ครูและนักเรียนรวมกันสรุปตามประเด็นดังนี้ 1) ความสัมพันธระหวางจํานวนจุดยอดมุม จํานวนหนา และจํานวนสันของรูปเรขาคณิตสามมิติ 2) ภาพที่ไดจากการมองรูปเรขาคณิตสามมิติจากดานตางๆ 6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 2 - กระดาษแข็ง - กรรไกร - กาว - รูปเรขาคณิตสามมิตแบบตางๆ เชน กรวย ทรงกระบอก พีระมิด ิ 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ -
  • 21. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 200 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ....................................................................... ตําแหนง ..................................................................
  • 22. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 201 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป .................... ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ ....................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 23. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 202 การประเมินและสะทอนตนเองหลังเสร็จสิ้นการเรียนในหนวยการเรียนรูที่ 5 (Self Reflection) 1. การประเมินตนเองของนักเรียน ใหดําเนินการดังนี้ 1.1 ครูทบทวนผลการเรียนรูประจําบททุกขอ ใหนักเรียนไดทราบ โดยอาจเขียนไวบนกระดาน พรอมทั้งทบ ทวนถึงหัวขอกิจกรรมการเรียนวาไดเรียนอะไรบาง 1.2 ใหนักเรียนเขียนบันทึกการประเมินตนเองไวในสมุดงานดานหลังตามหัวขอ ดังนี้ บันทึกการประเมินและสะทอนตนเองประจําหนวยการเรียนรูที่ 5 วัน/เดือน/ป ที่บันทึก ............... / ............... / ............... รายการบันทึก 1. จากการเรียนที่ผานมาไดมีความรูอะไรบาง ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 2. ปจจุบันนี้มีความสามารถปฏิบัติสิ่งใดไดแลวบาง ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 3. สิ่งที่ยังไมรู ไมกระจาง ไมเขาใจ มีอะไรบาง ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 4. ผลงานหรือชิ้นงานที่เนนความภาคภูมใจจากการเรียนในบทนี้คออะไร ทําไมจึงภาคภูมิใจ ิ ื ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 2. การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใชกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนของครู ชื่อเรื่องที่วิจัย....................................................................... 1. ความเปนมาของปญหา สิ่งที่คาดหวัง.......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... สิ่งที่เปนจริง........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ปญหาที่พบคือ....................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................
  • 24. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 203 สาเหตุของปญหาคือ.............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... แนวทางการแกปญหาคือ....................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 2. วัตถุประสงคในการแกปญหา 2.1 เพื่อแกปญหาเรื่อง........................................................................................................................................... ของนักเรียนชั้น..................... หอง........................... จํานวน............................ คน โดยใช............................ ........................................................................................................................................................................ 2.2 เพื่อศึกษาผลการแกปญหาเกี่ยวกับ.................................................................................................................. หลังจากที่ไดทดลองใชวิธีแกปญหาโดย......................................................................................................... 3. ขอบเขตของการแกปญหา 3.1 กลุมเปาหมายในการแกปญหาคือ นักเรียนชั้น.......................... หอง................. จํานวน...........................คน ในภาคเรียนที่...................... ปการศึกษา................................... ที่มีปญหาเกี่ยวกับ........................................ 3.2 เนื้อหาที่ใชในการศึกษาคือ เรื่อง........................................................... หนวยการเรียนรู............................... วิชา................................................................................... 3.3 ระยะเวลาในการศึกษา ประมาณ.......... สัปดาห/เดือน ตั้งแตวันที่....... เดือน.......................... พ.ศ. .............. ถึงวันที่................. เดือน..................................... พ.ศ. ......................... 4. วิธีดําเนินการในการแกปญหา 4.1 เครื่องมือที่ใชในการแกปญหา คือ.................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................ ซึ่งมีขั้นตอนในการสรางและพัฒนาดังนี้ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 4.2 เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคือ..................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ซึ่งมีขั้นตอนในการสรางและตรวจสอบคุณภาพดังนี้ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................
  • 25. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 2 204 4.3 การเก็บรวบรวมขอมูล ไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตามวิธีการดังนี้ 1) นําเครื่องมือที่ใชในการแกปญหาไปทดลองใชกับนักเรียนในเวลา............................................................ โดย............................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 2) นําเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลไปเก็บขอมูลเกี่ยวกับ................................................................................. โดย............................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 4.4 การวิเคราะหขอมูลและการสรุปผล ไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลและสรุปผลดังนี้ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 5. ผลการแกปญหา ผลการแกปญหาเกี่ยวกับ........................................................................................................................................  ของนักเรียนกลุมเปาหมาย ปรากฏผลดังนี้ ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................