SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 14
โดย นาย ธรรมรัตน์ แสงเพชร
นาย อัคคเดช อะทะยศ
นางสาว เสาวลักษณ์ กันใจแก้ว
นางสาว อินทิรา อินน้อย
ครูที่ปรึกษา นางสาว กัญญา โชคสวัสดิ์ภิญโญ
นางสาว จริยา ใจยศ
นาง อทิตยา ปิมปา
การศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้3 ชนิดได้แก่
มะนาว ส้มโอ และฝรั่ง โดยเทคนิควิธีการไทเทรตแบบ back titration ซึ่งอาศัย
ปฏิกิริยาระหว่าง IO3
- กับ I- มากเกินพอในสภาวะกรดทาให้เกิด I2 ที่มากเกิน
พอเพื่อทาปฏิกิริยากับวิตามินซีในผลไม้ทั้ง 3 ชนิด จนหมดแล้วหาปริมาณ I2 ที่
เหลือโดยการไทเทรตกับสารละลายมาตรฐานทุติยภูมิ 0.2 M Na2S2O3 โดยใช้
น้าแป้งเป็นอินดิเคเตอร์ จุดยุติเปลี่ยนจากสีน้าเงินเป็นไม่มีสี การศึกษาพบว่า
ความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้ทั้ง 3 ชนิดคือ มะนาว ส้มโอ และฝรั่ง
เท่ากับ 0.3486, 0.3406 และ 0.3240 mol/dm3 ตามลาดับ
ดังนั้นจากการศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นของปริมาณวิตามินซีใน
ผลไม้สรุปได้ว่า ผลไม้ที่มีความเข้มข้นของวิตามินซีมากที่สุดคือ มะนาว ส้ม
โอ และฝรั่ง ตามลาดับ
วัตถุประสงค์
ปัญหา
สมมติฐาน
เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซี
ในส้มโอ ฝรั่ง และมะนาว
วิตามินซีในส้มโอ ฝรั่ง และมะนาว มีความเข้มข้น
ของวิตามินซีแตกต่างกันหรือไม่
ความเข้มข้นของวิตามินซีในส้มโอจะมีมากกว่า
ในฝรั่ง และมะนาว
ตัวแปร
ขอบเขตของการศึกษา
ตัวแปรต้น : ชนิดของผลไม้
ตัวแปรตาม : ความเข้มข้นของวิตามินซี
ตัวแปรควบคุม : air oxidation ของ ascorbic acid (วิตามินซี)
ปริมาณของน้าผลไม้ อุณหภูมิ
ในการวิจัยครั้งนี้ ศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีใน
ผลไม้3 ชนิดคือ ส้มโอ ฝรั่ง และมะนาว ด้วยวิธีการไทเทรตแบบ
Back titration โดยใช้สารละลายมาตรฐานโซเดียมไธโอซัลเฟต
(Na2S2O3) เข้มข้น 0. 20 M
วัสดุอุปกรณ์
สารเคมี
วิธีการดาเนินงาน
ผลการดาเนินงาน
อภิปรายผลการดาเนินงาน
จากการวิเคราะห์ปริมาณความเข้มข้นของวิตามินซีที่อยู่ในผลไม้คือ มะนาว
ส้มโอและฝรั่ง โดยการ standardize สารละลาย Na2S2O3 ด้วยสารละลาย
มาตรฐานปฐมภูมิ KIO3 เนื่องจากสารละลาย Na2S2O3 เป็นสารที่ไม่เสถียร จึงไม่
สามารถใช้เป็นสารละลายมาตรฐานปฐมภูมิได้ โดยผสมสารละลาย KIO3 กับ KI
มากเกินพอในสภาวะกรด แล้วนาไปไทเทรตหาปริมาณ I2 ที่เกิดขึ้นด้วย Na2S2O3
และใช้น้าแป้งเป็นอินดิเคเตอร์ จุดยุติเปลี่ยนสีจากสีน้าเงินเป็นไม่มีสี
จากนั้นวิเคราะห์หาความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้ทั้ง 3 ชนิด โดยวิธีการ
ไทเทรตแบบ Back titration เพื่อหาความเข้มข้นวิตามินซีจากน้าผลไม้จะอาศัย
ปฏิกิริยาระหว่าง IO3
- กับ I- มากเกินพอในสภาวะกรดทาให้เกิด I2 ที่มากเกินพอ
เพื่อทาให้ปฏิกิริยากับวิตามินซีในสารตัวอย่างจนหมดแล้วหาปริมาณ I2 ที่เหลือ
โดยการไทเทรตกับสารละลายมาตรฐานทุติยภูมิ Na2S2O3 โดยใช้น้าแป้งเป็นอินดิ
เคเตอร์ จุดยุติเปลี่ยนจากสีน้าเงินเป็นไม่มีสี สมการปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นทั้งหมดดังนี้
จากการศึกษาปริมาณความเข้มข้นของวิตามินซีที่อยู่ใน
ผลไม้คือ มะนาว ส้มโอและฝรั่ง โดยวิธีการไทเทรตแบบ
Back titration พบว่า สารสกัดจากผลไม้ทั้ง 3 ชนิด ได้แก่
มะนาว ส้มโอและฝรั่ง มีความเข้มข้นของวิตามินซี เท่ากับ
0.3486 , 0.3406 และ 0.3240 mol/dm3 ตามลาดับ ดังนั้น
ความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้เรียงลาดับจากมากที่สุดคือ
มะนาว ส้มโอ และฝรั่ง ตามลาดับ
สรุปผลการดาเนินงาน
ข้อเสนอแนะ
โครงงานเรื่องการศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีใน
ผลไม้สามารถนาไปต่อยอดโดยการไทเทรตหาความเข้มข้นของวิตามินซี
ในแต่ละส่วนของผลไม้เช่น ในเปลือกหรือผิวของผลไม้ส่วนเนื้อหรือ
ส่วนเมล็ดของผลไม้รวมทั้งยังสามารถคานวณหาปริมาณวิตามินซีใน
ผลไม้ต่อน้าหนักของผลไม้ได้

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กSakad Rinrith
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันKatewaree Yosyingyong
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมJiraporn
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)พัน พัน
 

La actualidad más candente (20)

เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
 

การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้