SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 32
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 7
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น เป็นการนาเทคโนโลยีมาบันทึก
และถ่ายทอดองค์ความรู้ของท้องถิ่นในการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การรายงานผลข้อมูล
และการบริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญในการจัดรวบรวมข้อมูล
ท้องถิ่น ระบบฐานข้อมูลท้องถิ่น การประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ความรู้ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการสารสนเทศ ได้แก่ เทคโนโลยีการจัดเก็บและสร้าง
องค์ความรู้ เทคโนโลยีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเทคโนโลยีการเข้าถึงความรู้ รวมทั้งการประยุกต์
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
แนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทสาคัญในการนามาใช้ประกอบการตัดสินใจ อีกทั้ง
เทคโนโลยีสารสนเทศยังมีส่วนช่วยในการจัดการข้อมูลข่าวสารให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพ
1. ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเครื่องมือสาคัญของการจัดการสารสนเทศซึ่งใช้เป็น
ส่วนหนึ่งของการดาเนินงานในหน่วยงาน มีความหมายหลากหลาย ดังนี้
จิตใส เก่งสาริกิจ (2556 : 8-23) ให้แนวคิดว่า เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ในการ
จัดการผลิตเนื้อหาด้วยการบันทึก การแปลงจากแอนะล็อกให้เป็นดิจิทัล และใช้ในการจาแนก
หมวดหมู่ การเผยแพร่ด้วยการนาส่งและการกระจาย รวมถึงการบารุงรักษาในระบบจัดการต่าง ๆ
และใช้ในการทาลายและการสงวนรักษาเนื้อหา
ชนวัฒน์ โกญจนาวรรณ (2550 : 44) กล่าวถึง เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ในการ
จัดการเกี่ยวกับระบบจัดเก็บและประมวลผล ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และอุปกรณ์สนับสนุนการ
ปฏิบัติงานด้านสารสนเทศที่มีการวางแผนจัดการและใช้งานร่วมกัน
ปริญญา ฉายะพงษ์ (2554 : 7-5) กล่าวว่า เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการ
ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกและถ่ายทอดองค์ความรู้ของ
ชุมชนในท้องถิ่นในการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การรายงานผลข้อมูล และการบริการ
สารสนเทศไปยังผู้ใช้ ประกอบด้วย เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม
โดยองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ สารสนเทศบุคคล บุคลากร
และขั้นตอนการทางาน
ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และครรชิต มาลัยวงศ์ (2549 : 105) กล่าวว่า เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยในการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้อานวยความสะดวกและรวดเร็ว
โดยทาหน้าที่จัดเก็บ ประมวลผลให้เป็นสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศทาหน้าที่เชื่อมโยง
คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ทาให้สามารถส่งข้อมูลสารสนเทศไปยังเครื่องอื่น ๆ ได้
สรุปว่า เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยอานวยความสะดวกในการจัดการดาเนินงาน
โดยนาไปประยุกต์กับงานเกี่ยวกับเนื้อหาในองค์กร การผลิต การเผยแพร่ การจัดเก็บ และการ
บารุงรักษา และนาเทคโนโลยีสารสนเทศใช้ในการพัฒนาฐานข้อมูล เพื่อเกิดความสะดวกรวดเร็ว
ประหยัดเวลาในการสืบค้น ได้ผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และทันต่อเหตุการณ์
2. ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิ่น (ปริญญา ฉายะพงษ์. 2554 : 7-5-7-6) ดังนี้
2.1 ด้านระบบฐานข้อมูลท้องถิ่นเพื่อประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ ในท้องถิ่น เช่น ด้าน
การเกษตร การชลประทาน การสาธารณสุข การพยากรณ์ดินฟ้าอากาศ การพาณิชย์ การทา
อุตสาหกรรมในครัวเรือน อีกทั้งบูรณาการความรู้เข้ากับสารสนเทศในแขนงต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
จะเกิดองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อท้องถิ่นได้ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม
2.2 ด้านการประชาสัมพันธ์ การเผยแพร่ การแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือสารสนเทศ ได้
อย่างรวดเร็ว แม่นยา ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่าย โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นแหล่งรวบรวมของข้อมูลขนาดใหญ่จากแหล่ง
ต่าง ๆ ทั้งในท้องถิ่น ในภูมิภาคและในโลก ซึ่งสะสมมาตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันทาให้เกิดการสร้างสังคม
แห่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะเกิดระบบเครือข่ายสารสนเทศสามารถ
สร้างและกระจายองค์ความรู้ ไปสู่ชุมชนทุกระดับได้อย่างทั่วถึง
2.3 ด้านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในท้องถิ่นแบบสองทาง เนื่องจากเทคโนโลยี
สารสนเทศมีความสามารถในการรับและส่งข้อมูลหรือสารสนเทศถึงกันได้ ทาให้เกิดการร่วมมือจาก
ชุมชนในท้องถิ่นและสามารถนาไปขยายผลสู่ชุมชนหรือท้องถิ่นอื่น ๆ ต่อไป ลดช่องว่างระหว่างคนใน
สังคมลงได้
3. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลกระทบต่อการจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
(ชนวัฒน์ โกญจนาวรรณ. (2550 : 22-24); ปริญญา ฉายะพงษ์. (2554 : 7-6) ดังนี้
3.1 เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้ชุมชนในท้องถิ่นเปลี่ยนจากชุมชนอุตสาหกรรมหรือ
ชุมชนเกษตรกรรมมาเป็นชุมชนสารสนเทศ
3.2 เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากระบบเศรษฐกิจในท้องถิ่น
ไปเป็นเศรษฐกิจโลกทาให้ระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกันทั้งโลก เกิดความเชื่อมโยงของเครือข่าย
สารสนเทศทาให้เกิดสังคมโลกาภิวัฒน์
3.3 เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้สังคมในท้องถิ่นเกิดความผูกพันและใกล้ชิดกันมาก
ขึ้นทาให้ท้องถิ่นสามารถเชื่อมโยงเครือข่ายกับภาคราชการและเอกชนได้อย่างรวดเร็วโดยอาศัยการ
ใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นตัวสนับสนุนเพื่อให้เกิดการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว
3.4 เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนามาประยุกต์ให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของคน
ในท้องถิ่นได้
3.5 เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยลดช่องว่างของโอกาสในการรับรู้ข่าวสารได้อย่างเป็น
รูปธรรม ทาให้เกิดสภาพคล่องในการทางานแบบทุกสถานที่และทุกเวลาได้
3.6 เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้การวางแผนการบริหารจัดการทรัพยากรในท้องถิ่น
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น
สรุปได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสาคัญในการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ
ท้องถิ่นทุกด้าน มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงท้องถิ่นในด้านวิถีชีวิตความเป็นอยู่ สังคม เศรษฐกิจ
วัฒนธรรม การศึกษา การแพทย์ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง
4. ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น จาแนกเป็น 2 ลักษณะ
(จิตใส เก่งสาริกิจ. (2556 : 8-25-8-44); ปริญญา ฉายะพงษ์. (2554 : 7-7) ดังนี้
4.1 เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการสารสนเทศท้องถิ่นจาแนกตามประเภทของ
เทคโนโลยี
เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น จาแนกตามประเภท
ของเทคโนโลยี แบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่
4.1.1 เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บและบันทึกข้อมูล เช่น กล้องดิจิทัล กล้องถ่าย
วีดิทัศน์ ดาวเทียมถ่ายภาพทางอากาศ เครื่องเอ็กซเรย์ ฯลฯ ปัจจุบันความก้าวหน้าทางด้าน
วิทยาศาสตร์ทาให้เกิดเครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมากมาย การเก็บข้อมูลเป็น
ขั้นตอนเริ่มต้นของการรวบรวมข้อมูล ดังนั้นอุปกรณ์เหล่านี้จึงต้องพัฒนาอยู่ตลอดเวลาเพื่อเพิ่ม
คุณภาพข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลจะเป็นสื่อในการบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เช่น
ฮาร์ดดิสก์ที่เป็นเทปแม่เหล็กและจานแม่เหล็ก จานแสงหรือจานเลเซอร์ บัตรเอทีเอ็ม เป็นต้น
กล่าวได้ว่าเป็นสื่อในการจัดเก็บข้อมูล และสามารถนาข้อมูลกลับไปประมวลผลใหม่และสามารถ
บันทึกข้อมูลซ้าได้ อุปกรณ์ส่วนนี้ทาหน้าที่เป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผลข้อมูล
4.1.2 เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลและแสดงผลข้อมูล อาทิ เทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ เครื่องพิมพ์ คีย์บอร์ด จอภาพ พลอตเตอร์
4.1.2.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง อุปกรณ์รับข้อมูล ทาหน้าที่นา
ข้อมูลหรือคาสั่งเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ CPU นาไปประมวลผลต่อไป เช่น คีย์บอร์ด เม้าส์
จอคอมพิวเตอร์ ไมโครโฟน สแกนเนอร์ และตัวเครื่อง นอกจากนี้ยังประกอบด้วยอุปกรณ์ต่อพ่วง
ต่าง ๆ ที่ช่วยเสริมให้คอมพิวเตอร์ทางานได้กว้าง และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เช่น เครื่อง
สแกนเนอร์ เครื่องดิจิไตส์เซอร์ ชุดมัลติมีเดีย อุปกรณ์สื่อสารอื่น ๆ ดังนั้นส่วนประกอบของเครื่อง
คอมพิวเตอร์แบ่งตามหน้าที่การทางานของเครื่องได้ดังนี้ หน่วยรับข้อมูล (Input unit) ทาหน้าที่ใน
การเตรียมข้อมูลเข้าสู่ระบบประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยประมวลผลกลาง (Central
processing unit) เป็นศูนย์รวมที่ทาหน้าที่ในการประมวลผล ประกอบด้วย หน่วยประมวลผล
(Processor) เป็นชิปเซตที่ทาหน้าที่ในการประมวลผลภายใน ซึ่งประกอบด้วย ส่วนควบคุม
(Control unit : CU) ทาหน้าที่ควบคุมการทางานส่วนต่าง ๆ ของระบบโดยส่งสัญญาณควบคุมผ่าน
ระบบบัส (Bus) และส่วนคานวณและเปรียบเทียบ (Arithmetic and logic unit : ALU) มีหน้าที่
หลัก คือ การคานวณและเปรียบเทียบข้อมูลด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์ และตรรกศาสตร์
หน่วยความจาหลัก (Main memory) เก็บคาสั่งเหล่านั้นไว้เพื่อทางานตามชุดคาสั่ง หน่วยความจา
หลัก ประกอบด้วย หน่วยความจาแบบอ่านได้อย่างเดียว (Read only menory : ROM) ทาหน้าที่
ในการเก็บชุดคาสั่งควบคุมการรับส่งข้อมูลพื้นฐาน คือ BIOS ซึ่งถูกกาหนดมาจากโรงงานผลิตเครื่อง
คอมพิวเตอร์หน่วยความจาส่วนนี้จะเก็บความจาไว้ตลอดอายุการใช้งานของเครื่อง อีกประเภทหนึ่ง
เรียกว่า หน่วยความจาแบบชั่วคราว (Random access menory : RAM )
4.1.2.2 ซอฟต์แวร์ (Software) เป็นชุดคาสั่งในการควบคุมการทางาน
เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่การเริ่มเปิดสวิตซ์เครื่องจนกระทั่งการปิดเครื่อง ชุดคาสั่งที่สร้างขึ้นนี้เป็น
ตัวแทนมนุษย์ในการสั่งงานให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ชุดคาสั่งมีมากมาย และการใช้งานแตกต่างกัน
ไป เช่น โปรแกรมระบบ (System software) หรือระบบปฏิบัติการ (Operating software)
โปรแกรมภาษา (Language software) โปรแกรมประยุกต์ (Application software) โปรแกรมช่วย
ในการจัดการระบบ (Utility software)
เทคโนโลยีนี้ใช้ในการแสดงผลข้อมูลหรือสารสนเทศที่ได้จากการ
ประมวลผล เป็นส่วนที่เชื่อมความสัมพันธ์และโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ หน่วยแสดงผลที่
เห็นได้ชัดเจน ได้แก่ จอคอมพิวเตอร์ ให้ความละเอียดของการแสดงผลได้ดีกว่าการแสดงผลออก
ทางสิ่งพิมพ์ แต่ไม่สามารถจับต้องได้เรียกว่า Softcopy ส่วนการแสดงผลออกทางสื่อสิ่งพิมพ์
เรียกว่า Hardcopy เช่น แผนที่แผนภูมิต่าง ๆ จัดพิมพ์ในรูปแบบกระดาษหรือแผ่นฟิล์ม
4.1.3 เทคโนโลยีที่ใช้ในการทาสาเนาภาพและเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร
เครื่องถ่ายไมโครฟิล์มการทาสาเนาเอกสารเป็นกระบวนการทาสาเนาต่าง ๆ เพื่อที่จะสามารถ
แจกจ่ายเอกสารให้กับผู้ใช้งานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้รวดเร็ว เทคโนโลยีด้านนี้มักถูกนามาใช้ใน
สานักงาน สามารถช่วยให้งานสานักงานสะดวกขึ้น เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องสาเนาระบบ
ดิจิทัล เป็นต้น
4.1.4 เทคโนโลยีที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล เป็นระบบโทรคมนาคมต่าง ๆ เช่น
โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง โทรเลข อีเมล สมาร์ตโฟน พีดีเอ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้ง
ระยะใกล้และไกล เทคโนโลยีการสื่อสารทาให้คนทุกมุมโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ด้วยการส่ง
ข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่อยู่ในรูปแบบของอีเมล (Electronic mail) ข้อความเสียง (Voice)
ข้อมูลสื่อผสม (Multimedia) ที่มีทั้งภาพเคลื่อนไหว เสียงและข้อความ เทคโนโลยีสาหรับถ่ายทอด
หรือการติดต่อสื่อสารข้อมูลในปัจจุบันมีหลายรูปแบบ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร การสื่อสารผ่าน
ดาวเทียม เป็นต้น ดังนั้นเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารจึงมีความสาคัญเป็นอย่างมากต่อการทางานใน
ท้องถิ่น เนื่องด้วยความสามารถในการสื่อสารรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ มีเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ความเร็วที่เพิ่มขึ้นจากระบบเทคโนโลยี และเทคโนโลยีมีขนาดและต้นทุนที่ลดลง เทคโนโลยีการ
ติดต่อสื่อสารที่นิยมใช้ ได้แก่ ระบบอินทราเน็ต (Intranet) และระบบอินเทอร์เน็ต (Internet)
เทคโนโลยีเหล่านี้ช่วยให้เกิดการประชุมทางไกล หรือการส่งผ่านข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น
4.2 เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการสารสนเทศท้องถิ่นจาแนกตามกระบวนการ
จัดการความรู้ (ปริญญา ฉายะพงษ์. 2554 : 7-7) ดังนี้
4.2.1 เทคโนโลยีการจัดเก็บความรู้และสร้างองค์ความรู้ เพื่อเสาะหาความรู้ที่
ท้องถิ่นที่ยังขาดอยู่ และทาโครงการจัดเก็บรักษาความรู้ท้องถิ่นเพื่อป้องกันไม่ให้ความรู้ท้องถิ่นสูญ
หาย หรือนามาต่อยอดเป็นความรู้ใหม่ต่อไป โดยใช้เครื่องมือในการสร้างสื่อความรู้ต่าง ๆ หรือ
เครื่องมือในการจัดเก็บ หรือบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ เช่น การจัดหมวดหมู่ความรู้ การจัดทา
ระบบฐานข้อมูล และคลังความรู้ท้องถิ่น และการจัดทาระบบการเข้าถึงความรู้ที่ง่ายต่อการใช้งาน
4.2.2 เทคโนโลยีที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นเทคโนโลยีที่ใช้เชื่อมโยงบุคคล
ภายในท้องถิ่นที่อยู่ต่างสถานที่ให้ติดต่อสื่อสารและเรียนรู้จากกันและกัน ส่งเสริมให้เกิดการ
ปฏิสัมพันธ์และการทางานที่เกื้อกูล สร้างกิจกรรมหลากหลายและเพื่อให้เกิดการแบ่งปันแลกเปลี่ยน
ความรู้
4.2.3 เทคโนโลยีการเข้าถึงความรู้และการเรียนรู้ เพื่อใช้สื่อสารความรู้ต่าง ๆ
ทาให้ข้อมูลสามารถเข้าถึงได้ง่าย ช่วยในการตัดสินใจและการแก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อถ่ายทอดความรู้
ให้คนทางานรู้จักนาความรู้ไปใช้ สนับสนุนและอานวยความสะดวกสาหรับการเรียนรู้ไปใช้ เกิดการ
เรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ ก่อให้เกิดแนวปฏิบัติที่ดีกว่าเดิม รวมทั้งสนับสนุนด้านการพัฒนา
เทคโนโลยีสารสนเทศท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพ และวางระบบฐานข้อมูลที่มีความถูกต้อง รวมทั้ง
กระบวนการประสานความร่วมมือกับกระบวนการพัฒนาท้องถิ่นและองค์กร หรือหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องในการจัดทาระบบฐานข้อมูลท้องถิ่น รวมทั้งวัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างเป็นระบบแล้ว
กระบวนการพัฒนาท้องถิ่นและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็น
เครื่องมือ และเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาชน ภาคประชาสังคมให้เข้ามามีส่วนร่วมทั้ง
การพัฒนาและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบอย่างสร้างสรรค์
สรุปได้ว่า เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น จาแนกได้เป็น 2 ลักษณะ
คือ ตามประเภทของเทคโนโลยี และตามกระบวนการจัดการความรู้ การจาแนกตามประเภทของ
เทคโนโลยี ได้แก่ เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บและบันทึกข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผล
และแสดงผลข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการทาสาเนาภาพและเอกสาร และเทคโนโลยีในการสื่อสาร
ข้อมูล ส่วนการจาแนกตามกระบวนการจัดการความรู้ เทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลงเรียนรู้ และ
เทคโนโลยีการเข้าถึงความรู้และการเรียนรู้
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสาคัญในการจัดการความรู้ท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์ การ
ประยุกต์ใช้งานจึงจาเป็นต้องมีความรู้ และความเข้าใจว่าเครื่องมือประเภทไหนเหมาะสมกับงาน
อะไร เพื่อให้การเลือกเครื่องมือเป็นไปด้วยความเหมาะสม และคุ้มค่า
1. ความหมายของการจัดการความรู้ท้องถิ่น
การจัดการความรู้ท้องถิ่น หมายถึง การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในท้องถิ่น ซึ่ง
กระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคล หรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในท้องถิ่นสามารถ
เข้าถึงความรู้ และพัฒนาท้องถิ่น รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันส่งผลให้ท้องถิ่นมี
ความรู้ที่สามารถคงอยู่คู่ท้องถิ่นต่อไป หัวใจของการจัดการความรู้ท้องถิ่นจึงอยู่ที่การนาความรู้ไปใช้
ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม (ปริญญา ฉายะพงษ์. 2554 : 7-14)
2. เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการจัดการความรู้ท้องถิ่น
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการจัดการความรู้ท้องถิ่นในที่นี้กล่าวถึง 3 ประเภท
(ปริญญา ฉายะพงษ์. 2554 : 7-15) ได้แก่
2.1 เทคโนโลยีการจัดเก็บความรู้และสร้างองค์ความรู้ เป็นการจัดเก็บความรู้ที่ได้มา
อย่างเป็นระบบ เช่น การจัดหมวดหมู่ความรู้ การจัดทาระบบฐานข้อมูลและคลังความรู้ การ
จัดทาระบบสืบค้น และจัดทาระบบการเข้าถึงความรู้ที่ง่ายต่อการใช้งาน ดังแสดงในตารางที่ 7.1
ตารางที่ 7.1 กระบวนการจัดการความรู้ท้องถิ่นโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการความรู้
กระบวนการจัดการ
ความรู้ท้องถิ่น
เทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่ใช้ในการจัดการความรู้
เป้าหมาย
การสร้างและแสวงหา
ความรู้
- Data mining tools
- OLAP tools
- Conceptual mapping tools
- Intelligent agents
- เพื่อรักษาความรู้เก่าและสร้าง
ความรู้ใหม่
- เพื่อแสวงหาความรู้ที่ดีที่สุดจาก
ภายนอก
- เพื่อกาจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว
การจัดการความรู้ให้เป็น
ระบบ
- Document management
systems
- เพื่อช่วยกลั่นกรองและจัดลาดับ
ข้อมูล
- เพื่อจัดเก็บความรู้อย่างเป็น
ระบบ
การประมวลและ
กลั่นกรองความรู้
- Case-based reasoning
- Visual maps
- Metadata repositories
- Data/Knowledge base
- Directories
- เพื่อช่วยกลั่นกรองและจัดลาดับ
ข้อมูล
- เพื่อจัดข้อมูลให้เป็นระบบเป็น
มาตรฐาน ถูกต้อง ทันสมัย
- ช่วยแปลความรู้และ
ประสบการณ์ต่าง ๆ เพื่อนาไป
จัดเก็บไว้ในฐานความรู้
การเข้าถึงความรู้ - E-mail
- Workflow software
- Data warehouse/Data mart
- Intranet, Web
- เพื่อใช้สื่อสารความรู้ต่าง ๆ
- ทาให้ข้อมูลสามารถเข้าถึงได้ง่าย
- เพื่อช่วยในการตัดสินใจและ
แก้ปัญหาต่าง ๆ
- Search and retrieval
technologies
- เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้คนทางาน
- เพื่อให้คนทางานนาความรู้ไปใช้
การแลกเปลี่ยนแบ่งปัน
ความรู้
- Collaboration tools
- Audio/Video conferencing
tools
- Meeting support software
- เพื่อเชื่อมโยงบุคลากรภายใน
หน่วยงานที่อยู่ต่างสถานที่เข้าไว้
ด้วยกัน
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการปฏิสัมพันธ์
และการทางานที่เกื้อกูลกัน
- เพื่อสร้างกิจกรรมหลากหลาย
ตารางที่ 7.1 (ต่อ)
กระบวนการจัดการ
ความรู้ท้องถิ่น
เทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่ใช้ในการจัดการความรู้
เป้าหมาย
- เพื่อให้เกิดการแบ่งปันและ
แลกเปลี่ยนความรู้
การเรียนรู้ - Intranet/Extranet
- Computer aided training
- เพื่อสนับสนุนและอานวยความ
สะดวกสาหรับการเรียนรู้
- เพื่อนาความรู้ไปใช้เกิดการเรียนรู้
และพัฒนาใหม่
2.2 เทคโนโลยีที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นเทคโนโลยีที่ใช้เชื่อมโยงบุคคล
ภายในท้องถิ่นที่อยู่ต่างสถานที่เข้าไว้ด้วยกันส่งผลให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ และการทางานที่เกื้อกูลกัน
สร้างกิจกรรมหลากหลาย และเพื่อให้เกิดการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
2.2.1 การประชุมทางไกลหรือวีดีโอคอนเฟอเรนซ์ (Video conference) คือ
การประชุมกันโดยมองเห็นกันด้วยวิธีการทางเทคโนโลยีการสื่อสาร โดยไม่ต้องพบกันจริง ๆ โดยการ
ประชุมการนั้นอาจเป็นรูปแบบการประชุมกันของกลุ่มบุคคลในสถานที่ต่าง ๆ โดยใช้อุปกรณ์ด้านการ
สื่อสารทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย ทาให้ไม่ต้องเดินทาง ไม่ต้องเสียเวลา ไม่เสียค่าใช้จ่าย
อื่น ๆ เช่น ค่าที่พัก ค่าสถานที่ ฯลฯ ด้านการศึกษา หมายถึง การศึกษาผ่านระบบการสื่อสาร ทาให้
ผู้เรียนไม่ต้องเดินทางเข้ามาที่สถานศึกษา ผู้สอนไม่ต้องเดินทางไปสอนในสถานที่ต่าง ๆ เพียง
จัดเตรียมในสถานที่ในพื้นที่ที่ต้องการ และเตรียมอุปกรณ์สาหรับการสื่อสารและแสดงภาพ เมื่อ
ระบบเริ่มทางาน ผู้เรียนในสถานที่ต่าง ๆ จะเรียนไปพร้อม ๆ กัน
2.2.2 การจัดการความรู้กับเครือข่ายเว็บสังคมในท้องถิ่น การจัดการความรู้ที่ใช้
กับเทคโนโลยีเว็บ 2.0 เป็นการจัดเก็บและเผยแพร่ความรู้ ข่าวหรือบทความ ศิลปะ วัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียม ประเพณี ท้องถิ่นต่าง ๆ ให้อยู่ในชุมชนออนไลน์ อาทิ เว็บบล็อก เว็บเครือข่าย
สังคม เกิดเป็นสังคมข้อมูลความรู้ขนาดใหญ่ที่ทุกคนสามารถเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งได้ สืบค้นได้ง่าย
ปัจจุบัน Weblogs, Twitter, Wikipedia, YouTube, Google เป็นเครื่องมือสาคัญในการจัดการ
ความรู้ เครือข่ายสังคม (Social network) ช่วยจัดการความรู้ในท้องถิ่นให้ดีขึ้นดังนี้
2.2.2.1 ช่วยให้กระบวนการจัดการความรู้ทาได้อย่างกว้างขวาง และ
สามารถจากัด หรือขยายขนาดของเครือข่ายสังคมตั้งแต่ระดับกลุ่มไปจนถึงระดับประเทศระดับ
สากลทั่วโลก
2.2.2.2 เปิดโอกาสให้เข้าถึงและร่วมเป็นส่วนหนึ่งได้ง่าย และสะดวก
ไม่ว่าจะเป็นส่วนหนึ่งของการถ่ายทอดความรู้หรือเป็นส่วนหนึ่งของการรับความรู้ไปใช้ หรือเป็นทั้ง
สองทิศทาง
2.2.2.3 การเข้าร่วมในเว็บเครือข่ายสังคม มักเป็นความสมัครใจทาให้
เกิดความเต็มใจในการทากิจกรรมต่าง ๆ ภายในเครือข่ายสังคม
2.2.2.4 เว็บเครือข่ายสังคม จะลบภาพของตาแหน่งหน้าที่ ความอาวุโส
ทางโครงสร้างองค์กรออกไป แล้วอยู่ร่วมกันโดยอาศัยความเคารพในองค์กรความรู้ ความเชี่ยวชาญ
ความคิดเห็น เป็นเกณฑ์ทางสังคมซึ่งเป็นส่วนดีที่สาคัญที่จะเห็นมาพิจารณาที่ตัวสาระขององค์
ความรู้แทนยศถาบรรดาศักดิ์ เปิดโอกาสให้ทุกคนกล้าที่จะแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ได้อย่างเต็มที่เปิด
มุมมองหลากหลายใหม่ ๆ
2.2.2.5 การนาคนที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน มาร่วมแลกเปลี่ยน
และตรวจสอบองค์ความรู้นั้นร่วมกับผู้เชี่ยวชาญร่วมกับบุคคลอื่น ๆ ในวงกว้างเพื่อมาปรับองค์ความรู้
ที่มีอยู่ให้เกิดความถูกต้องสมบูรณ์ที่สุด
2.2.2.6 สามารถสนทนาโต้ตอบ แลกเปลี่ยนทัศนะมุมมององค์ความรู้
นั้น ๆ กับผู้เชี่ยวชาญที่มีชื่อเสียงชั้นนาได้อย่างใกล้ชิดมากขึ้น
2.2.2.7 เว็บเครือข่ายสังคม ทาให้มีปฏิสัมพันธ์กันอย่างสม่าเสมอ จน
สร้างความรู้สึกผูกพันเป็นมิตรความไว้วางใจระหว่างกัน ที่จะช่วยให้เกิดความตั้งใจและใส่ใจต่อการ
ถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพมากกว่า
2.2.2.8 สามารถเรียนรู้ทาความเข้าใจได้จนถึงที่มา แนวคิดกระบวนการ
วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาหรือแม้กระทั่งรูปแบบการดาเนินชีวิตของผู้เชี่ยวชาญ และสมาชิกใน
สังคมได้อันจะเป็นประโยชน์ต่อการกลั่นกรององค์ความรู้ให้เข้าใจได้ลึกซึ้ง และมีความถูกต้องยิ่งขึ้น
สามารถเข้าร่วมเป็นสมาชิกในเว็บเครือข่ายสังคมที่มีความชานาญ หรือสนใจเรียนรู้ได้ เช่น อาจเข้า
ร่วมในชุมชนนักปฏิบัติของกลุ่มผู้ใช้ iPhone, BlackBerry, Windows, Apple, Cisco, Oracle,
CMS, ฯลฯ เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์องค์ความรู้ระหว่างกัน โดยภายในชุมชนนั้นอาจมีทั้ง
ผู้วิจัยและพัฒนา ผู้ผลิต ผู้เชี่ยวชาญ วิศวกรระบบ ผู้ชานาญการใช้ ผู้ใช้ระดับกลาง และระดับต้น
จนถึงมือใหม่หัดใช้ จากทั่วโลกได้แทบทั้งสิ้น และยังสามารถเข้าร่วมเครือข่ายสังคมอื่น ๆ ได้อีก เช่น
ในหนึ่งคนอาจเป็นสมาชิกได้ทั้งชุมชน ผู้ใช้ iPhone สมุนไพรหมอชาวบ้าน ยาและสุขภาพ
เศรษฐศาสตร์และการเมือง ธรรมะ กีฬาและสันทนาการ โดยที่แต่ละชุมชนก็ล้วนแต่มีผู้เชี่ยวชาญ
แต่ละระดับเช่นเดียวกันการที่คนที่สนใจในเรื่องราวเดียวกันยินดีมาอยู่ร่วมกันเป็นสังคม โดยอาศัย
เทคโนโลยีเว็บ 2.0 จึงก่อให้เกิดเว็บเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่เป็นทั้งเครื่องมือ เป็นทั้งกิจกรรมที่ช่วย
จัดการความรู้ได้อย่างดียิ่ง
ปัจจุบันสังคมแห่งการเรียนรู้ ในแขนงต่าง ๆ มีมากขึ้นมีการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์กันทุกสาขาวิชาชีพจัดเก็บความรู้อย่างเป็นระบบ สืบค้นได้ และในบางชุมชนนอกจากมี
กิจกรรมระหว่างกันภายในเว็บแล้วยังต่อยอดออกมาร่วมกิจกรรมกันถึงในสังคมชีวิตจริงอีกด้วย เช่น
ร่วมกันทาหนังสือ ตารา คู่มือ ทากิจกรรมสาธารณประโยชน์ ช่วยเหลือให้ความรู้แก่ชุมชน ออก
ค่ายหรือจัดอบรมสัมมนากันอย่างจริงจัง ในองค์ความรู้ที่ได้จากการรวบรวมแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์ของสมาชิกในชุมชนกันเอง กิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้ก็จะยิ่งช่วยขยายผลของการจัดการ
ความรู้ให้กว้างขวางมากขึ้น จากระดับกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice : COP)
ขยายสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ และสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ที่มีชีวิต มีความเคลื่อนไหว มีปฏิสัมพันธ์
ระหว่างกันอย่างสม่าเสมอ นั้นคือการจัดการความรู้ที่แท้จริง เพราะความรู้นั้นไม่เคยหยุดนิ่ง
นอกจากนี้ยังมีการสร้างระบบ e-Learning ที่มีลักษณะผสมผสานวิธีการเรียนรู้หลาย ๆ แบบ เช่น
เรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้จากเพื่อน หรือเรียนรู้จากวิทยากร
2.3 เทคโนโลยีที่ใช้ในการเข้าถึงความรู้และการเรียนรู้ เพื่อใช้สื่อสารความรู้ต่าง ๆ
ทาให้ข้อมูลสามารถเข้าถึงได้ง่าย ช่วยในการตัดสินใจ และแก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้
คนทางานรู้จักนาความรู้ไปใช้ และอานวยความสะดวกสาหรับการเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้เกิดการ
เรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ ผ่านกระบวนการพัฒนาชุมชนเสมือนจริง (Virtual community) การ
เสริมสร้างความรู้แก่เด็กและเยาวชนในการรู้เท่าทันเทคโนโลยีกระบวนการพัฒนาการเข้าถึงข้อมูล
ข่าวสารอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน รวมทั้งมีกลไกลและมาตรการที่รับรองทั้งทางด้านมนุษยชน
สิทธิส่วนบุคคลและมาตรการทางด้านกฎหมายเพื่อคุ้มครองสิทธิของประชาชน และการนา
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาประชาธิปไตย
2.3.1 อีเมล เป็นการติดต่อสื่อสารโดยใช้อีเมลสามารถทาได้โดยสะดวก และ
ประหยัดเวลา หลักการทางานของอีเมล์ก็คล้ายกับการส่งจดหมายธรรมดาคือ จะต้องมีที่อยู่ที่ระบุ
ชัดเจน ก็คือ อีเมลแอดเดรส (E-mail address)
2.3.2 เทคโนโลยีการสืบค้นสารสนเทศ เป็นการวิจัยและพัฒนาที่ได้รวมเอา
เทคนิคหลากหลายด้านมาประกอบกัน เพื่อให้การสืบค้นมีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการ
ของผู้ใช้มากที่สุด โดยเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นสามารถรองรับการสืบค้นเอกสารทั่วไปแบบเต็มเนื้อหา
(Full-Text search) การสืบค้นเชิงความหมายโดยผ่านการสร้างองค์ความรู้แบบออนโทโลยี
(Ontology) ซึ่งเป็นการจัดระบบความสัมพันธ์ของหน่วยภาษา การสืบค้นในรูปแบบภาษาธรรมชาติ
โดยใช้ AIML (Artificial intelligence markup language) การสืบค้นแบบพ้องเสียง การสืบค้น
แบบพ้องความหมาย นอกจากนี้ยังนาเอาเทคโนโลยีเว็บ 2.0 มาประยุกต์ คือ การกากับข้อมูลเชิง
สังคม
ความสาคัญของการจัดเก็บและค้นคืนข้อมูล เป็นกระบวนการทั้งการ
คัดเลือก ควบคุมโครงสร้างสารสนเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการเข้าถึง และ
กระบวนการสาคัญใด ๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึง
สารสนเทศที่เข้าเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งแหล่งจัดเก็บภายใน และแหล่ง
ภายนอก เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศ หรือรายการทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งบรรจุเนื้อหาตรงตาม
ความต้องการ และในการบริการจะนาส่งให้ผู้ใช้อย่างรวดเร็วทันการณ์ ทั้งนี้การจัดเก็บและค้นคืน
สารสนเทศเป็นระบบที่จัดทาทั้งด้วยแรงงานคน และด้วยคอมพิวเตอร์
ประโยชน์ในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ในหน่วยงานบริการ
สารสนเทศ เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศ และผู้ต้องการใช้
สารสนเทศ ทาให้การถ่ายโอนและไหลเวียนของสารสนเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นงาน
หลักที่เชื่อมโยงกับงานบริการ และเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้สารสนเทศให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง โดยสารมารถค้นสารสนเทศได้ตรงกับ
ความต้องการ และได้รับสารสนเทศทันต่อเวลา ซึ่งเป็นไปตามนโยบาย และวัตถุประสงค์ของ
หน่วยงานบริการสารสนเทศ และแหล่งทรัพยากรสารสนเทศทั่วโลกอย่างเสรีภายใต้ข้อกาหนดของ
กฎหมายในเรื่องสิทธิของการใช้สารสนเทศ ให้ความสาคัญแก่ผู้ใช้กลุ่มต่าง ๆ โดยจัดทาเอกสาร
แนะนาการใช้ฐานข้อมูลต่าง ๆ จัดเครื่องมืออานวยความสะดวก เครื่องมือการค้นคืนที่เหมาะสม
เพื่อให้ผู้ใช้ค้นคืนสารสนเทศได้ด้วยตัวเอง หรือผ่านบรรณารักษ์ตอบคาถาม มีการพัฒนารูปแบบการ
ดาเนินทางานจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศได้ด้วยตัวเอง เพื่อให้เกิดความรวดเร็วทั้งวิธีการจัดหา
จัดเก็บ และการค้นคืนสารสนเทศเพื่อให้ผู้ใช้ได้รับประโยชน์สูงสุด ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่
ถูกต้อง และตรงกับความต้องการเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ตามที่ต้องการและความสนใจ สนับสนุนผู้ใช้
ให้สามารถประเมิน แยกแยะทาความเข้าใจเชื่อมโยงความคิดของสารสนเทศ เพื่อการเลือกสรร
ศึกษา แสวงหา และติดตามสารสนเทศได้ด้วยตนเองเป็นผู้เรียนแบบพึ่งตัวเองตลอดไป การ
แลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้ Collaboration tools audio/video conferencing tools เพื่อ
เชื่อมโยงบุคลากรภายในองค์กรที่อยู่ต่างสถานที่เข้าไว้ด้วยกัน
2.3.3 อินเทอร์เน็ต คือ เครือข่ายนานาชาติที่เกิดจากองค์กรเครือข่ายขนาดเล็ก
มากมาย รวมเป็นเครือข่ายเดียวกันทั้งโลก หรือเครือข่ายสื่อสาร ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์
ทั้งหมดที่ต้องการเข้ามาในเครือข่าย สาหรับคาว่า Internet หากแยกศัพท์จะได้มา 2 คา คือ คาว่า
Inter และคาว่า net หมายถึง ระหว่าง หรือท่ามกลาง และคาว่า Net มาจากคาว่า Network หรือ
เครือข่าย เมื่อนาความหมายของทั้ง 2 คามารวมกัน จึงแปลว่าการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย
2.3.4 อินทราเน็ต คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กรเป็นบริการสารสนเทศ และ
การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกับอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น
อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง หรือระบบเครือข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ
เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเปิดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง
แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็นการจากัดขอบเขตในการใช้งาน ดังนั้นระบบ
อินเทอร์เน็ตในองค์กร คือ “อินทราเน็ต” แต่ในช่วงที่ชื่อนี้ยังไม่เป็นที่นิยม ระบบอินทราเน็ต ถูกเรียก
ในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็นต้น ประโยชน์
ของการนาอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ในหน่วยงาน สรุปได้ดังนี้
2.3.4.1 ลดต้นทุนในการบริหารข่าวสาร เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสาร
ต่าง ๆ ภายในองค์กร สามารถจัดเก็บอยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายดาย ด้วยการใช้ภาษา HTML
และใช้บราวเซอร์ในการอ่านเอกสาร ทาให้ลดค่าใช้จ่ายและเวลาในการจัดพิมพ์เอกสารกระดาษ
2.3.4.2 ช่วยให้ได้รับข่าวสารที่ใหม่ล่าสุดเสมอ เนื่องจากการจัดเก็บ
เอกสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขั้นตอนที่ยุ่งยากเหมือนการพิมพ์ลงกระดาษ และไม่เสียค่าใช้จ่าย
เพิ่มเติม ทาให้บุคลากรในองค์กรสามารถรับข่าวสารใหม่ล่าสุดได้เสมอ
2.3.4.3 ช่วยให้ติดต่อสื่อสารกันได้อย่างฉับไว ไม่ว่าบุคลากรจะอยู่ห่าง
กันคนละชั้น คนละตึกหรือคนละจังหวัด ด้วยการใช้เทคโนโลยีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยี
การคุยติดต่อผ่านแป้นพิมพ์ หรือแม้กระทั่งเทคโนโลยีประชุมทางไกล เป็นการช่วยลดการสูญเสีย
เวลาของบุคลากร ตลอดจนช่วยให้ทีมงานมีการประสานงานกันดีขึ้น
2.3.4.4 เสียค่าใช้จ่ายต่า การติดตั้งอินทราเน็ตจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่า
การติดตั้งซอฟต์แวร์การทางานแบบกลุ่ม (Workgroup software) ทั่วไปมาก เนื่องจากการใช้
เทคโนโลยีแบบเปิดของอินเทอร์เน็ต ทาให้สามารถใช้ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตที่มีราคาไม่สูง
นัก หรือในงานบางส่วนอาจไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย เนื่องจากมีซอฟต์แวร์และฟรีแวร์มากมายใน
อินเทอร์เน็ต นอกจากนี้หากองค์กรมีระบบเครือข่ายภายในอยู่แล้ว การติดตั้งระบบอินทราเน็ต
เพิ่มเติมจะเสียค่าใช้จ่ายต่ามาก เนื่องจากสามารถใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วได้ทันทีตามคุณสมบัติ
การใช้งานข้ามระบบ (Cross platform) ที่แตกต่างกันได้ของอินเทอร์เน็ต
2.3.4.5 เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีเปิด ทาให้องค์กรไม่ผูกติดกับผู้ค้าราย
ใดรายหนึ่ง จึงช่วยลดความเสี่ยงต่าง ๆ เช่น ผู้ค้าเลิกกิจการ ผู้ค้าเลิกการผลิตและสนับสนุน หรือ
ผู้ค้าขึ้นราคา เป็นต้น รวมทั้งให้สามารถหาซอฟต์แวร์ใหม่ ๆ ที่จะช่วยในการทางานได้อย่างรวดเร็ว
โดยไม่ต้องพึ่งผู้ผลิตเพียงรายเดียว
2.3.4.6 เตรียมความพร้อมขององค์กรที่จะเชื่อมเข้าต่ออินเทอร์เน็ตได้
ทันที รวมทั้งเป็นการเตรียมความรู้ของบุคลากรเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตด้วย ในปัจจุบันบริษัทชั้นนาใน
ต่างประเทศต่าง ๆ ได้นาเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรอย่างแพร่หลาย สาหรับ
อินทราเน็ตในประเทศไทยกาลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวคิดให้กับผู้บริหารองค์กร
อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังไม่พร้อมเรื่องงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตที่
แท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนา และเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็ยังมี
ศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก
กรณีศึกษาการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการสารสนเทศท้องถิ่นเป็นการใช้เครื่องมือ
ในการจัดเก็บรวบรวมเนื้อหาภูมิปัญญาท้องถิ่น การสร้างกระบวนการเรียนรู้เพื่อการเก็บและจัดการ
ข้อมูลอย่างเป็นระบบ และสามารถประยุกต์ใช้งานได้อย่างเหมาะสม การจัดการความรู้กับ
สารสนเทศท้องถิ่น ต้องอยู่บนรากฐานของความรู้ความเข้าใจในศาสตร์แต่ละด้านเพราะเป็นเรื่อง
ความรู้ที่คนในชุมชนหรือท้องถิ่นต้องเป็นผู้มีส่วนสาคัญในสร้าง สืบสาน หรือพัฒนาความรู้ภูมิปัญญา
โดยนาเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคปัจจุบันเข้ามาประสาน หากขาดการเชื่อมโยงก็จะทาให้ความรู้นั้น
อยู่ในวงจากัด และอาจสูญหายไปได้
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการความรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ท้องถิ่นต้องมีการสืบแสวงหาความรู้ หรืออาจสร้างขึ้นมาจากการทางานของคนในท้องถิ่น จะทาให้
เกิดผลดีต่อการพัฒนาท้องถิ่น เกิดการเปลี่ยนแปลงเรียนรู้ภายในกลุ่ม องค์กร หรือเครือข่ายในสังคม
ด้วย ตัวอย่างเช่น การรวบรวมบทความ หลัดคิด แนวทางปฏิบัติ การงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ข้อมูล
กลางทางวัฒนธรรม การวิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และการจัดทาแผนแม่บทชุมชนร่วมกันเก็บข้อมูล
ทาบัญชีรายจ่าย-รับของชุมชน จนกลายเป็นธุรกิจชุมชน รวมตัวกันเป็นเครือข่ายการผลิต และ
การตลาด เป็นต้น
1. ตัวอย่างระบบข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา กระทรวงวัฒนธรรม
สารบบข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา กระทรวงวัฒนธรรม เป็นส่วน
หนึ่งของศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม สารบบข้อมูลทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรมมี
วัตถุประสงค์เพื่อใช้งานประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารจังหวัดนครราชสีมา ข้อมูล
ประกอบด้วย
1.1 บุคคล/องค์กรทางวัฒนธรรม ได้แก่ ศิลปิน ปราชญ์ชาวบ้าน บุคคลสาคัญทาง
ศาสนานักเขียน/นักประพันธ์ สมาคม/ชมรม เครือข่ายทางวัฒนธรรม หน่วยงานทางวัฒนธรรม
1.2 สิ่งประดิษฐ์ทางวัฒนธรรม ได้แก่ โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ทัศนศิลป์ เอกสาร
หนังสือ สื่อโสตทัศน์เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องแต่งกาย
1.3 วิถีชีวิต ได้แก่ ชาติพันธุ์ ศาสนาและความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม ภาษา
และวรรณกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะการแสดงและดนตรี
1.4 สถานที่ทางวัฒนธรรม ได้แก่ แหล่งโบราณคดี อุทยานประวัติศาสตร์
โบราณสถาน สถาปัตยกรรมสาคัญศาสนสถาน พิพิธภัณฑ์ หอสมุด/ห้องสมุด หอจดหมายเหตุ
อนุสาวรีย์/อนุสรณ์สถาน สถานที่จัดแสดงทางวัฒนธรรม แหล่งท่องเที่ยว
เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการ ได้แก่ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Document
management) พบว่า เว็บไซต์นี้ได้กลั่นกรองจัดลาดับจัดสรรข้อมูลการจัดความรู้ให้เป็นระบบทาให้
ระบบสามารถค้นหาข้อมูลได้ง่าย มีการนาเทคโนโลยีสืบค้นสารสนเทศ (Search Technology)
สามารถใช้ประโยชน์ในการสืบค้นองค์ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการ โดย
ใช้คาสาคัญ (keyword) ในการสืบค้น และอินเทอร์เน็ต (Internet) โดยให้ผู้ใช้งานเรียนรู้ผ่าน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ภาพที่ 7.1 ระบบข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา
ที่มา : ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา. ออนไลน์. 2557.
2. ตัวอย่างระบบฐานข้อมูลศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น จังหวัดอุดรธานี
สานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เป็นหน่วยงานหลักในการ
ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย ได้ตระหนักถึงความสาคัญในการรวบรวมสารสนเทศ
จัดระบบฐานข้อมูลท้องถิ่น เพื่อใช้เป็นแหล่งในการศึกษาค้นคว้าด้านศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น การ
รวบรวมองค์ความรู้เพื่อการวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ทั้งยังเป็นการอนุรักษ์ นุบารุง และเผยแพร่
มรดกด้านศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติ
2.1 วัตถุประสงค์
2.1.1 เพื่อรวบรวมสารสนเทศท้องถิ่นของจังหวัดอุดรธานี หนองคาย และ
หนองบัวลาภู ซึ่งเป็นข้อมูลที่อยู่กระจัดกระจายตามหน่วยงานต่าง ๆ ยังไม่มีหน่วยงานที่รับผิดชอบ
โดยตรง
2.1.2 เพื่อสร้างฐานข้อมูลท้องถิ่นของจังหวัดอุดรธานี หนองคาย และ
หนองบัวลาภู สาหรับศึกษาวิจัยและใช้ประโยชน์ในทางวิชาการ
2.1.3 เพื่ออนุรักษ์และเผยแพร่สารสนเทศด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นให้
แพร่หลาย และเป็นการทานุบารุงและธารงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของท้องถิ่น และของชาติ
2.1.4 เพื่อเป็นการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้มีการนาไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์สูงสูดในเชิงพาณิชย์ การค้า และการท่องเที่ยว
2.1.5 เพื่อส่งเสริมให้ท้องถิ่น มีระบบคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อนามาใช้ให้
เกิดประโยชน์แก่ประเทศไทย
2.1.6 เพื่อนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดเก็บและค้นคืนข้อมูลท้องถิ่น
เป็นการเพิ่มช่องทางในการเข้าถึงสารสนเทศให้กับผู้สนใจทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
2.2 สารสนเทศที่จัดเก็บและรวบรวม ประกอบด้วย
2.2.1 ข้อมูลประจาจังหวัด
2.2.2 สถานที่สาคัญ
2.2.3 บุคคลสาคัญ
2.2.4 วิถีชาวบ้าน
2.2.5 ภูมิปัญญาชาวบ้าน
2.2.6 ของดีท้องถิ่น
2.2.7 ศิลปะและหัตถกรรม
2.2.8 อาหารพื้นบ้าน
2.2.9 พืชและสมุนไพรพื้นบ้าน
2.2.10 ภาษา
2.2.11 พิธีกรรมและความเชื่อ
2.2.12 การแต่งกาย
2.2.13 ศิลปะการแสดง
2.2.14 การละเล่นพื้นบ้าน
2.2.15 ข้อมูลผลงานดีเด่น เกียรติภูมิ รางวัลของแต่ละจังหวัด
2.2.16 ข้อมูลผลงานดีเด่น เกียรติภูมิ รางวัลของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
2.3 เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการ ได้แก่
2.3.1 การจัดความรู้ให้เป็นระบบ พบว่า เว็บไซต์นี้ได้ทากลั่นกรองจัดลาดับ
จัดสรรข้อมูลการจัดความรู้ให้เป็นระบบสามารถค้นหาข้อมูลได้ง่าย
2.3.2 เทคโนโลยีสืบค้นสารสนเทศ สามารถใช้ประโยชน์ในการสืบค้นหาองค์
ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการ โดยใช้คาสาคัญในการสืบค้น
2.3.3 อินเทอร์เน็ต โดยให้ผู้ใช้งานการเรียนผู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ภาพที่ 7.2 ระบบฐานข้อมูลศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น จังหวัดอุดรธานี
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. สานักศิลปะและวัฒนธรรม. ออนไลน์. 2557.
ภาพที่ 7.3 ตัวอย่างการแบ่งกลุ่มเนื้อหาท้องถิ่นบนเว็บไซต์
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. สานักศิลปะและวัฒนธรรม. ออนไลน์. 2557.
3. ตัวอย่างแหล่งข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี
ฐานข้อมูลนี้จัดทาขึ้นโดยสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุบลราชธานี การรวบรวมแหล่งความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุบลราชธานี โดยแบ่ง
ออกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้แก่ บุคคล พิพิธภัณฑ์ วัด แหล่งชุมชน และแหล่งโบราณคดี นอกจากนั้น
ได้รวบรวมแหล่งเรียนรู้สารสนเทศอีสานบนอินเทอร์เน็ต โดยได้ดาเนินการจัดการสารสนเทศให้เอื้อ
ต่อการใช้งาน ให้บริการและเผยแพร่สารสนเทศจากภูมิปัญญาท้องถิ่นออกสู่สาธารณชน
3.1 วัตถุประสงค์
3.1.1 เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัยในมหาวิทยาลัย
อุบลราชธานี
3.1.2 เพื่อสร้างฐานข้อมูลท้องถิ่น โดยรวบรวมเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้อยู่ใน
แหล่งเดียวกัน และปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ
3.1.3 เพื่อเป็นศูนย์กลางของการศึกษาค้นคว้า และวิจัย อานวยความสะดวกให้
ผู้ที่เกี่ยวข้อง หรือผู้ที่สนใจสามารถเข้าถึงข้อมูลได้สะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและสอดคล้องกับความ
ต้องการมากที่สุด
ภาพที่ 7.4 ตัวอย่างแหล่งข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. ออนไลน์.
2557.
3.2 เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการ ได้แก่
3.2.1 การจัดความรู้ให้เป็นระบบ พบว่า เว็บไซต์นี้ได้ทากลั่นกรอง จัดลาดับ
จัดสรรข้อมูลการจัดความรู้ให้เป็นระบบทาให้ระบบสามารถค้นหาข้อมูลได้ง่าย
3.2.2 เทคโนโลยีสืบค้นสารสนเทศ สามารถใช้ประโยชน์ในการสืบค้นความรู้ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการ โดยผู้ใช้งานเลือกการค้นจากหัวข้อที่มีอยู่ หรือ
กาหนดคาสาคัญในการสืบค้น
3.2.3 อินเทอร์เน็ต โดยให้ผู้ใช้งานการเรียนผู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ภาพที่ 7.5 การสืบค้นฐานข้อมูลท้องถิ่น
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. ออนไลน์.
2557.
ภาพที่ 7.6 ผลการสืบค้นฐานข้อมูลท้องถิ่น
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. ออนไลน์.
2557.
ภาพที่ 7.7 ปรากฏผลการสืบค้นฐานข้อมูลท้องถิ่นแบบไฟล์ PDF
ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. ออนไลน์.
2557.
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
1. ความหมายของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) หมายถึง
เครื่องมือที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ และโปรแกรมประมวลผลข้อมูล เพื่อช่วยในการนาเข้า จัดเก็บ
จัดเตรียม ดัดแปลง แก้ไข จัดการ และวิเคราะห์ พร้อมทั้งแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ตามวัตถุประสงค์
ต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ ดังนั้น GIS จึงเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์เพื่อใช้ในการจัดการ และบริหารการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงข้อมูลด้านพื้นที่ให้เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับระบบการไหลเวียนของข้อมูล และการ
ผสมผสานข้อมูลจากแหล่งสารสนเทศต่าง ๆ เช่น ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) หรือข้อมูลทุติยภูมิ
(Secondary data) เพื่อให้ได้สารสนเทศที่มีคุณค่าและสามารถนาไปใช้ในการบริหารจัดการได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ (วิเชียร ฝอยพิกุล. 2548 : 5-6; สุเพชร จิรขจรกุล. 2555 : 1) ดังที่ บรรพต
พิจิตรกาเนิด และฐิติยา เนตรวงษ์ (2553) พบว่า ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สามารถนาเสนอข้อมูล
ที่อยู่ในฐานข้อมูลในรูปของข้อมูลเชิงพื้นที่ โดยมีโปรแกรมที่ใช้ในการนาเสนอและวิเคราะห์ข้อมูล
และแสดงผลลัพธ์ออกมาในลักษณะข้อมูล ข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่ใช้มีลักษณะคล้ายคลึง
กับข้อมูลที่ใช้ในโปรแกรม Computer Aid Design (CAD) คือ ใช้ค่าพิกัด (Coordinate) เป็น
พื้นฐาน แต่ต่างกันที่พื้นฐานในด้านความสะดวก และการนาพิกัดมาใช้ในการเชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ ใน
ลักษณะความสัมพันธ์ที่เป็นโครงข่าย (Network) จะใช้ทฤษฎีกราฟ (Graph theory) เพื่อระบุและ
เชื่อมโยงวัตถุด้วยชุดของเส้นโค้ง (Arc) และจุด (Node) ลักษณะข้อมูลแบบโครงข่ายตามวิธีการของ
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นี้ เป็นโครงสร้างที่ดีกว่าและแตกต่างไป จากการเก็บข้อมูลลักษณะ
กราฟิกอื่น ๆ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สามารถเก็บข้อมูล และการสร้างภาพกราฟิกแล้ว ระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์ยังช่วยพล็อตรูปจากฐานข้อมูลที่เก็บไว้ในรูปแบบระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ด้วย นอกจากการจัดเก็บแผนที่ในลักษณะสัญลักษณ์ทางกราฟิกโครงสร้างข้อมูลของระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์
2. องค์ประกอบในการทางานของระบบ GIS
การทางานของระบบ GIS มีองค์ประกอบต่าง ๆ (สุเพชร จิรขจรกุล. 2555 : 31-
32) ประกอบด้วย 5 ส่วน ดังนี้
ภาพที่ 7.8 องค์ประกอบการทางานของระบบ GIS
ที่มา : ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย. ออนไลน์. 2558.
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Hardware) หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่เป็น
องค์ประกอบสนับสนุนกระบวนการสร้างฐานข้อมูลและจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ของ
หน่วยงาน ได้แก่ คอมพิวเตอร์และเครื่องต่อพ่วงอื่น ๆ ทั้งเครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์ กล้องถ่ายรูป
เครื่องกราดภาพ จีพีเอส ที่มีหน้าที่ในการนาเข้าข้อมูล ประมวลผล แสดงผล และผลิตผลลัพธ์ของ
การทางาน
2.2 โปรแกรม (Software) คือ โปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่ติดตั้งบนระบบฮาร์ดแวร์
เพื่อให้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สามารถทางานได้ตามรูปแบบ เพื่อจัดการข้อมูลระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร์ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ โดยเกี่ยวข้องกับโปรแกรมระบบปฏิบัติการ โปรแกรมระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์ และโปรแกรมสนับสนุนด้านเอกสารและการจัดการรูปภาพ เช่น โปรแกรม
WINDOWS XP, WINDOWS 7, Microsoft word, Excel, PowerPoint, Adobe photoshop,
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
ZeeZa Blackslott
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
yuyjanpen
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง  การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง  การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
Kanyanat Kate
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
justymew
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
Chuleekorn Rakchart
 

La actualidad más candente (20)

บทที่ 1 ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 1 ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 1 ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 1 ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
 
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
ลักษณะภูมิประเทศภาคเหนือ
 
Bangkok MICE City Profile (Thai)
Bangkok MICE City Profile (Thai)Bangkok MICE City Profile (Thai)
Bangkok MICE City Profile (Thai)
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วยบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง  การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง  การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้นแผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 
ตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการตัวอย่างหนังสือราชการ
ตัวอย่างหนังสือราชการ
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุด
 

Destacado

ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
Rainbow Tiwa
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
teerachon
 

Destacado (10)

หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
Knowledge Understanding
Knowledge UnderstandingKnowledge Understanding
Knowledge Understanding
 
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
 
ลักษณะของสารสนเทศท้องถิ่น
ลักษณะของสารสนเทศท้องถิ่นลักษณะของสารสนเทศท้องถิ่น
ลักษณะของสารสนเทศท้องถิ่น
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
 
TÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAM
TÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAMTÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAM
TÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAM
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 

Similar a อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57

เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
kachornchit_maprang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
kachornchit_maprang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
Oat_zestful
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
amphaiboon
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
amphaiboon
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
amphaiboon
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
airly2011
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Pornchai Chamta
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
Nittaya Intarat
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Theerapat Nilchot
 
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
filjerpark
 

Similar a อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57 (20)

ฟิต
ฟิตฟิต
ฟิต
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ....
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศบทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2งานนำเสนอบทที่2
งานนำเสนอบทที่2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์นพรัตน์ เสตะกลัพม์
นพรัตน์ เสตะกลัพม์
 

Más de นางสาวอัมพร แสงมณี

Más de นางสาวอัมพร แสงมณี (20)

คำถามท้ายบทบทที่ 9
คำถามท้ายบทบทที่ 9คำถามท้ายบทบทที่ 9
คำถามท้ายบทบทที่ 9
 
คำถามท้ายบทบทที่ 8
คำถามท้ายบทบทที่ 8คำถามท้ายบทบทที่ 8
คำถามท้ายบทบทที่ 8
 
คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7
 
คำถามท้ายบทบทที่ 6
คำถามท้ายบทบทที่ 6คำถามท้ายบทบทที่ 6
คำถามท้ายบทบทที่ 6
 
คำถามท้ายบทบทที่ 5
คำถามท้ายบทบทที่ 5คำถามท้ายบทบทที่ 5
คำถามท้ายบทบทที่ 5
 
คำถามท้ายบทบทที่ 4
คำถามท้ายบทบทที่ 4คำถามท้ายบทบทที่ 4
คำถามท้ายบทบทที่ 4
 
คำถามท้ายบทบทที่ 3
คำถามท้ายบทบทที่ 3คำถามท้ายบทบทที่ 3
คำถามท้ายบทบทที่ 3
 
คำถามท้ายบทบทที่ 2
คำถามท้ายบทบทที่ 2คำถามท้ายบทบทที่ 2
คำถามท้ายบทบทที่ 2
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 

อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57

  • 1. บทที่ 7 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น เป็นการนาเทคโนโลยีมาบันทึก และถ่ายทอดองค์ความรู้ของท้องถิ่นในการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การรายงานผลข้อมูล และการบริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญในการจัดรวบรวมข้อมูล ท้องถิ่น ระบบฐานข้อมูลท้องถิ่น การประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ความรู้ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการสารสนเทศ ได้แก่ เทคโนโลยีการจัดเก็บและสร้าง องค์ความรู้ เทคโนโลยีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเทคโนโลยีการเข้าถึงความรู้ รวมทั้งการประยุกต์ ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น แนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทสาคัญในการนามาใช้ประกอบการตัดสินใจ อีกทั้ง เทคโนโลยีสารสนเทศยังมีส่วนช่วยในการจัดการข้อมูลข่าวสารให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพ 1. ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเครื่องมือสาคัญของการจัดการสารสนเทศซึ่งใช้เป็น ส่วนหนึ่งของการดาเนินงานในหน่วยงาน มีความหมายหลากหลาย ดังนี้ จิตใส เก่งสาริกิจ (2556 : 8-23) ให้แนวคิดว่า เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ในการ จัดการผลิตเนื้อหาด้วยการบันทึก การแปลงจากแอนะล็อกให้เป็นดิจิทัล และใช้ในการจาแนก หมวดหมู่ การเผยแพร่ด้วยการนาส่งและการกระจาย รวมถึงการบารุงรักษาในระบบจัดการต่าง ๆ และใช้ในการทาลายและการสงวนรักษาเนื้อหา ชนวัฒน์ โกญจนาวรรณ (2550 : 44) กล่าวถึง เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ในการ จัดการเกี่ยวกับระบบจัดเก็บและประมวลผล ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และอุปกรณ์สนับสนุนการ ปฏิบัติงานด้านสารสนเทศที่มีการวางแผนจัดการและใช้งานร่วมกัน ปริญญา ฉายะพงษ์ (2554 : 7-5) กล่าวว่า เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการ ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกและถ่ายทอดองค์ความรู้ของ ชุมชนในท้องถิ่นในการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การรายงานผลข้อมูล และการบริการ
  • 2. สารสนเทศไปยังผู้ใช้ ประกอบด้วย เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม โดยองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ สารสนเทศบุคคล บุคลากร และขั้นตอนการทางาน ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และครรชิต มาลัยวงศ์ (2549 : 105) กล่าวว่า เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยในการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้อานวยความสะดวกและรวดเร็ว โดยทาหน้าที่จัดเก็บ ประมวลผลให้เป็นสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศทาหน้าที่เชื่อมโยง คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ทาให้สามารถส่งข้อมูลสารสนเทศไปยังเครื่องอื่น ๆ ได้ สรุปว่า เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยอานวยความสะดวกในการจัดการดาเนินงาน โดยนาไปประยุกต์กับงานเกี่ยวกับเนื้อหาในองค์กร การผลิต การเผยแพร่ การจัดเก็บ และการ บารุงรักษา และนาเทคโนโลยีสารสนเทศใช้ในการพัฒนาฐานข้อมูล เพื่อเกิดความสะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลาในการสืบค้น ได้ผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และทันต่อเหตุการณ์ 2. ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนท้องถิ่น (ปริญญา ฉายะพงษ์. 2554 : 7-5-7-6) ดังนี้ 2.1 ด้านระบบฐานข้อมูลท้องถิ่นเพื่อประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ ในท้องถิ่น เช่น ด้าน การเกษตร การชลประทาน การสาธารณสุข การพยากรณ์ดินฟ้าอากาศ การพาณิชย์ การทา อุตสาหกรรมในครัวเรือน อีกทั้งบูรณาการความรู้เข้ากับสารสนเทศในแขนงต่าง ๆ อย่างเหมาะสม จะเกิดองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อท้องถิ่นได้ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม 2.2 ด้านการประชาสัมพันธ์ การเผยแพร่ การแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือสารสนเทศ ได้ อย่างรวดเร็ว แม่นยา ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่าย โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นแหล่งรวบรวมของข้อมูลขนาดใหญ่จากแหล่ง ต่าง ๆ ทั้งในท้องถิ่น ในภูมิภาคและในโลก ซึ่งสะสมมาตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันทาให้เกิดการสร้างสังคม แห่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะเกิดระบบเครือข่ายสารสนเทศสามารถ สร้างและกระจายองค์ความรู้ ไปสู่ชุมชนทุกระดับได้อย่างทั่วถึง 2.3 ด้านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในท้องถิ่นแบบสองทาง เนื่องจากเทคโนโลยี
  • 3. สารสนเทศมีความสามารถในการรับและส่งข้อมูลหรือสารสนเทศถึงกันได้ ทาให้เกิดการร่วมมือจาก ชุมชนในท้องถิ่นและสามารถนาไปขยายผลสู่ชุมชนหรือท้องถิ่นอื่น ๆ ต่อไป ลดช่องว่างระหว่างคนใน สังคมลงได้ 3. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลกระทบต่อการจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น (ชนวัฒน์ โกญจนาวรรณ. (2550 : 22-24); ปริญญา ฉายะพงษ์. (2554 : 7-6) ดังนี้ 3.1 เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้ชุมชนในท้องถิ่นเปลี่ยนจากชุมชนอุตสาหกรรมหรือ ชุมชนเกษตรกรรมมาเป็นชุมชนสารสนเทศ 3.2 เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากระบบเศรษฐกิจในท้องถิ่น ไปเป็นเศรษฐกิจโลกทาให้ระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกันทั้งโลก เกิดความเชื่อมโยงของเครือข่าย สารสนเทศทาให้เกิดสังคมโลกาภิวัฒน์ 3.3 เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้สังคมในท้องถิ่นเกิดความผูกพันและใกล้ชิดกันมาก ขึ้นทาให้ท้องถิ่นสามารถเชื่อมโยงเครือข่ายกับภาคราชการและเอกชนได้อย่างรวดเร็วโดยอาศัยการ ใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นตัวสนับสนุนเพื่อให้เกิดการ แลกเปลี่ยนข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว 3.4 เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนามาประยุกต์ให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของคน ในท้องถิ่นได้ 3.5 เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยลดช่องว่างของโอกาสในการรับรู้ข่าวสารได้อย่างเป็น รูปธรรม ทาให้เกิดสภาพคล่องในการทางานแบบทุกสถานที่และทุกเวลาได้ 3.6 เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้การวางแผนการบริหารจัดการทรัพยากรในท้องถิ่น อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น สรุปได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสาคัญในการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ท้องถิ่นทุกด้าน มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงท้องถิ่นในด้านวิถีชีวิตความเป็นอยู่ สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม การศึกษา การแพทย์ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง
  • 4. 4. ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น จาแนกเป็น 2 ลักษณะ (จิตใส เก่งสาริกิจ. (2556 : 8-25-8-44); ปริญญา ฉายะพงษ์. (2554 : 7-7) ดังนี้ 4.1 เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการสารสนเทศท้องถิ่นจาแนกตามประเภทของ เทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น จาแนกตามประเภท ของเทคโนโลยี แบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 4.1.1 เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บและบันทึกข้อมูล เช่น กล้องดิจิทัล กล้องถ่าย วีดิทัศน์ ดาวเทียมถ่ายภาพทางอากาศ เครื่องเอ็กซเรย์ ฯลฯ ปัจจุบันความก้าวหน้าทางด้าน วิทยาศาสตร์ทาให้เกิดเครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมากมาย การเก็บข้อมูลเป็น ขั้นตอนเริ่มต้นของการรวบรวมข้อมูล ดังนั้นอุปกรณ์เหล่านี้จึงต้องพัฒนาอยู่ตลอดเวลาเพื่อเพิ่ม คุณภาพข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลจะเป็นสื่อในการบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ที่เป็นเทปแม่เหล็กและจานแม่เหล็ก จานแสงหรือจานเลเซอร์ บัตรเอทีเอ็ม เป็นต้น กล่าวได้ว่าเป็นสื่อในการจัดเก็บข้อมูล และสามารถนาข้อมูลกลับไปประมวลผลใหม่และสามารถ บันทึกข้อมูลซ้าได้ อุปกรณ์ส่วนนี้ทาหน้าที่เป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผลข้อมูล 4.1.2 เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลและแสดงผลข้อมูล อาทิ เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ เครื่องพิมพ์ คีย์บอร์ด จอภาพ พลอตเตอร์ 4.1.2.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง อุปกรณ์รับข้อมูล ทาหน้าที่นา ข้อมูลหรือคาสั่งเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ CPU นาไปประมวลผลต่อไป เช่น คีย์บอร์ด เม้าส์ จอคอมพิวเตอร์ ไมโครโฟน สแกนเนอร์ และตัวเครื่อง นอกจากนี้ยังประกอบด้วยอุปกรณ์ต่อพ่วง ต่าง ๆ ที่ช่วยเสริมให้คอมพิวเตอร์ทางานได้กว้าง และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เช่น เครื่อง สแกนเนอร์ เครื่องดิจิไตส์เซอร์ ชุดมัลติมีเดีย อุปกรณ์สื่อสารอื่น ๆ ดังนั้นส่วนประกอบของเครื่อง คอมพิวเตอร์แบ่งตามหน้าที่การทางานของเครื่องได้ดังนี้ หน่วยรับข้อมูล (Input unit) ทาหน้าที่ใน การเตรียมข้อมูลเข้าสู่ระบบประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยประมวลผลกลาง (Central processing unit) เป็นศูนย์รวมที่ทาหน้าที่ในการประมวลผล ประกอบด้วย หน่วยประมวลผล (Processor) เป็นชิปเซตที่ทาหน้าที่ในการประมวลผลภายใน ซึ่งประกอบด้วย ส่วนควบคุม
  • 5. (Control unit : CU) ทาหน้าที่ควบคุมการทางานส่วนต่าง ๆ ของระบบโดยส่งสัญญาณควบคุมผ่าน ระบบบัส (Bus) และส่วนคานวณและเปรียบเทียบ (Arithmetic and logic unit : ALU) มีหน้าที่ หลัก คือ การคานวณและเปรียบเทียบข้อมูลด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์ และตรรกศาสตร์ หน่วยความจาหลัก (Main memory) เก็บคาสั่งเหล่านั้นไว้เพื่อทางานตามชุดคาสั่ง หน่วยความจา หลัก ประกอบด้วย หน่วยความจาแบบอ่านได้อย่างเดียว (Read only menory : ROM) ทาหน้าที่ ในการเก็บชุดคาสั่งควบคุมการรับส่งข้อมูลพื้นฐาน คือ BIOS ซึ่งถูกกาหนดมาจากโรงงานผลิตเครื่อง คอมพิวเตอร์หน่วยความจาส่วนนี้จะเก็บความจาไว้ตลอดอายุการใช้งานของเครื่อง อีกประเภทหนึ่ง เรียกว่า หน่วยความจาแบบชั่วคราว (Random access menory : RAM ) 4.1.2.2 ซอฟต์แวร์ (Software) เป็นชุดคาสั่งในการควบคุมการทางาน เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่การเริ่มเปิดสวิตซ์เครื่องจนกระทั่งการปิดเครื่อง ชุดคาสั่งที่สร้างขึ้นนี้เป็น ตัวแทนมนุษย์ในการสั่งงานให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ชุดคาสั่งมีมากมาย และการใช้งานแตกต่างกัน ไป เช่น โปรแกรมระบบ (System software) หรือระบบปฏิบัติการ (Operating software) โปรแกรมภาษา (Language software) โปรแกรมประยุกต์ (Application software) โปรแกรมช่วย ในการจัดการระบบ (Utility software) เทคโนโลยีนี้ใช้ในการแสดงผลข้อมูลหรือสารสนเทศที่ได้จากการ ประมวลผล เป็นส่วนที่เชื่อมความสัมพันธ์และโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ หน่วยแสดงผลที่ เห็นได้ชัดเจน ได้แก่ จอคอมพิวเตอร์ ให้ความละเอียดของการแสดงผลได้ดีกว่าการแสดงผลออก ทางสิ่งพิมพ์ แต่ไม่สามารถจับต้องได้เรียกว่า Softcopy ส่วนการแสดงผลออกทางสื่อสิ่งพิมพ์ เรียกว่า Hardcopy เช่น แผนที่แผนภูมิต่าง ๆ จัดพิมพ์ในรูปแบบกระดาษหรือแผ่นฟิล์ม 4.1.3 เทคโนโลยีที่ใช้ในการทาสาเนาภาพและเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องถ่ายไมโครฟิล์มการทาสาเนาเอกสารเป็นกระบวนการทาสาเนาต่าง ๆ เพื่อที่จะสามารถ แจกจ่ายเอกสารให้กับผู้ใช้งานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้รวดเร็ว เทคโนโลยีด้านนี้มักถูกนามาใช้ใน สานักงาน สามารถช่วยให้งานสานักงานสะดวกขึ้น เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องสาเนาระบบ ดิจิทัล เป็นต้น
  • 6. 4.1.4 เทคโนโลยีที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล เป็นระบบโทรคมนาคมต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง โทรเลข อีเมล สมาร์ตโฟน พีดีเอ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้ง ระยะใกล้และไกล เทคโนโลยีการสื่อสารทาให้คนทุกมุมโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ด้วยการส่ง ข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่อยู่ในรูปแบบของอีเมล (Electronic mail) ข้อความเสียง (Voice) ข้อมูลสื่อผสม (Multimedia) ที่มีทั้งภาพเคลื่อนไหว เสียงและข้อความ เทคโนโลยีสาหรับถ่ายทอด หรือการติดต่อสื่อสารข้อมูลในปัจจุบันมีหลายรูปแบบ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร การสื่อสารผ่าน ดาวเทียม เป็นต้น ดังนั้นเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารจึงมีความสาคัญเป็นอย่างมากต่อการทางานใน ท้องถิ่น เนื่องด้วยความสามารถในการสื่อสารรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ มีเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ความเร็วที่เพิ่มขึ้นจากระบบเทคโนโลยี และเทคโนโลยีมีขนาดและต้นทุนที่ลดลง เทคโนโลยีการ ติดต่อสื่อสารที่นิยมใช้ ได้แก่ ระบบอินทราเน็ต (Intranet) และระบบอินเทอร์เน็ต (Internet) เทคโนโลยีเหล่านี้ช่วยให้เกิดการประชุมทางไกล หรือการส่งผ่านข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น 4.2 เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการสารสนเทศท้องถิ่นจาแนกตามกระบวนการ จัดการความรู้ (ปริญญา ฉายะพงษ์. 2554 : 7-7) ดังนี้ 4.2.1 เทคโนโลยีการจัดเก็บความรู้และสร้างองค์ความรู้ เพื่อเสาะหาความรู้ที่ ท้องถิ่นที่ยังขาดอยู่ และทาโครงการจัดเก็บรักษาความรู้ท้องถิ่นเพื่อป้องกันไม่ให้ความรู้ท้องถิ่นสูญ หาย หรือนามาต่อยอดเป็นความรู้ใหม่ต่อไป โดยใช้เครื่องมือในการสร้างสื่อความรู้ต่าง ๆ หรือ เครื่องมือในการจัดเก็บ หรือบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ เช่น การจัดหมวดหมู่ความรู้ การจัดทา ระบบฐานข้อมูล และคลังความรู้ท้องถิ่น และการจัดทาระบบการเข้าถึงความรู้ที่ง่ายต่อการใช้งาน 4.2.2 เทคโนโลยีที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นเทคโนโลยีที่ใช้เชื่อมโยงบุคคล ภายในท้องถิ่นที่อยู่ต่างสถานที่ให้ติดต่อสื่อสารและเรียนรู้จากกันและกัน ส่งเสริมให้เกิดการ ปฏิสัมพันธ์และการทางานที่เกื้อกูล สร้างกิจกรรมหลากหลายและเพื่อให้เกิดการแบ่งปันแลกเปลี่ยน ความรู้ 4.2.3 เทคโนโลยีการเข้าถึงความรู้และการเรียนรู้ เพื่อใช้สื่อสารความรู้ต่าง ๆ ทาให้ข้อมูลสามารถเข้าถึงได้ง่าย ช่วยในการตัดสินใจและการแก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อถ่ายทอดความรู้ ให้คนทางานรู้จักนาความรู้ไปใช้ สนับสนุนและอานวยความสะดวกสาหรับการเรียนรู้ไปใช้ เกิดการ เรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ ก่อให้เกิดแนวปฏิบัติที่ดีกว่าเดิม รวมทั้งสนับสนุนด้านการพัฒนา
  • 7. เทคโนโลยีสารสนเทศท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพ และวางระบบฐานข้อมูลที่มีความถูกต้อง รวมทั้ง กระบวนการประสานความร่วมมือกับกระบวนการพัฒนาท้องถิ่นและองค์กร หรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องในการจัดทาระบบฐานข้อมูลท้องถิ่น รวมทั้งวัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างเป็นระบบแล้ว กระบวนการพัฒนาท้องถิ่นและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็น เครื่องมือ และเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาชน ภาคประชาสังคมให้เข้ามามีส่วนร่วมทั้ง การพัฒนาและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบอย่างสร้างสรรค์ สรุปได้ว่า เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น จาแนกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ ตามประเภทของเทคโนโลยี และตามกระบวนการจัดการความรู้ การจาแนกตามประเภทของ เทคโนโลยี ได้แก่ เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บและบันทึกข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผล และแสดงผลข้อมูล เทคโนโลยีที่ใช้ในการทาสาเนาภาพและเอกสาร และเทคโนโลยีในการสื่อสาร ข้อมูล ส่วนการจาแนกตามกระบวนการจัดการความรู้ เทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลงเรียนรู้ และ เทคโนโลยีการเข้าถึงความรู้และการเรียนรู้ การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสาคัญในการจัดการความรู้ท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์ การ ประยุกต์ใช้งานจึงจาเป็นต้องมีความรู้ และความเข้าใจว่าเครื่องมือประเภทไหนเหมาะสมกับงาน อะไร เพื่อให้การเลือกเครื่องมือเป็นไปด้วยความเหมาะสม และคุ้มค่า 1. ความหมายของการจัดการความรู้ท้องถิ่น การจัดการความรู้ท้องถิ่น หมายถึง การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในท้องถิ่น ซึ่ง กระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคล หรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในท้องถิ่นสามารถ เข้าถึงความรู้ และพัฒนาท้องถิ่น รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันส่งผลให้ท้องถิ่นมี ความรู้ที่สามารถคงอยู่คู่ท้องถิ่นต่อไป หัวใจของการจัดการความรู้ท้องถิ่นจึงอยู่ที่การนาความรู้ไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม (ปริญญา ฉายะพงษ์. 2554 : 7-14) 2. เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการจัดการความรู้ท้องถิ่น เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการจัดการความรู้ท้องถิ่นในที่นี้กล่าวถึง 3 ประเภท (ปริญญา ฉายะพงษ์. 2554 : 7-15) ได้แก่
  • 8. 2.1 เทคโนโลยีการจัดเก็บความรู้และสร้างองค์ความรู้ เป็นการจัดเก็บความรู้ที่ได้มา อย่างเป็นระบบ เช่น การจัดหมวดหมู่ความรู้ การจัดทาระบบฐานข้อมูลและคลังความรู้ การ จัดทาระบบสืบค้น และจัดทาระบบการเข้าถึงความรู้ที่ง่ายต่อการใช้งาน ดังแสดงในตารางที่ 7.1 ตารางที่ 7.1 กระบวนการจัดการความรู้ท้องถิ่นโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการความรู้ กระบวนการจัดการ ความรู้ท้องถิ่น เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ใช้ในการจัดการความรู้ เป้าหมาย การสร้างและแสวงหา ความรู้ - Data mining tools - OLAP tools - Conceptual mapping tools - Intelligent agents - เพื่อรักษาความรู้เก่าและสร้าง ความรู้ใหม่ - เพื่อแสวงหาความรู้ที่ดีที่สุดจาก ภายนอก - เพื่อกาจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว การจัดการความรู้ให้เป็น ระบบ - Document management systems - เพื่อช่วยกลั่นกรองและจัดลาดับ ข้อมูล - เพื่อจัดเก็บความรู้อย่างเป็น ระบบ การประมวลและ กลั่นกรองความรู้ - Case-based reasoning - Visual maps - Metadata repositories - Data/Knowledge base - Directories - เพื่อช่วยกลั่นกรองและจัดลาดับ ข้อมูล - เพื่อจัดข้อมูลให้เป็นระบบเป็น มาตรฐาน ถูกต้อง ทันสมัย - ช่วยแปลความรู้และ ประสบการณ์ต่าง ๆ เพื่อนาไป จัดเก็บไว้ในฐานความรู้ การเข้าถึงความรู้ - E-mail - Workflow software - Data warehouse/Data mart - Intranet, Web - เพื่อใช้สื่อสารความรู้ต่าง ๆ - ทาให้ข้อมูลสามารถเข้าถึงได้ง่าย - เพื่อช่วยในการตัดสินใจและ แก้ปัญหาต่าง ๆ
  • 9. - Search and retrieval technologies - เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้คนทางาน - เพื่อให้คนทางานนาความรู้ไปใช้ การแลกเปลี่ยนแบ่งปัน ความรู้ - Collaboration tools - Audio/Video conferencing tools - Meeting support software - เพื่อเชื่อมโยงบุคลากรภายใน หน่วยงานที่อยู่ต่างสถานที่เข้าไว้ ด้วยกัน - เพื่อส่งเสริมให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ และการทางานที่เกื้อกูลกัน - เพื่อสร้างกิจกรรมหลากหลาย ตารางที่ 7.1 (ต่อ) กระบวนการจัดการ ความรู้ท้องถิ่น เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ใช้ในการจัดการความรู้ เป้าหมาย - เพื่อให้เกิดการแบ่งปันและ แลกเปลี่ยนความรู้ การเรียนรู้ - Intranet/Extranet - Computer aided training - เพื่อสนับสนุนและอานวยความ สะดวกสาหรับการเรียนรู้ - เพื่อนาความรู้ไปใช้เกิดการเรียนรู้ และพัฒนาใหม่ 2.2 เทคโนโลยีที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นเทคโนโลยีที่ใช้เชื่อมโยงบุคคล ภายในท้องถิ่นที่อยู่ต่างสถานที่เข้าไว้ด้วยกันส่งผลให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ และการทางานที่เกื้อกูลกัน สร้างกิจกรรมหลากหลาย และเพื่อให้เกิดการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ 2.2.1 การประชุมทางไกลหรือวีดีโอคอนเฟอเรนซ์ (Video conference) คือ การประชุมกันโดยมองเห็นกันด้วยวิธีการทางเทคโนโลยีการสื่อสาร โดยไม่ต้องพบกันจริง ๆ โดยการ ประชุมการนั้นอาจเป็นรูปแบบการประชุมกันของกลุ่มบุคคลในสถานที่ต่าง ๆ โดยใช้อุปกรณ์ด้านการ สื่อสารทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย ทาให้ไม่ต้องเดินทาง ไม่ต้องเสียเวลา ไม่เสียค่าใช้จ่าย อื่น ๆ เช่น ค่าที่พัก ค่าสถานที่ ฯลฯ ด้านการศึกษา หมายถึง การศึกษาผ่านระบบการสื่อสาร ทาให้
  • 10. ผู้เรียนไม่ต้องเดินทางเข้ามาที่สถานศึกษา ผู้สอนไม่ต้องเดินทางไปสอนในสถานที่ต่าง ๆ เพียง จัดเตรียมในสถานที่ในพื้นที่ที่ต้องการ และเตรียมอุปกรณ์สาหรับการสื่อสารและแสดงภาพ เมื่อ ระบบเริ่มทางาน ผู้เรียนในสถานที่ต่าง ๆ จะเรียนไปพร้อม ๆ กัน 2.2.2 การจัดการความรู้กับเครือข่ายเว็บสังคมในท้องถิ่น การจัดการความรู้ที่ใช้ กับเทคโนโลยีเว็บ 2.0 เป็นการจัดเก็บและเผยแพร่ความรู้ ข่าวหรือบทความ ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ท้องถิ่นต่าง ๆ ให้อยู่ในชุมชนออนไลน์ อาทิ เว็บบล็อก เว็บเครือข่าย สังคม เกิดเป็นสังคมข้อมูลความรู้ขนาดใหญ่ที่ทุกคนสามารถเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งได้ สืบค้นได้ง่าย ปัจจุบัน Weblogs, Twitter, Wikipedia, YouTube, Google เป็นเครื่องมือสาคัญในการจัดการ ความรู้ เครือข่ายสังคม (Social network) ช่วยจัดการความรู้ในท้องถิ่นให้ดีขึ้นดังนี้ 2.2.2.1 ช่วยให้กระบวนการจัดการความรู้ทาได้อย่างกว้างขวาง และ สามารถจากัด หรือขยายขนาดของเครือข่ายสังคมตั้งแต่ระดับกลุ่มไปจนถึงระดับประเทศระดับ สากลทั่วโลก 2.2.2.2 เปิดโอกาสให้เข้าถึงและร่วมเป็นส่วนหนึ่งได้ง่าย และสะดวก ไม่ว่าจะเป็นส่วนหนึ่งของการถ่ายทอดความรู้หรือเป็นส่วนหนึ่งของการรับความรู้ไปใช้ หรือเป็นทั้ง สองทิศทาง 2.2.2.3 การเข้าร่วมในเว็บเครือข่ายสังคม มักเป็นความสมัครใจทาให้ เกิดความเต็มใจในการทากิจกรรมต่าง ๆ ภายในเครือข่ายสังคม 2.2.2.4 เว็บเครือข่ายสังคม จะลบภาพของตาแหน่งหน้าที่ ความอาวุโส ทางโครงสร้างองค์กรออกไป แล้วอยู่ร่วมกันโดยอาศัยความเคารพในองค์กรความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความคิดเห็น เป็นเกณฑ์ทางสังคมซึ่งเป็นส่วนดีที่สาคัญที่จะเห็นมาพิจารณาที่ตัวสาระขององค์ ความรู้แทนยศถาบรรดาศักดิ์ เปิดโอกาสให้ทุกคนกล้าที่จะแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ได้อย่างเต็มที่เปิด มุมมองหลากหลายใหม่ ๆ 2.2.2.5 การนาคนที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน มาร่วมแลกเปลี่ยน และตรวจสอบองค์ความรู้นั้นร่วมกับผู้เชี่ยวชาญร่วมกับบุคคลอื่น ๆ ในวงกว้างเพื่อมาปรับองค์ความรู้ ที่มีอยู่ให้เกิดความถูกต้องสมบูรณ์ที่สุด
  • 11. 2.2.2.6 สามารถสนทนาโต้ตอบ แลกเปลี่ยนทัศนะมุมมององค์ความรู้ นั้น ๆ กับผู้เชี่ยวชาญที่มีชื่อเสียงชั้นนาได้อย่างใกล้ชิดมากขึ้น 2.2.2.7 เว็บเครือข่ายสังคม ทาให้มีปฏิสัมพันธ์กันอย่างสม่าเสมอ จน สร้างความรู้สึกผูกพันเป็นมิตรความไว้วางใจระหว่างกัน ที่จะช่วยให้เกิดความตั้งใจและใส่ใจต่อการ ถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพมากกว่า 2.2.2.8 สามารถเรียนรู้ทาความเข้าใจได้จนถึงที่มา แนวคิดกระบวนการ วิเคราะห์ การแก้ไขปัญหาหรือแม้กระทั่งรูปแบบการดาเนินชีวิตของผู้เชี่ยวชาญ และสมาชิกใน สังคมได้อันจะเป็นประโยชน์ต่อการกลั่นกรององค์ความรู้ให้เข้าใจได้ลึกซึ้ง และมีความถูกต้องยิ่งขึ้น สามารถเข้าร่วมเป็นสมาชิกในเว็บเครือข่ายสังคมที่มีความชานาญ หรือสนใจเรียนรู้ได้ เช่น อาจเข้า ร่วมในชุมชนนักปฏิบัติของกลุ่มผู้ใช้ iPhone, BlackBerry, Windows, Apple, Cisco, Oracle, CMS, ฯลฯ เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์องค์ความรู้ระหว่างกัน โดยภายในชุมชนนั้นอาจมีทั้ง ผู้วิจัยและพัฒนา ผู้ผลิต ผู้เชี่ยวชาญ วิศวกรระบบ ผู้ชานาญการใช้ ผู้ใช้ระดับกลาง และระดับต้น จนถึงมือใหม่หัดใช้ จากทั่วโลกได้แทบทั้งสิ้น และยังสามารถเข้าร่วมเครือข่ายสังคมอื่น ๆ ได้อีก เช่น ในหนึ่งคนอาจเป็นสมาชิกได้ทั้งชุมชน ผู้ใช้ iPhone สมุนไพรหมอชาวบ้าน ยาและสุขภาพ เศรษฐศาสตร์และการเมือง ธรรมะ กีฬาและสันทนาการ โดยที่แต่ละชุมชนก็ล้วนแต่มีผู้เชี่ยวชาญ แต่ละระดับเช่นเดียวกันการที่คนที่สนใจในเรื่องราวเดียวกันยินดีมาอยู่ร่วมกันเป็นสังคม โดยอาศัย เทคโนโลยีเว็บ 2.0 จึงก่อให้เกิดเว็บเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่เป็นทั้งเครื่องมือ เป็นทั้งกิจกรรมที่ช่วย จัดการความรู้ได้อย่างดียิ่ง ปัจจุบันสังคมแห่งการเรียนรู้ ในแขนงต่าง ๆ มีมากขึ้นมีการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์กันทุกสาขาวิชาชีพจัดเก็บความรู้อย่างเป็นระบบ สืบค้นได้ และในบางชุมชนนอกจากมี กิจกรรมระหว่างกันภายในเว็บแล้วยังต่อยอดออกมาร่วมกิจกรรมกันถึงในสังคมชีวิตจริงอีกด้วย เช่น ร่วมกันทาหนังสือ ตารา คู่มือ ทากิจกรรมสาธารณประโยชน์ ช่วยเหลือให้ความรู้แก่ชุมชน ออก ค่ายหรือจัดอบรมสัมมนากันอย่างจริงจัง ในองค์ความรู้ที่ได้จากการรวบรวมแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ของสมาชิกในชุมชนกันเอง กิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้ก็จะยิ่งช่วยขยายผลของการจัดการ ความรู้ให้กว้างขวางมากขึ้น จากระดับกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice : COP) ขยายสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ และสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ที่มีชีวิต มีความเคลื่อนไหว มีปฏิสัมพันธ์
  • 12. ระหว่างกันอย่างสม่าเสมอ นั้นคือการจัดการความรู้ที่แท้จริง เพราะความรู้นั้นไม่เคยหยุดนิ่ง นอกจากนี้ยังมีการสร้างระบบ e-Learning ที่มีลักษณะผสมผสานวิธีการเรียนรู้หลาย ๆ แบบ เช่น เรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้จากเพื่อน หรือเรียนรู้จากวิทยากร 2.3 เทคโนโลยีที่ใช้ในการเข้าถึงความรู้และการเรียนรู้ เพื่อใช้สื่อสารความรู้ต่าง ๆ ทาให้ข้อมูลสามารถเข้าถึงได้ง่าย ช่วยในการตัดสินใจ และแก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้ คนทางานรู้จักนาความรู้ไปใช้ และอานวยความสะดวกสาหรับการเรียนรู้และนาความรู้ไปใช้เกิดการ เรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ ผ่านกระบวนการพัฒนาชุมชนเสมือนจริง (Virtual community) การ เสริมสร้างความรู้แก่เด็กและเยาวชนในการรู้เท่าทันเทคโนโลยีกระบวนการพัฒนาการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน รวมทั้งมีกลไกลและมาตรการที่รับรองทั้งทางด้านมนุษยชน สิทธิส่วนบุคคลและมาตรการทางด้านกฎหมายเพื่อคุ้มครองสิทธิของประชาชน และการนา เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาประชาธิปไตย 2.3.1 อีเมล เป็นการติดต่อสื่อสารโดยใช้อีเมลสามารถทาได้โดยสะดวก และ ประหยัดเวลา หลักการทางานของอีเมล์ก็คล้ายกับการส่งจดหมายธรรมดาคือ จะต้องมีที่อยู่ที่ระบุ ชัดเจน ก็คือ อีเมลแอดเดรส (E-mail address) 2.3.2 เทคโนโลยีการสืบค้นสารสนเทศ เป็นการวิจัยและพัฒนาที่ได้รวมเอา เทคนิคหลากหลายด้านมาประกอบกัน เพื่อให้การสืบค้นมีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการ ของผู้ใช้มากที่สุด โดยเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นสามารถรองรับการสืบค้นเอกสารทั่วไปแบบเต็มเนื้อหา (Full-Text search) การสืบค้นเชิงความหมายโดยผ่านการสร้างองค์ความรู้แบบออนโทโลยี (Ontology) ซึ่งเป็นการจัดระบบความสัมพันธ์ของหน่วยภาษา การสืบค้นในรูปแบบภาษาธรรมชาติ โดยใช้ AIML (Artificial intelligence markup language) การสืบค้นแบบพ้องเสียง การสืบค้น แบบพ้องความหมาย นอกจากนี้ยังนาเอาเทคโนโลยีเว็บ 2.0 มาประยุกต์ คือ การกากับข้อมูลเชิง สังคม ความสาคัญของการจัดเก็บและค้นคืนข้อมูล เป็นกระบวนการทั้งการ คัดเลือก ควบคุมโครงสร้างสารสนเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการเข้าถึง และ กระบวนการสาคัญใด ๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศซึ่งครอบคลุมการค้นหา การดึง สารสนเทศที่เข้าเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งแหล่งจัดเก็บภายใน และแหล่ง
  • 13. ภายนอก เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศ หรือรายการทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งบรรจุเนื้อหาตรงตาม ความต้องการ และในการบริการจะนาส่งให้ผู้ใช้อย่างรวดเร็วทันการณ์ ทั้งนี้การจัดเก็บและค้นคืน สารสนเทศเป็นระบบที่จัดทาทั้งด้วยแรงงานคน และด้วยคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ในหน่วยงานบริการ สารสนเทศ เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศ และผู้ต้องการใช้ สารสนเทศ ทาให้การถ่ายโอนและไหลเวียนของสารสนเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นงาน หลักที่เชื่อมโยงกับงานบริการ และเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้สารสนเทศให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง โดยสารมารถค้นสารสนเทศได้ตรงกับ ความต้องการ และได้รับสารสนเทศทันต่อเวลา ซึ่งเป็นไปตามนโยบาย และวัตถุประสงค์ของ หน่วยงานบริการสารสนเทศ และแหล่งทรัพยากรสารสนเทศทั่วโลกอย่างเสรีภายใต้ข้อกาหนดของ กฎหมายในเรื่องสิทธิของการใช้สารสนเทศ ให้ความสาคัญแก่ผู้ใช้กลุ่มต่าง ๆ โดยจัดทาเอกสาร แนะนาการใช้ฐานข้อมูลต่าง ๆ จัดเครื่องมืออานวยความสะดวก เครื่องมือการค้นคืนที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้ใช้ค้นคืนสารสนเทศได้ด้วยตัวเอง หรือผ่านบรรณารักษ์ตอบคาถาม มีการพัฒนารูปแบบการ ดาเนินทางานจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศได้ด้วยตัวเอง เพื่อให้เกิดความรวดเร็วทั้งวิธีการจัดหา จัดเก็บ และการค้นคืนสารสนเทศเพื่อให้ผู้ใช้ได้รับประโยชน์สูงสุด ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ ถูกต้อง และตรงกับความต้องการเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ตามที่ต้องการและความสนใจ สนับสนุนผู้ใช้ ให้สามารถประเมิน แยกแยะทาความเข้าใจเชื่อมโยงความคิดของสารสนเทศ เพื่อการเลือกสรร ศึกษา แสวงหา และติดตามสารสนเทศได้ด้วยตนเองเป็นผู้เรียนแบบพึ่งตัวเองตลอดไป การ แลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้ Collaboration tools audio/video conferencing tools เพื่อ เชื่อมโยงบุคลากรภายในองค์กรที่อยู่ต่างสถานที่เข้าไว้ด้วยกัน 2.3.3 อินเทอร์เน็ต คือ เครือข่ายนานาชาติที่เกิดจากองค์กรเครือข่ายขนาดเล็ก มากมาย รวมเป็นเครือข่ายเดียวกันทั้งโลก หรือเครือข่ายสื่อสาร ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์ ทั้งหมดที่ต้องการเข้ามาในเครือข่าย สาหรับคาว่า Internet หากแยกศัพท์จะได้มา 2 คา คือ คาว่า Inter และคาว่า net หมายถึง ระหว่าง หรือท่ามกลาง และคาว่า Net มาจากคาว่า Network หรือ เครือข่าย เมื่อนาความหมายของทั้ง 2 คามารวมกัน จึงแปลว่าการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย
  • 14. 2.3.4 อินทราเน็ต คือ ระบบเครือข่ายภายในองค์กรเป็นบริการสารสนเทศ และ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกับอินเทอร์เน็ต แต่จะเปิดให้ใช้เฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่านั้น เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแห่ง หรือระบบเครือข่ายมหาดไทย ที่เชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบริการข้อมูลข่าวสาร ซึ่งเปิดบริการคล้ายกับอินเทอร์เน็ตเกือบทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กรเท่านั้น เป็นการจากัดขอบเขตในการใช้งาน ดังนั้นระบบ อินเทอร์เน็ตในองค์กร คือ “อินทราเน็ต” แต่ในช่วงที่ชื่อนี้ยังไม่เป็นที่นิยม ระบบอินทราเน็ต ถูกเรียก ในหลายชื่อ เช่น Campus network, Local internet, Enterprise network เป็นต้น ประโยชน์ ของการนาอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ในหน่วยงาน สรุปได้ดังนี้ 2.3.4.1 ลดต้นทุนในการบริหารข่าวสาร เนื่องจากการจัดเก็บข่าวสาร ต่าง ๆ ภายในองค์กร สามารถจัดเก็บอยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายดาย ด้วยการใช้ภาษา HTML และใช้บราวเซอร์ในการอ่านเอกสาร ทาให้ลดค่าใช้จ่ายและเวลาในการจัดพิมพ์เอกสารกระดาษ 2.3.4.2 ช่วยให้ได้รับข่าวสารที่ใหม่ล่าสุดเสมอ เนื่องจากการจัดเก็บ เอกสารแบบอิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขั้นตอนที่ยุ่งยากเหมือนการพิมพ์ลงกระดาษ และไม่เสียค่าใช้จ่าย เพิ่มเติม ทาให้บุคลากรในองค์กรสามารถรับข่าวสารใหม่ล่าสุดได้เสมอ 2.3.4.3 ช่วยให้ติดต่อสื่อสารกันได้อย่างฉับไว ไม่ว่าบุคลากรจะอยู่ห่าง กันคนละชั้น คนละตึกหรือคนละจังหวัด ด้วยการใช้เทคโนโลยีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยี การคุยติดต่อผ่านแป้นพิมพ์ หรือแม้กระทั่งเทคโนโลยีประชุมทางไกล เป็นการช่วยลดการสูญเสีย เวลาของบุคลากร ตลอดจนช่วยให้ทีมงานมีการประสานงานกันดีขึ้น 2.3.4.4 เสียค่าใช้จ่ายต่า การติดตั้งอินทราเน็ตจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่า การติดตั้งซอฟต์แวร์การทางานแบบกลุ่ม (Workgroup software) ทั่วไปมาก เนื่องจากการใช้ เทคโนโลยีแบบเปิดของอินเทอร์เน็ต ทาให้สามารถใช้ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ตที่มีราคาไม่สูง นัก หรือในงานบางส่วนอาจไม่เสียค่าใช้จ่ายเลย เนื่องจากมีซอฟต์แวร์และฟรีแวร์มากมายใน อินเทอร์เน็ต นอกจากนี้หากองค์กรมีระบบเครือข่ายภายในอยู่แล้ว การติดตั้งระบบอินทราเน็ต เพิ่มเติมจะเสียค่าใช้จ่ายต่ามาก เนื่องจากสามารถใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วได้ทันทีตามคุณสมบัติ การใช้งานข้ามระบบ (Cross platform) ที่แตกต่างกันได้ของอินเทอร์เน็ต
  • 15. 2.3.4.5 เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีเปิด ทาให้องค์กรไม่ผูกติดกับผู้ค้าราย ใดรายหนึ่ง จึงช่วยลดความเสี่ยงต่าง ๆ เช่น ผู้ค้าเลิกกิจการ ผู้ค้าเลิกการผลิตและสนับสนุน หรือ ผู้ค้าขึ้นราคา เป็นต้น รวมทั้งให้สามารถหาซอฟต์แวร์ใหม่ ๆ ที่จะช่วยในการทางานได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องพึ่งผู้ผลิตเพียงรายเดียว 2.3.4.6 เตรียมความพร้อมขององค์กรที่จะเชื่อมเข้าต่ออินเทอร์เน็ตได้ ทันที รวมทั้งเป็นการเตรียมความรู้ของบุคลากรเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตด้วย ในปัจจุบันบริษัทชั้นนาใน ต่างประเทศต่าง ๆ ได้นาเทคโนโลยีอินทราเน็ตมาประยุกต์ใช้ในองค์กรอย่างแพร่หลาย สาหรับ อินทราเน็ตในประเทศไทยกาลังอยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังไม่พร้อมเรื่องงบประมาณ และบุคลากรที่จะเชื่อมโยงสู่อินเตอร์เน็ตที่ แท้จริง อินทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนา และเตรียมความพร้อมในระยะแรก แต่ก็ยังมี ศักยภาพที่จะเติบโตได้อีกมาก กรณีศึกษาการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการสารสนเทศท้องถิ่นเป็นการใช้เครื่องมือ ในการจัดเก็บรวบรวมเนื้อหาภูมิปัญญาท้องถิ่น การสร้างกระบวนการเรียนรู้เพื่อการเก็บและจัดการ ข้อมูลอย่างเป็นระบบ และสามารถประยุกต์ใช้งานได้อย่างเหมาะสม การจัดการความรู้กับ สารสนเทศท้องถิ่น ต้องอยู่บนรากฐานของความรู้ความเข้าใจในศาสตร์แต่ละด้านเพราะเป็นเรื่อง ความรู้ที่คนในชุมชนหรือท้องถิ่นต้องเป็นผู้มีส่วนสาคัญในสร้าง สืบสาน หรือพัฒนาความรู้ภูมิปัญญา โดยนาเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคปัจจุบันเข้ามาประสาน หากขาดการเชื่อมโยงก็จะทาให้ความรู้นั้น อยู่ในวงจากัด และอาจสูญหายไปได้ การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการความรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ ท้องถิ่นต้องมีการสืบแสวงหาความรู้ หรืออาจสร้างขึ้นมาจากการทางานของคนในท้องถิ่น จะทาให้ เกิดผลดีต่อการพัฒนาท้องถิ่น เกิดการเปลี่ยนแปลงเรียนรู้ภายในกลุ่ม องค์กร หรือเครือข่ายในสังคม ด้วย ตัวอย่างเช่น การรวบรวมบทความ หลัดคิด แนวทางปฏิบัติ การงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ข้อมูล กลางทางวัฒนธรรม การวิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และการจัดทาแผนแม่บทชุมชนร่วมกันเก็บข้อมูล ทาบัญชีรายจ่าย-รับของชุมชน จนกลายเป็นธุรกิจชุมชน รวมตัวกันเป็นเครือข่ายการผลิต และ การตลาด เป็นต้น
  • 16. 1. ตัวอย่างระบบข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา กระทรวงวัฒนธรรม สารบบข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา กระทรวงวัฒนธรรม เป็นส่วน หนึ่งของศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม สารบบข้อมูลทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรมมี วัตถุประสงค์เพื่อใช้งานประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารจังหวัดนครราชสีมา ข้อมูล ประกอบด้วย 1.1 บุคคล/องค์กรทางวัฒนธรรม ได้แก่ ศิลปิน ปราชญ์ชาวบ้าน บุคคลสาคัญทาง ศาสนานักเขียน/นักประพันธ์ สมาคม/ชมรม เครือข่ายทางวัฒนธรรม หน่วยงานทางวัฒนธรรม 1.2 สิ่งประดิษฐ์ทางวัฒนธรรม ได้แก่ โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ทัศนศิลป์ เอกสาร หนังสือ สื่อโสตทัศน์เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องแต่งกาย 1.3 วิถีชีวิต ได้แก่ ชาติพันธุ์ ศาสนาและความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม ภาษา และวรรณกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะการแสดงและดนตรี 1.4 สถานที่ทางวัฒนธรรม ได้แก่ แหล่งโบราณคดี อุทยานประวัติศาสตร์ โบราณสถาน สถาปัตยกรรมสาคัญศาสนสถาน พิพิธภัณฑ์ หอสมุด/ห้องสมุด หอจดหมายเหตุ อนุสาวรีย์/อนุสรณ์สถาน สถานที่จัดแสดงทางวัฒนธรรม แหล่งท่องเที่ยว เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการ ได้แก่ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Document management) พบว่า เว็บไซต์นี้ได้กลั่นกรองจัดลาดับจัดสรรข้อมูลการจัดความรู้ให้เป็นระบบทาให้ ระบบสามารถค้นหาข้อมูลได้ง่าย มีการนาเทคโนโลยีสืบค้นสารสนเทศ (Search Technology) สามารถใช้ประโยชน์ในการสืบค้นองค์ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการ โดย ใช้คาสาคัญ (keyword) ในการสืบค้น และอินเทอร์เน็ต (Internet) โดยให้ผู้ใช้งานเรียนรู้ผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
  • 17. ภาพที่ 7.1 ระบบข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา ที่มา : ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา. ออนไลน์. 2557. 2. ตัวอย่างระบบฐานข้อมูลศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น จังหวัดอุดรธานี สานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เป็นหน่วยงานหลักในการ ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย ได้ตระหนักถึงความสาคัญในการรวบรวมสารสนเทศ จัดระบบฐานข้อมูลท้องถิ่น เพื่อใช้เป็นแหล่งในการศึกษาค้นคว้าด้านศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น การ รวบรวมองค์ความรู้เพื่อการวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ทั้งยังเป็นการอนุรักษ์ นุบารุง และเผยแพร่ มรดกด้านศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติ 2.1 วัตถุประสงค์ 2.1.1 เพื่อรวบรวมสารสนเทศท้องถิ่นของจังหวัดอุดรธานี หนองคาย และ หนองบัวลาภู ซึ่งเป็นข้อมูลที่อยู่กระจัดกระจายตามหน่วยงานต่าง ๆ ยังไม่มีหน่วยงานที่รับผิดชอบ โดยตรง 2.1.2 เพื่อสร้างฐานข้อมูลท้องถิ่นของจังหวัดอุดรธานี หนองคาย และ หนองบัวลาภู สาหรับศึกษาวิจัยและใช้ประโยชน์ในทางวิชาการ 2.1.3 เพื่ออนุรักษ์และเผยแพร่สารสนเทศด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นให้ แพร่หลาย และเป็นการทานุบารุงและธารงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของท้องถิ่น และของชาติ
  • 18. 2.1.4 เพื่อเป็นการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้มีการนาไปใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสูดในเชิงพาณิชย์ การค้า และการท่องเที่ยว 2.1.5 เพื่อส่งเสริมให้ท้องถิ่น มีระบบคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อนามาใช้ให้ เกิดประโยชน์แก่ประเทศไทย 2.1.6 เพื่อนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดเก็บและค้นคืนข้อมูลท้องถิ่น เป็นการเพิ่มช่องทางในการเข้าถึงสารสนเทศให้กับผู้สนใจทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย 2.2 สารสนเทศที่จัดเก็บและรวบรวม ประกอบด้วย 2.2.1 ข้อมูลประจาจังหวัด 2.2.2 สถานที่สาคัญ 2.2.3 บุคคลสาคัญ 2.2.4 วิถีชาวบ้าน 2.2.5 ภูมิปัญญาชาวบ้าน 2.2.6 ของดีท้องถิ่น 2.2.7 ศิลปะและหัตถกรรม 2.2.8 อาหารพื้นบ้าน 2.2.9 พืชและสมุนไพรพื้นบ้าน 2.2.10 ภาษา 2.2.11 พิธีกรรมและความเชื่อ 2.2.12 การแต่งกาย 2.2.13 ศิลปะการแสดง 2.2.14 การละเล่นพื้นบ้าน 2.2.15 ข้อมูลผลงานดีเด่น เกียรติภูมิ รางวัลของแต่ละจังหวัด 2.2.16 ข้อมูลผลงานดีเด่น เกียรติภูมิ รางวัลของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2.3 เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการ ได้แก่ 2.3.1 การจัดความรู้ให้เป็นระบบ พบว่า เว็บไซต์นี้ได้ทากลั่นกรองจัดลาดับ จัดสรรข้อมูลการจัดความรู้ให้เป็นระบบสามารถค้นหาข้อมูลได้ง่าย
  • 19. 2.3.2 เทคโนโลยีสืบค้นสารสนเทศ สามารถใช้ประโยชน์ในการสืบค้นหาองค์ ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการ โดยใช้คาสาคัญในการสืบค้น 2.3.3 อินเทอร์เน็ต โดยให้ผู้ใช้งานการเรียนผู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ภาพที่ 7.2 ระบบฐานข้อมูลศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น จังหวัดอุดรธานี ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. สานักศิลปะและวัฒนธรรม. ออนไลน์. 2557. ภาพที่ 7.3 ตัวอย่างการแบ่งกลุ่มเนื้อหาท้องถิ่นบนเว็บไซต์ ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. สานักศิลปะและวัฒนธรรม. ออนไลน์. 2557.
  • 20. 3. ตัวอย่างแหล่งข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี ฐานข้อมูลนี้จัดทาขึ้นโดยสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานี การรวบรวมแหล่งความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุบลราชธานี โดยแบ่ง ออกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้แก่ บุคคล พิพิธภัณฑ์ วัด แหล่งชุมชน และแหล่งโบราณคดี นอกจากนั้น ได้รวบรวมแหล่งเรียนรู้สารสนเทศอีสานบนอินเทอร์เน็ต โดยได้ดาเนินการจัดการสารสนเทศให้เอื้อ ต่อการใช้งาน ให้บริการและเผยแพร่สารสนเทศจากภูมิปัญญาท้องถิ่นออกสู่สาธารณชน 3.1 วัตถุประสงค์ 3.1.1 เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัยในมหาวิทยาลัย อุบลราชธานี 3.1.2 เพื่อสร้างฐานข้อมูลท้องถิ่น โดยรวบรวมเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้อยู่ใน แหล่งเดียวกัน และปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ 3.1.3 เพื่อเป็นศูนย์กลางของการศึกษาค้นคว้า และวิจัย อานวยความสะดวกให้ ผู้ที่เกี่ยวข้อง หรือผู้ที่สนใจสามารถเข้าถึงข้อมูลได้สะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและสอดคล้องกับความ ต้องการมากที่สุด ภาพที่ 7.4 ตัวอย่างแหล่งข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. ออนไลน์. 2557.
  • 21. 3.2 เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการ ได้แก่ 3.2.1 การจัดความรู้ให้เป็นระบบ พบว่า เว็บไซต์นี้ได้ทากลั่นกรอง จัดลาดับ จัดสรรข้อมูลการจัดความรู้ให้เป็นระบบทาให้ระบบสามารถค้นหาข้อมูลได้ง่าย 3.2.2 เทคโนโลยีสืบค้นสารสนเทศ สามารถใช้ประโยชน์ในการสืบค้นความรู้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการ โดยผู้ใช้งานเลือกการค้นจากหัวข้อที่มีอยู่ หรือ กาหนดคาสาคัญในการสืบค้น 3.2.3 อินเทอร์เน็ต โดยให้ผู้ใช้งานการเรียนผู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ภาพที่ 7.5 การสืบค้นฐานข้อมูลท้องถิ่น ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. ออนไลน์. 2557.
  • 22. ภาพที่ 7.6 ผลการสืบค้นฐานข้อมูลท้องถิ่น ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. ออนไลน์. 2557. ภาพที่ 7.7 ปรากฏผลการสืบค้นฐานข้อมูลท้องถิ่นแบบไฟล์ PDF ที่มา : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. ออนไลน์. 2557.
  • 23. ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น 1. ความหมายของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ และโปรแกรมประมวลผลข้อมูล เพื่อช่วยในการนาเข้า จัดเก็บ จัดเตรียม ดัดแปลง แก้ไข จัดการ และวิเคราะห์ พร้อมทั้งแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ตามวัตถุประสงค์ ต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ ดังนั้น GIS จึงเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์เพื่อใช้ในการจัดการ และบริหารการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงข้อมูลด้านพื้นที่ให้เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับระบบการไหลเวียนของข้อมูล และการ ผสมผสานข้อมูลจากแหล่งสารสนเทศต่าง ๆ เช่น ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) หรือข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) เพื่อให้ได้สารสนเทศที่มีคุณค่าและสามารถนาไปใช้ในการบริหารจัดการได้อย่าง มีประสิทธิภาพ (วิเชียร ฝอยพิกุล. 2548 : 5-6; สุเพชร จิรขจรกุล. 2555 : 1) ดังที่ บรรพต พิจิตรกาเนิด และฐิติยา เนตรวงษ์ (2553) พบว่า ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สามารถนาเสนอข้อมูล ที่อยู่ในฐานข้อมูลในรูปของข้อมูลเชิงพื้นที่ โดยมีโปรแกรมที่ใช้ในการนาเสนอและวิเคราะห์ข้อมูล และแสดงผลลัพธ์ออกมาในลักษณะข้อมูล ข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่ใช้มีลักษณะคล้ายคลึง กับข้อมูลที่ใช้ในโปรแกรม Computer Aid Design (CAD) คือ ใช้ค่าพิกัด (Coordinate) เป็น พื้นฐาน แต่ต่างกันที่พื้นฐานในด้านความสะดวก และการนาพิกัดมาใช้ในการเชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ ใน ลักษณะความสัมพันธ์ที่เป็นโครงข่าย (Network) จะใช้ทฤษฎีกราฟ (Graph theory) เพื่อระบุและ เชื่อมโยงวัตถุด้วยชุดของเส้นโค้ง (Arc) และจุด (Node) ลักษณะข้อมูลแบบโครงข่ายตามวิธีการของ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นี้ เป็นโครงสร้างที่ดีกว่าและแตกต่างไป จากการเก็บข้อมูลลักษณะ กราฟิกอื่น ๆ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สามารถเก็บข้อมูล และการสร้างภาพกราฟิกแล้ว ระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ยังช่วยพล็อตรูปจากฐานข้อมูลที่เก็บไว้ในรูปแบบระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ด้วย นอกจากการจัดเก็บแผนที่ในลักษณะสัญลักษณ์ทางกราฟิกโครงสร้างข้อมูลของระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์
  • 24. 2. องค์ประกอบในการทางานของระบบ GIS การทางานของระบบ GIS มีองค์ประกอบต่าง ๆ (สุเพชร จิรขจรกุล. 2555 : 31- 32) ประกอบด้วย 5 ส่วน ดังนี้ ภาพที่ 7.8 องค์ประกอบการทางานของระบบ GIS ที่มา : ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย. ออนไลน์. 2558. 2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Hardware) หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่เป็น องค์ประกอบสนับสนุนกระบวนการสร้างฐานข้อมูลและจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ของ หน่วยงาน ได้แก่ คอมพิวเตอร์และเครื่องต่อพ่วงอื่น ๆ ทั้งเครื่องพิมพ์ สแกนเนอร์ กล้องถ่ายรูป เครื่องกราดภาพ จีพีเอส ที่มีหน้าที่ในการนาเข้าข้อมูล ประมวลผล แสดงผล และผลิตผลลัพธ์ของ การทางาน 2.2 โปรแกรม (Software) คือ โปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่ติดตั้งบนระบบฮาร์ดแวร์ เพื่อให้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สามารถทางานได้ตามรูปแบบ เพื่อจัดการข้อมูลระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ โดยเกี่ยวข้องกับโปรแกรมระบบปฏิบัติการ โปรแกรมระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และโปรแกรมสนับสนุนด้านเอกสารและการจัดการรูปภาพ เช่น โปรแกรม WINDOWS XP, WINDOWS 7, Microsoft word, Excel, PowerPoint, Adobe photoshop,