SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
รูปแบบการสอนของเจอโรลด์ เคมป์
(Jerrold Kemp Model)
ระบบการสอนของเคมพ์ (Jerrold/Kemp)
รูปแบบการเรียนการสอนของเคมพ์แตกต่างไปจากรูปแบบส่วน
ใหญ่ เนื่องจากได้เปลี่ยนรูปแบบไปจากแบบแนวเส้นตรง (Linear) เคมพ์
ได้นาเสนอรูปแบบของเขาในปี 1971 และได้ปรับปรุงในปี 1985 โดยรูปแบบ
นี้มีองค์ประกอบ 10 ประการ กระบวนการออกแบบจะเริ่มจากจุดศูนย์กลาง
และต่อไปยังขั้นตอนใดก่อนก็ได้ โดยไม่ต้องเรียงลาดับกันไป
เคมพ์แบ่งขั้นตอนในการพิจารณาการจัดระบบการสอน 10 ประการ
1. ความต้องการในการเรียน จุดมุ่งหมายในการสอน สิ่งสาคัญ ข้อจากัด
(Learning Needs , Goals , Priorities
Constraints) การประเมินความต้องการในการเรียนนับว่ามีส่วนสาคัญในการ
กาหนดจุดมุ่งหมายและโปรแกรมการเรียนการสอน
ให้สอดคล้องกับความต้องการนั้นและนับเป็นสิ่งสาคัญขั้นแรกในการเริ่มต้นของ
กระบวนการออกแบบการสอน จึงจัดอยู่ในศูนย์กลางของ
ระบบและนับว่าเป็นพื้นฐานของข้อปลีกย่อยต่าง ๆ 9 ประการ ในกระบวนการ
ออกแบบการสอนนี้
2. หัวข้อเรื่อง งานและจุดประสงค์ทั่วไป (Topics -Job Tasks
Purposes)
ในการสอนหรือโปรแกรมของ การสอนนั้นย่อมประกอบด้วยหัวข้อเรื่องของ
วิชาซึ่งเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานความรู้และ/หรือหัวข้องานที่เป็นพื้นฐานทาง
ทักษะด้านกายภาพซึ่งหัวข้อเหล่านี้ย่อมต้องมีการเขียนเป็นจุดประสงค์ทั่วไปไว้
เพื่อให้ทราบอย่างแน่นอนว่าผู้สอนต้องการให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานและทักษะ
สามารถทางานอะไรได้บ้างเมื่อเรียนจบบทเรียนนั้นแล้วจุดประสงค์ทั่วไปและหัวข้อ
ต่าง ๆ นี้จะเป็นเสมือนกรอบในการออกแบบโปรแกรมการเรียนการสอนซึ่ง
ประกอบด้วยเนื้อหาความรู้และวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ของการเรียน
3. ลักษณะผู้เรียน (Learner Characteristics)
เป็นการสารวจเพื่อพิจารณาดูถึงภูมิหลังด้านสังคม การศึกษา
และสภาพเศรษฐกิจของผู้เรียนแต่ละคน ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการจัดสภาพการ
เรียนรู้และวิธีการเรียนให้เหมาะสมตามความสามารถ
และความสนใจของผู้เรียน
4. เนื้อหาวิชาและการวิเคราะห์งาน (Subject Content ,Task
Analysis)
ในการวางแผนการสอน เนื้อหาวิชาที่เกี่ยวข้องกับหัวเรื่องนับว่าเป็นสิ่งสาคัญ
มากอย่างหนึ่ง โดยที่ต้องการเรียบเรียงเนื้อหาตามลาดับขั้นตอนให้เหมาะสมและง่าย
ต่อความเข้าใจของผู้เรียน เนื้อหาวิชาและการวิเคราะห์งานนี้สามารถใช้เพื่อเป็นเกณฑ์
ในการกาหนดวัตถุประสงค์ หรือเพื่อจัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์และเพื่อการออกแบบ
เครื่องมือทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนก็ได
5. วัตถุประสงค์การเรียน (Learning Objectives)
เป็นการตั้งวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของการเรียนว่า ผู้เรียนควรรู้หรือสามารถ
ทาอะไรได้บ้างเมื่อเรียนบทเรียนนั้นจบแล้ว และนับเป็นส่วนช่วยในการวางแผนการ
สอนและจัดลาดับเนื้อหาวิชา ตลอดจนเป็นแนวทางในการประเมินผู้เรียนและ
ประสิทธิภาพของการเรียนการสอนด้วย
6. กิจกรรมการเรียนการสอน (Teaching / Learning Activities)
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมย่อมขึ้นอยู่กับสภาพการณ์ต่าง ๆ
หลายประการ นับตั้งแต่จุดมุ่งหมาย ลักษณะของผู้เรียน เนื้อหาวิชา และการ วัดผล โดย
ผู้สอนต้องคานึงถึงกลุ่มผู้เรียนด้วย เพื่อที่จะสามารถจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับ
จุดมุ่งหมายของวิชาและความสนใจของกลุ่ม นอกจากนั้นการเลือกวัสดุอุปกรณ์สื่อการ
สอนก็ต้องให้สัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียน การสอนด้วย
7. ทรัพยากรในการสอน (Instructional Resources)
หมายถึงสื่อการสอนที่จะช่วยสนับสนุนและส่งเสริมให้ กิจกรรมการเรียนการสอน
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้สอนต้องเลือกสื่อมาใช้ให้เหมาะสมโดยคานึงถึงกลุ่ม
ผู้เรียนและสถานการณ์การเรียนการสอนเป็นสาคัญ
8. บริการสนับสนุน (Support Services)
คือการจัดสิ่งอานวยความสะดวกในการเรียนการสอน เช่น งบประมาณ
สถานที่อาคารเรียน สื่อวัสดุ อุปกรณ์ บุคลากร และตารางเวลาที่เหมาะสมในการ
ทางาน
9. การประเมินการเรียน (Learning Evaluation)
เป็นการประเมินว่าผู้เรียนนั้นได้รับความรู้สามารถบรรลุผลตาม
จุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้หรือไม่และมากน้อยเพียงใด โดยการสร้างเครื่องมือทดสอบและ
วัดผล ทั้งนี้เพื่อเป็นการทราบข้อบกพร่องต่าง ๆ ของระบบการสอนและเพื่อเป็น
แนวทางในการปรับปรุงแก้ไขระบบการสอนนั้นต่อไป
10. การทดสอบก่อนการเรียน (Pretesting)
เป็นการทดสอบก่อนว่าผู้เรียนมีประสบการณ์เดิมและพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับ
เนื้อหาใหม่นี้อย่างไร และควรจะได้เรียนรู้อะไรเพิ่มเติมอีกบ้างจากความรู้เก่าที่เคย
เรียนมา
โมเดลระบบการสอนของเคมพ์ (Kemp)
แหล่งอ้างอิงจาก
student.nu.ac.th/techno/system2.html
www.kroobannok.com/93
จัดทาโดย
นางสาว สิริกาญจน์ บุญเรือง
รหัส 5615871033
ภาษาอังกฤษ คบ.

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เคมีอินทรีย์ให้เด็ก.pdf
เคมีอินทรีย์ให้เด็ก.pdfเคมีอินทรีย์ให้เด็ก.pdf
เคมีอินทรีย์ให้เด็ก.pdflohkako kaka
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาChowwalit Chookhampaeng
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
งานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestงานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestkrupornpana55
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.Prachyanun Nilsook
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอนeafbie
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาAom Sinlapawiwat
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfNoeyWipa
 
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนธนิสร ยางคำ
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอนKobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...Kobwit Piriyawat
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 

La actualidad más candente (20)

เคมีอินทรีย์ให้เด็ก.pdf
เคมีอินทรีย์ให้เด็ก.pdfเคมีอินทรีย์ให้เด็ก.pdf
เคมีอินทรีย์ให้เด็ก.pdf
 
แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)
แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)
แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
งานนำเสนอBest
งานนำเสนอBestงานนำเสนอBest
งานนำเสนอBest
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอน
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 

รูปแบบการสอนของเจอโรลด์ เคมป์

  • 2. ระบบการสอนของเคมพ์ (Jerrold/Kemp) รูปแบบการเรียนการสอนของเคมพ์แตกต่างไปจากรูปแบบส่วน ใหญ่ เนื่องจากได้เปลี่ยนรูปแบบไปจากแบบแนวเส้นตรง (Linear) เคมพ์ ได้นาเสนอรูปแบบของเขาในปี 1971 และได้ปรับปรุงในปี 1985 โดยรูปแบบ นี้มีองค์ประกอบ 10 ประการ กระบวนการออกแบบจะเริ่มจากจุดศูนย์กลาง และต่อไปยังขั้นตอนใดก่อนก็ได้ โดยไม่ต้องเรียงลาดับกันไป
  • 3. เคมพ์แบ่งขั้นตอนในการพิจารณาการจัดระบบการสอน 10 ประการ 1. ความต้องการในการเรียน จุดมุ่งหมายในการสอน สิ่งสาคัญ ข้อจากัด (Learning Needs , Goals , Priorities Constraints) การประเมินความต้องการในการเรียนนับว่ามีส่วนสาคัญในการ กาหนดจุดมุ่งหมายและโปรแกรมการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับความต้องการนั้นและนับเป็นสิ่งสาคัญขั้นแรกในการเริ่มต้นของ กระบวนการออกแบบการสอน จึงจัดอยู่ในศูนย์กลางของ ระบบและนับว่าเป็นพื้นฐานของข้อปลีกย่อยต่าง ๆ 9 ประการ ในกระบวนการ ออกแบบการสอนนี้
  • 4. 2. หัวข้อเรื่อง งานและจุดประสงค์ทั่วไป (Topics -Job Tasks Purposes) ในการสอนหรือโปรแกรมของ การสอนนั้นย่อมประกอบด้วยหัวข้อเรื่องของ วิชาซึ่งเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานความรู้และ/หรือหัวข้องานที่เป็นพื้นฐานทาง ทักษะด้านกายภาพซึ่งหัวข้อเหล่านี้ย่อมต้องมีการเขียนเป็นจุดประสงค์ทั่วไปไว้ เพื่อให้ทราบอย่างแน่นอนว่าผู้สอนต้องการให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานและทักษะ สามารถทางานอะไรได้บ้างเมื่อเรียนจบบทเรียนนั้นแล้วจุดประสงค์ทั่วไปและหัวข้อ ต่าง ๆ นี้จะเป็นเสมือนกรอบในการออกแบบโปรแกรมการเรียนการสอนซึ่ง ประกอบด้วยเนื้อหาความรู้และวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ของการเรียน
  • 5. 3. ลักษณะผู้เรียน (Learner Characteristics) เป็นการสารวจเพื่อพิจารณาดูถึงภูมิหลังด้านสังคม การศึกษา และสภาพเศรษฐกิจของผู้เรียนแต่ละคน ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการจัดสภาพการ เรียนรู้และวิธีการเรียนให้เหมาะสมตามความสามารถ และความสนใจของผู้เรียน
  • 6. 4. เนื้อหาวิชาและการวิเคราะห์งาน (Subject Content ,Task Analysis) ในการวางแผนการสอน เนื้อหาวิชาที่เกี่ยวข้องกับหัวเรื่องนับว่าเป็นสิ่งสาคัญ มากอย่างหนึ่ง โดยที่ต้องการเรียบเรียงเนื้อหาตามลาดับขั้นตอนให้เหมาะสมและง่าย ต่อความเข้าใจของผู้เรียน เนื้อหาวิชาและการวิเคราะห์งานนี้สามารถใช้เพื่อเป็นเกณฑ์ ในการกาหนดวัตถุประสงค์ หรือเพื่อจัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์และเพื่อการออกแบบ เครื่องมือทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนก็ได
  • 7. 5. วัตถุประสงค์การเรียน (Learning Objectives) เป็นการตั้งวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของการเรียนว่า ผู้เรียนควรรู้หรือสามารถ ทาอะไรได้บ้างเมื่อเรียนบทเรียนนั้นจบแล้ว และนับเป็นส่วนช่วยในการวางแผนการ สอนและจัดลาดับเนื้อหาวิชา ตลอดจนเป็นแนวทางในการประเมินผู้เรียนและ ประสิทธิภาพของการเรียนการสอนด้วย
  • 8. 6. กิจกรรมการเรียนการสอน (Teaching / Learning Activities) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมย่อมขึ้นอยู่กับสภาพการณ์ต่าง ๆ หลายประการ นับตั้งแต่จุดมุ่งหมาย ลักษณะของผู้เรียน เนื้อหาวิชา และการ วัดผล โดย ผู้สอนต้องคานึงถึงกลุ่มผู้เรียนด้วย เพื่อที่จะสามารถจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับ จุดมุ่งหมายของวิชาและความสนใจของกลุ่ม นอกจากนั้นการเลือกวัสดุอุปกรณ์สื่อการ สอนก็ต้องให้สัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียน การสอนด้วย
  • 9. 7. ทรัพยากรในการสอน (Instructional Resources) หมายถึงสื่อการสอนที่จะช่วยสนับสนุนและส่งเสริมให้ กิจกรรมการเรียนการสอน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้สอนต้องเลือกสื่อมาใช้ให้เหมาะสมโดยคานึงถึงกลุ่ม ผู้เรียนและสถานการณ์การเรียนการสอนเป็นสาคัญ
  • 10. 8. บริการสนับสนุน (Support Services) คือการจัดสิ่งอานวยความสะดวกในการเรียนการสอน เช่น งบประมาณ สถานที่อาคารเรียน สื่อวัสดุ อุปกรณ์ บุคลากร และตารางเวลาที่เหมาะสมในการ ทางาน
  • 11. 9. การประเมินการเรียน (Learning Evaluation) เป็นการประเมินว่าผู้เรียนนั้นได้รับความรู้สามารถบรรลุผลตาม จุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้หรือไม่และมากน้อยเพียงใด โดยการสร้างเครื่องมือทดสอบและ วัดผล ทั้งนี้เพื่อเป็นการทราบข้อบกพร่องต่าง ๆ ของระบบการสอนและเพื่อเป็น แนวทางในการปรับปรุงแก้ไขระบบการสอนนั้นต่อไป