SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
5. วิธีปลูก ควรพิจารณาสภาพ
พื้นที่และการใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ที่เหมาะ
สม ผลการวิจัยพบว่าการปลูกโดยวิธีปัก
ดำา
และหว่านข้าวแห้งเป็นวิธีการที่เหมาะ
สม
6. การจัดการดิน ไม่เผาฟางข้าว
และตอซังควรไถกลบเพื่อปรับปรุงบำารุง
ดิน
7. ควรใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ย
คอก, ปุ๋ยหมัก, และปุ๋ยพืชสด เพื่อ
ปรับปรุงบำารุงดิน ควรใช้อินทรียวัตถุ ที่
หาได้ง่ายในพื้นที่ ที่เกษตรกรทำาเองใน
พื้นที่นาหรือบริเวณบ้าน
8. การจัดการนำ้า ตามระยะเวลา
เจริญเติบโตของต้นข้าว
9. จัดระบบการปลูกพืชในนา
ข้าว ปลูกพืชหมุนเวียนโดยเฉพาะพืช
ตระกูลถั่ว
10. การควบคุมวัชพืช โดย
การเตรียมดินอย่างดี
11. การควบคุมศัตรูพืช การใช้
วิธีเขตกรรม ใช้พันธุ์ต้านทาน กำาหนด
ช่วงปลูกที่เหมาะสม ใช้อัตราเมล็ดพันธุ์
และระยะปลูกที่เหมาะสมและการปลูก
พืชหมุนเวียนเพื่อตัดวงจรชีวิต เพื่อลด
การระบาดของศัตรูพืชในนาข้าว
12. การเก็บเกี่ยวผลผลิต ควร
เก็บเกี่ยวในระยะพลับพลึงเป็นช่วงที่
เหมาะสม และนวดลดความชื้นทำาความ
สะอาดเมล็ด
13. การเก็บรักษาผลผลิต ควร
แยกจากข้าวธรรมดา ตากแดด ลด
ความชื้นเมล็ดข้าวเปลือกให้ตำ่ากว่า 14
เปอร์เซ็นต์ และเก็บรักษาไว้ในสภาพ
แวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ในยุ้งฉาง
เฉพาะไม่ปะปนกับข้าวธรรมดา ควรเก็บ
ข้าวอินทรียื
ในรูปของข้าวเปลือก แปรสภาพเป็น
ข้าวกล้องหรือข้าวสารตามที่ต้องการ
14. การแปรสภาพข้าว จากข้าว
เปลือกอินทรีย์เป็นข้าวสาร โดยใช้
เครื่องสีสำาหรับการสีข้าวอินทรีย์โดย
เฉพาะ หากจำาเป็นต้องใช้โรงสีแปร
สภาพข้าวอินทรีย์ร่วมกับข้าวธรรมดา
ควรทำาความสะอาดเครื่องสี และ/หรือ
แปรสภาพข้าวอินทรีย์ก่อนข้าวธรรมดา
ต้นทุนการผลิตข้าวหอมมะลิ
อินทรีย์จำานวน 5 ไร่ 1 งาน
รายได้จากการผลิตข้าวหอมมะลิ
1,392 กก. X14 บาท 20,880 บาท
กำาไรคงเหลือ 19,488 - 12,098 =
7,390 บาท
รายการ ปริมาณ
ราคาต่อ
หน่วย
(บาท)
ราคารวม
(บาท)
ค่าเมล็ด
พันธุ์
90
กก.
กก.ละ 12 1,080
ค่าปุ๋ยคอก 36 ถุง กระสอบ
ละ 10
360
ค่าไถนา 5 ไร่ ไร่ละ 120 600
ค่านำ้ามัน - - 350
สูบนำ้า
ค่าแรง
งาน
- - 3,220
แบ่งราย
ได้ให้
โรงเรียน
30 %
- - 6,488
รวมทั้งหมด 12,098
คำานวณต้นทุนค่าแรงงาน ( คิดจาก
การทำางานของสมาชิกทั้งหมด 7 คน )
หว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว 1 วัน 120
บาท
หว่านปุ๋ย 2 วัน 240
บาท
กำาจัดวัชพืช 4 วัน 480 บาท
เกี่ยวข้าว 2 วัน 1,680
บาท
นวดข้าว 700
บาท
รวมทั้งหมด 3,220
บาท
หมายเหตุ ค่าแรงงานในการทำานาวัน
ละ 120 บาท (8 ชั่วโมง)
การปลูกข้าวหอม
มะลิอินทรีย์
กลุ่มยุวเกษตรกร บ.ก.ว.
คนดี
กับวิถีพอเพียง
สมาชิก
1. นางสาวอุไร
พร สุขประเสริฐ
2. นายวิปัศน์ สุขแน่น
3. นาสายันต์
ดาศรี
4. นางสาวศร
สวรรค์ ดาศรี
5. นายไชยวัฒน์ ขุมทอง
6. นายธวัช
บุตรงาม
7. นายอรรถพล เพิ่มดี
ครูที่ปรึกษา : ครูละเอียด มีแก้ว
โรงเรียนบุแกรงวิทยาคม
อำาเภอจอมพระ จังหวัด
สุรินทร์
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 33
ข้าวอินทรีย์คืออะไร ข้าว
อินทรีย์เป็นข้าวที่ได้จาก
การผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ ซึ่งเป็นวิธี
การผลิตที่ไม่ใช้สารเคมีทุกชนิด หรือ
สารสังเคราะห์ต่าง ๆ และปุ๋ยเคมีใน
ทุกขั้นตอนการผลิต โดยเกษตรกร
สามารถใช้วัสดุจากธรรมชาติ และสาร
สกัดต่าง ๆ จากพืชที่ไม่มีสารพิษตกค้าง
ในผลผลิตและสิ่งแวดล้อม ทำาให้
ผลิตผลข้าวมีคุณภาพดี
การเตรียมแปลงปลูกข้าว
เริ่มจากการทำาการกำาจัดวัชพืช และ ให้
ใส่ปุ๋ยคอกและปุ๋ยหมักทั่วพื้นที่ แล้ว
ไถกลบในช่วงที่เริ่มมีฝนตก เพราะดิน
มีความชื้น โดยไถลึกประมาณ 15-20
ซม. จะทำาให้ดินร่วนกระจายไม่จับกัน
เป็นก้อน จากนั้นให้ปลูกพืชตระกูลถั่ว
เพื่อเป็นปุ๋ย พืชสดและคลุมดินไม่ให้
หน้าดินแห้ง ช่วยตรึงไนโตรเจนจาก
อากาศ แล้วไถกลบเศษซากพืชที่ปลูก
เป็นปุ๋ยพืชสด เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุแก่
ดิน แล้วจึงไถแปรและไถคราดอีกครั้ง
เพื่อปรับพื้นที่ดินในแปลงนา
การเตรียมพันธุ์ข้าว
การเตรียมพันธุ์ข้าว นำาพันธุ์ข้าวแช่ใน
โอ่งนำ้า ให้นำ้าท่วมประมาณ 20 ซม. ตัก
เมล็ดที่ลอยอยู่ออกเพราะเป็นเมล็ดข้าวที่
ลีบ หมักไว้ 1 คืน จากนั้นนำาใส่กระสอบ
ป่านวางไว้ในที่ร่ม หมัก 1-2 วัน พลิก
กลับด้านวันละครั้ง แล้วนำาไปหว่าน
การจัดการกับวัชพืช
การจัดการกับวัชพืช ในการปลูกข้าว
หอมมะลิอินทรีย์ อาจทำาการถอน หรือร
เลี้ยงเป็ดในนา เลี้ยงปลาในนา ก็
สามารถกำาจัดวัชพืชได้อย่างมี
ประสิทธิภาพแล้ว ส่วนศัตรูพืช สามารถ
กำาจัดได้โดยรักษาสมดุลนิเวศ
การเกษตร เช่นการใช้สมุนไพรที่หาได้
โดยทั่วไป เช่น บอระเพ็ด หัวต้นปรง ตำา
แช่นำ้าแล้วนำาไปหว่านในบริเวณที่มีศัตรู
พืช ในการปรับปรุงบำารุงดิน ควรใส่ปุ๋ย
อินทรีย์ เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของต้น
ข้าว เพิ่มผลผลิตข้าว หลังข้าวออกดอก
ได้ 27-30 วัน
ซึ่งเรียกว่า “ระยะพลับพลึง หรือ เหลือง
กล้วย” ควรเก็บเกี่ยวและตากแดด 3-4
วัน เพื่อลดความชื้น อาจจะดูว่าการปลูก
ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ทำายาก แต่
เกษตรกรชาวจังหวัดสุรินทร์ ทำาจนได้
รับผลสำาเร็จมาแล้ว การปลูกข้าวหอม
มะลิอินทรีย์ต้นทุนตำ่า ได้ราคาสูง ต้น
ข้าวมีความแข็งแรง ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้น
และดินมีคุณภาพดีขึ้นเรื่อยๆ
การปลูกข้าวหอมมะลิอินทรีย์
ในการปลูกข้าวหอมมะลิอินทรีย์ ขั้น
ตอนการกำาจัดวัชพืชก่อนการเตรียมดิน
ทำาได้โดยการใช้สารเร่งพด.5 ละลาย
ในนำ้า 10 ลิตร คนให้เข้ากันนาน 5
นาที จากนั้นเทลงในถังหมักผสมกับ
เศษปลา หอยเชอร์รี่และนำ้าตาล คลุก
เคล้า
ปิดฝา ตั้งไว้ในที่ร่ม หมัก 40 วัน คน
วัสดุที่หมักทุกๆ 7 วัน ในการใช้งาน นำา
ไปฉีดพ่นที่มีวัชพืชในช่วงกลางวัน
การทำาปุ๋ยหมัก
การทำาปุ๋ยหมัก มีประโยชน์เพื่อทำาให้ดิน
ร่วนซุย และสามารถอุ้มนำ้าได้ดีขึ้น ใช้
วัสดุที่เหลือจากการเกษตร เช่น ฟาง
ข้าว เศษหญ้า ผักตบชวา กองเป็น
สี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 2x4 เมตร แล้วรด
ด้วยสารเร่งพด.1 ที่ละลายในนำ้า 20
ลิตร
ยำ่าให้แน่น รดนำ้าให้ชุ่ม ทำาเป็น 3 ชั้น
สูงชั้นละ 50 ซม.
ชั้นบนสุดใช้มูลสัตว์คลุมทับหนา 1 นิ้ว
เพื่อป้องกันความชื้น
การบำารุงรักษาต้นข้าว
การบำารุงรักษาต้นข้าว ใช้ปุ๋ยอินทรีย์นำ้า
ที่ทำาขึ้นเองอย่างง่ายๆ โดยจะละลาย
สารเร่งพด.2 ในนำ้า 30 ลิตร ผสมให้
เข้ากันนาน 5 นาที จากนั้นเทลงในถัง
หมักขนาด 200 ลิตร รวมกับเศษวัสดุ
และกากนำ้าตาล ผสมคลุกเคล้าให้เข้า
กัน แล้วปิดฝาไม่ต้องแน่น ตั้งไว้ในที่ร่ม
จากนั้นจึงฉีดพ่นที่ใบและลำาต้นหรือรด
ลงดินทุก 10 วัน ปุ๋ยอินทรีย์นำ้าช่วยใน
การเร่งการเจริญเติบโต
การป้องกันแมลงศัตรูพืช
การป้องกันแมลงศัตรูพืช ใช้พืช
สมุนไพร เช่น ตะไคร้หอม บอระเพ็ด ข่า
ฟ้าทะลายโจร สับให้เป็นชิ้นเล็กๆ แล้ว
ทุบหรือตำาให้แตก นำาใส่ในถังหมักผสม
กับนำ้าตาล เทสารเร่งพด.7
ที่ละลายในนำ้า 30 ลิตร คนให้เข้ากัน
ปิดฝา ตั้งไว้ในที่ร่ม จากนั้นอีก 20 วัน
นำาไปฉีดพ่นที่ใบ ลำาต้นและรดลงดิน
ทุก 20 วัน หรือในช่วงที่ศัตรูพืชระบาด
ให้ฉีดพ่นทุก 3 วัน ติดต่อกัน 3 ครั้ง จะ
เห็นได้ว่าการปลูกข้าวหอมมะลิอินทรีย์
ในทุกๆ ขั้นตอน ไม่ได้สัมผัสสารเคมีเลย
ฉะนั้นจึงเป็นการลดต้นทุนการผลิต
เพราะไม่ต้องใช้สารเคมีซึ่งมีราคาแพง
แล้วข้าวก็มีคุณภาพ ทำาให้ขายได้ราคา
สูง ในส่วนของการส่งออก ข้าวหอมมะลิ
อินทรีย์ทำารายได้ให้กับประเทศไทยได้
อย่างมหาศาล เนื่องจากต่างชาติให้
ความเชื่อมั่นในข้าวหอมมะลิไทย ว่า
ไม่มีสารเคมีเจือปน
หลักการผลิตข้าวอินทรีย์ มีขั้น
ตอนการทำาอย่างไร
1. พื้นที่ปลูก เป็นพื้นที่ขนาดใหญ่
ติดต่อกัน หากเป็นพื้นที่ใช้สารเคมีมา
ก่อนควรตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้าง
ในดิน
2. พันธุ์ข้าว มีคุณภาพดีเช่นพันธุ์
ข้าวขาวดอกมะลิ 105
ที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อม เจริญ
เติบโตและผลผลิตดี
3. เมล็ดพันธุ์ ได้จากการปลูกโดย
วิธีเกษตรอินทรีย์
ไม่คลุกเมล็ดด้วยสารเคมี เมล็ดสะอาด
ปราศจากโรคแมลง และสิ่งเจือปนต่าง ๆ
4. การเตรียมดิน ไถดะไถแปร
ตากแดดไม่ใช้สารควบคุมวัชพืช

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงkasetpcc
 
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษา
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษาเครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษา
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษาWanlop Chimpalee
 
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหารใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหารDuangsuwun Lasadang
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชlukhamhan school
 
เทคนิคการปลูกขนุน
เทคนิคการปลูกขนุนเทคนิคการปลูกขนุน
เทคนิคการปลูกขนุนV'View Piyarach
 
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์dechathon
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Napalai Jaibaneum
 
การดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้า
การดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้าการดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้า
การดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้าWanlop Chimpalee
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชlukhamhan school
 
เครื่องมือและอุปกรณ์ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ1
เครื่องมือและอุปกรณ์ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ1เครื่องมือและอุปกรณ์ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ1
เครื่องมือและอุปกรณ์ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ1Benjapron Seesukong
 
สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่Lilly Phattharasaya
 

La actualidad más candente (16)

natchuda
natchudanatchuda
natchuda
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษา
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษาเครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษา
เครื่องมือการเกษตรและการดูแลรักษา
 
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหารใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
เทคนิคการปลูกขนุน
เทคนิคการปลูกขนุนเทคนิคการปลูกขนุน
เทคนิคการปลูกขนุน
 
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
พืชกินเนื้อ
พืชกินเนื้อพืชกินเนื้อ
พืชกินเนื้อ
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
เกษตร
เกษตรเกษตร
เกษตร
 
การดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้า
การดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้าการดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้า
การดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้า
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
เครื่องมือและอุปกรณ์ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ1
เครื่องมือและอุปกรณ์ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ1เครื่องมือและอุปกรณ์ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ1
เครื่องมือและอุปกรณ์ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ1
 
สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่
 

Destacado

แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7Aon Narinchoti
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับdevilp Nnop
 

Destacado (6)

แผ่นพับ ข้าวไทย
แผ่นพับ ข้าวไทยแผ่นพับ ข้าวไทย
แผ่นพับ ข้าวไทย
 
แผ่นพับ ข้าวไทย
แผ่นพับ ข้าวไทยแผ่นพับ ข้าวไทย
แผ่นพับ ข้าวไทย
 
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับ
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 

Similar a แผ่นพับข้าวอินทรีย์

บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัวบทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัวBenjamart2534
 
มะเขือเทศพื้นเมือง เบอร์ ๓
มะเขือเทศพื้นเมือง เบอร์ ๓มะเขือเทศพื้นเมือง เบอร์ ๓
มะเขือเทศพื้นเมือง เบอร์ ๓kaewpanya km
 
โครงงาน พืชผักสวนครัว
โครงงาน พืชผักสวนครัวโครงงาน พืชผักสวนครัว
โครงงาน พืชผักสวนครัวgreatzaza007
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1Nuttayaporn2138
 
นำเสนอผักชี
นำเสนอผักชีนำเสนอผักชี
นำเสนอผักชีTry Pongsatorn
 
แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1juckit009
 

Similar a แผ่นพับข้าวอินทรีย์ (8)

บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัวบทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
 
หญ้าแฝก
หญ้าแฝกหญ้าแฝก
หญ้าแฝก
 
มะเขือเทศพื้นเมือง เบอร์ ๓
มะเขือเทศพื้นเมือง เบอร์ ๓มะเขือเทศพื้นเมือง เบอร์ ๓
มะเขือเทศพื้นเมือง เบอร์ ๓
 
โครงงาน พืชผักสวนครัว
โครงงาน พืชผักสวนครัวโครงงาน พืชผักสวนครัว
โครงงาน พืชผักสวนครัว
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
 
นำเสนอผักชี
นำเสนอผักชีนำเสนอผักชี
นำเสนอผักชี
 
แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1
 

แผ่นพับข้าวอินทรีย์

  • 1. 5. วิธีปลูก ควรพิจารณาสภาพ พื้นที่และการใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ที่เหมาะ สม ผลการวิจัยพบว่าการปลูกโดยวิธีปัก ดำา และหว่านข้าวแห้งเป็นวิธีการที่เหมาะ สม 6. การจัดการดิน ไม่เผาฟางข้าว และตอซังควรไถกลบเพื่อปรับปรุงบำารุง ดิน 7. ควรใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ย คอก, ปุ๋ยหมัก, และปุ๋ยพืชสด เพื่อ ปรับปรุงบำารุงดิน ควรใช้อินทรียวัตถุ ที่ หาได้ง่ายในพื้นที่ ที่เกษตรกรทำาเองใน พื้นที่นาหรือบริเวณบ้าน 8. การจัดการนำ้า ตามระยะเวลา เจริญเติบโตของต้นข้าว 9. จัดระบบการปลูกพืชในนา ข้าว ปลูกพืชหมุนเวียนโดยเฉพาะพืช ตระกูลถั่ว 10. การควบคุมวัชพืช โดย การเตรียมดินอย่างดี 11. การควบคุมศัตรูพืช การใช้ วิธีเขตกรรม ใช้พันธุ์ต้านทาน กำาหนด ช่วงปลูกที่เหมาะสม ใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ และระยะปลูกที่เหมาะสมและการปลูก พืชหมุนเวียนเพื่อตัดวงจรชีวิต เพื่อลด การระบาดของศัตรูพืชในนาข้าว 12. การเก็บเกี่ยวผลผลิต ควร เก็บเกี่ยวในระยะพลับพลึงเป็นช่วงที่ เหมาะสม และนวดลดความชื้นทำาความ สะอาดเมล็ด 13. การเก็บรักษาผลผลิต ควร แยกจากข้าวธรรมดา ตากแดด ลด ความชื้นเมล็ดข้าวเปลือกให้ตำ่ากว่า 14 เปอร์เซ็นต์ และเก็บรักษาไว้ในสภาพ แวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ในยุ้งฉาง เฉพาะไม่ปะปนกับข้าวธรรมดา ควรเก็บ ข้าวอินทรียื ในรูปของข้าวเปลือก แปรสภาพเป็น ข้าวกล้องหรือข้าวสารตามที่ต้องการ 14. การแปรสภาพข้าว จากข้าว เปลือกอินทรีย์เป็นข้าวสาร โดยใช้ เครื่องสีสำาหรับการสีข้าวอินทรีย์โดย เฉพาะ หากจำาเป็นต้องใช้โรงสีแปร สภาพข้าวอินทรีย์ร่วมกับข้าวธรรมดา ควรทำาความสะอาดเครื่องสี และ/หรือ แปรสภาพข้าวอินทรีย์ก่อนข้าวธรรมดา ต้นทุนการผลิตข้าวหอมมะลิ อินทรีย์จำานวน 5 ไร่ 1 งาน รายได้จากการผลิตข้าวหอมมะลิ 1,392 กก. X14 บาท 20,880 บาท กำาไรคงเหลือ 19,488 - 12,098 = 7,390 บาท รายการ ปริมาณ ราคาต่อ หน่วย (บาท) ราคารวม (บาท) ค่าเมล็ด พันธุ์ 90 กก. กก.ละ 12 1,080 ค่าปุ๋ยคอก 36 ถุง กระสอบ ละ 10 360 ค่าไถนา 5 ไร่ ไร่ละ 120 600 ค่านำ้ามัน - - 350 สูบนำ้า ค่าแรง งาน - - 3,220 แบ่งราย ได้ให้ โรงเรียน 30 % - - 6,488 รวมทั้งหมด 12,098 คำานวณต้นทุนค่าแรงงาน ( คิดจาก การทำางานของสมาชิกทั้งหมด 7 คน ) หว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว 1 วัน 120 บาท หว่านปุ๋ย 2 วัน 240 บาท กำาจัดวัชพืช 4 วัน 480 บาท เกี่ยวข้าว 2 วัน 1,680 บาท นวดข้าว 700 บาท รวมทั้งหมด 3,220 บาท หมายเหตุ ค่าแรงงานในการทำานาวัน ละ 120 บาท (8 ชั่วโมง)
  • 2. การปลูกข้าวหอม มะลิอินทรีย์ กลุ่มยุวเกษตรกร บ.ก.ว. คนดี กับวิถีพอเพียง สมาชิก 1. นางสาวอุไร พร สุขประเสริฐ 2. นายวิปัศน์ สุขแน่น 3. นาสายันต์ ดาศรี 4. นางสาวศร สวรรค์ ดาศรี 5. นายไชยวัฒน์ ขุมทอง 6. นายธวัช บุตรงาม 7. นายอรรถพล เพิ่มดี ครูที่ปรึกษา : ครูละเอียด มีแก้ว โรงเรียนบุแกรงวิทยาคม อำาเภอจอมพระ จังหวัด สุรินทร์ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 33 ข้าวอินทรีย์คืออะไร ข้าว อินทรีย์เป็นข้าวที่ได้จาก การผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ ซึ่งเป็นวิธี การผลิตที่ไม่ใช้สารเคมีทุกชนิด หรือ สารสังเคราะห์ต่าง ๆ และปุ๋ยเคมีใน ทุกขั้นตอนการผลิต โดยเกษตรกร สามารถใช้วัสดุจากธรรมชาติ และสาร สกัดต่าง ๆ จากพืชที่ไม่มีสารพิษตกค้าง ในผลผลิตและสิ่งแวดล้อม ทำาให้ ผลิตผลข้าวมีคุณภาพดี การเตรียมแปลงปลูกข้าว เริ่มจากการทำาการกำาจัดวัชพืช และ ให้ ใส่ปุ๋ยคอกและปุ๋ยหมักทั่วพื้นที่ แล้ว ไถกลบในช่วงที่เริ่มมีฝนตก เพราะดิน มีความชื้น โดยไถลึกประมาณ 15-20 ซม. จะทำาให้ดินร่วนกระจายไม่จับกัน เป็นก้อน จากนั้นให้ปลูกพืชตระกูลถั่ว เพื่อเป็นปุ๋ย พืชสดและคลุมดินไม่ให้ หน้าดินแห้ง ช่วยตรึงไนโตรเจนจาก อากาศ แล้วไถกลบเศษซากพืชที่ปลูก เป็นปุ๋ยพืชสด เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุแก่ ดิน แล้วจึงไถแปรและไถคราดอีกครั้ง เพื่อปรับพื้นที่ดินในแปลงนา การเตรียมพันธุ์ข้าว การเตรียมพันธุ์ข้าว นำาพันธุ์ข้าวแช่ใน โอ่งนำ้า ให้นำ้าท่วมประมาณ 20 ซม. ตัก เมล็ดที่ลอยอยู่ออกเพราะเป็นเมล็ดข้าวที่ ลีบ หมักไว้ 1 คืน จากนั้นนำาใส่กระสอบ ป่านวางไว้ในที่ร่ม หมัก 1-2 วัน พลิก กลับด้านวันละครั้ง แล้วนำาไปหว่าน การจัดการกับวัชพืช การจัดการกับวัชพืช ในการปลูกข้าว หอมมะลิอินทรีย์ อาจทำาการถอน หรือร เลี้ยงเป็ดในนา เลี้ยงปลาในนา ก็ สามารถกำาจัดวัชพืชได้อย่างมี ประสิทธิภาพแล้ว ส่วนศัตรูพืช สามารถ กำาจัดได้โดยรักษาสมดุลนิเวศ การเกษตร เช่นการใช้สมุนไพรที่หาได้ โดยทั่วไป เช่น บอระเพ็ด หัวต้นปรง ตำา แช่นำ้าแล้วนำาไปหว่านในบริเวณที่มีศัตรู พืช ในการปรับปรุงบำารุงดิน ควรใส่ปุ๋ย อินทรีย์ เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของต้น ข้าว เพิ่มผลผลิตข้าว หลังข้าวออกดอก ได้ 27-30 วัน ซึ่งเรียกว่า “ระยะพลับพลึง หรือ เหลือง กล้วย” ควรเก็บเกี่ยวและตากแดด 3-4 วัน เพื่อลดความชื้น อาจจะดูว่าการปลูก ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ทำายาก แต่ เกษตรกรชาวจังหวัดสุรินทร์ ทำาจนได้ รับผลสำาเร็จมาแล้ว การปลูกข้าวหอม มะลิอินทรีย์ต้นทุนตำ่า ได้ราคาสูง ต้น ข้าวมีความแข็งแรง ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้น และดินมีคุณภาพดีขึ้นเรื่อยๆ การปลูกข้าวหอมมะลิอินทรีย์ ในการปลูกข้าวหอมมะลิอินทรีย์ ขั้น ตอนการกำาจัดวัชพืชก่อนการเตรียมดิน ทำาได้โดยการใช้สารเร่งพด.5 ละลาย ในนำ้า 10 ลิตร คนให้เข้ากันนาน 5 นาที จากนั้นเทลงในถังหมักผสมกับ เศษปลา หอยเชอร์รี่และนำ้าตาล คลุก เคล้า
  • 3. ปิดฝา ตั้งไว้ในที่ร่ม หมัก 40 วัน คน วัสดุที่หมักทุกๆ 7 วัน ในการใช้งาน นำา ไปฉีดพ่นที่มีวัชพืชในช่วงกลางวัน การทำาปุ๋ยหมัก การทำาปุ๋ยหมัก มีประโยชน์เพื่อทำาให้ดิน ร่วนซุย และสามารถอุ้มนำ้าได้ดีขึ้น ใช้ วัสดุที่เหลือจากการเกษตร เช่น ฟาง ข้าว เศษหญ้า ผักตบชวา กองเป็น สี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 2x4 เมตร แล้วรด ด้วยสารเร่งพด.1 ที่ละลายในนำ้า 20 ลิตร ยำ่าให้แน่น รดนำ้าให้ชุ่ม ทำาเป็น 3 ชั้น สูงชั้นละ 50 ซม. ชั้นบนสุดใช้มูลสัตว์คลุมทับหนา 1 นิ้ว เพื่อป้องกันความชื้น การบำารุงรักษาต้นข้าว การบำารุงรักษาต้นข้าว ใช้ปุ๋ยอินทรีย์นำ้า ที่ทำาขึ้นเองอย่างง่ายๆ โดยจะละลาย สารเร่งพด.2 ในนำ้า 30 ลิตร ผสมให้ เข้ากันนาน 5 นาที จากนั้นเทลงในถัง หมักขนาด 200 ลิตร รวมกับเศษวัสดุ และกากนำ้าตาล ผสมคลุกเคล้าให้เข้า กัน แล้วปิดฝาไม่ต้องแน่น ตั้งไว้ในที่ร่ม จากนั้นจึงฉีดพ่นที่ใบและลำาต้นหรือรด ลงดินทุก 10 วัน ปุ๋ยอินทรีย์นำ้าช่วยใน การเร่งการเจริญเติบโต การป้องกันแมลงศัตรูพืช การป้องกันแมลงศัตรูพืช ใช้พืช สมุนไพร เช่น ตะไคร้หอม บอระเพ็ด ข่า ฟ้าทะลายโจร สับให้เป็นชิ้นเล็กๆ แล้ว ทุบหรือตำาให้แตก นำาใส่ในถังหมักผสม กับนำ้าตาล เทสารเร่งพด.7 ที่ละลายในนำ้า 30 ลิตร คนให้เข้ากัน ปิดฝา ตั้งไว้ในที่ร่ม จากนั้นอีก 20 วัน นำาไปฉีดพ่นที่ใบ ลำาต้นและรดลงดิน ทุก 20 วัน หรือในช่วงที่ศัตรูพืชระบาด ให้ฉีดพ่นทุก 3 วัน ติดต่อกัน 3 ครั้ง จะ เห็นได้ว่าการปลูกข้าวหอมมะลิอินทรีย์ ในทุกๆ ขั้นตอน ไม่ได้สัมผัสสารเคมีเลย ฉะนั้นจึงเป็นการลดต้นทุนการผลิต เพราะไม่ต้องใช้สารเคมีซึ่งมีราคาแพง แล้วข้าวก็มีคุณภาพ ทำาให้ขายได้ราคา สูง ในส่วนของการส่งออก ข้าวหอมมะลิ อินทรีย์ทำารายได้ให้กับประเทศไทยได้ อย่างมหาศาล เนื่องจากต่างชาติให้ ความเชื่อมั่นในข้าวหอมมะลิไทย ว่า ไม่มีสารเคมีเจือปน หลักการผลิตข้าวอินทรีย์ มีขั้น ตอนการทำาอย่างไร 1. พื้นที่ปลูก เป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ ติดต่อกัน หากเป็นพื้นที่ใช้สารเคมีมา ก่อนควรตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้าง ในดิน 2. พันธุ์ข้าว มีคุณภาพดีเช่นพันธุ์ ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อม เจริญ เติบโตและผลผลิตดี 3. เมล็ดพันธุ์ ได้จากการปลูกโดย วิธีเกษตรอินทรีย์ ไม่คลุกเมล็ดด้วยสารเคมี เมล็ดสะอาด ปราศจากโรคแมลง และสิ่งเจือปนต่าง ๆ 4. การเตรียมดิน ไถดะไถแปร ตากแดดไม่ใช้สารควบคุมวัชพืช