SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 42
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 1

ธรรมชาติของสิ่ งมีชีวต
ิ
ธรรมชาติของสิ่ งมีชีวต
ิ
1. สิ่ งมีชีวตคืออะไร
ิ
2. ชีววิทยาคืออะไร
3. ชีววิทยากับการดํารงชีวต
ิ
4. ชีวจริยธรรม
สิ่ งมีชีวตคืออะไร
ิ
1) สิ่งมีชีวตมีการสืบพันธุ์
ิ
2) สิ่งมีชีวตต้ องการสารอาหารและพลังงาน
ิ
3) สิ่งมีชีวตมีการเจริญเติบโต มีอายุขัยและขนาดจํากัด
ิ
4) สิ่งมีชีวตมีการตอบสนองต่ อสิ่งแวดล้ อม
ิ
5) สิ่งมีชีวตมีลักษณะจําเพาะ
ิ
6) สิ่งมีชีวตมีการรักษาดุลยภาพของร่ างกาย
ิ
7) สิ่งมีชีวตมีการจัดระบบภายในเซลล์ และร่ างกาย
ิ
สิ่ งมีชีวตมีการสื บพันธุ์ (Reproduction)
ิ
ใช่ การสื บพันธุ์หรือไม่ ?
Asexual Reproduction
การสื บพันธุ์แบบไม่ อาศัยเพศ
1. Binary fission
แบ่ งจาก 1
พบใน Protis และสัตว์ เซลล์ เดียว
• 1.1 แบ่ งแบบไม่ มีทศทางที่แน่ นอน
ิ
(Nondirectional binary fission)

2

เช่ น อะมีบา

• 1.2 การแบ่ งตามขวางของลําตัว

(Transverse binary fission)

• 1.3 การแบ่ งเซลล์ ตามยาวของลําตัว
(Longitudinal binary fission)

เช่ น พารามีเซียม
เช่ น ยูกลีนา
2. การสร้ างสปอร์ (Sporulation)
• Protozoa พวก Sporozoa คือพวกพลาสโมเดียม
หรื อพวกเชือไข้ จับสั่น (Malaria)
้
• พวกเห็ดรา สร้ างสปอร์ ในสปอแรงเจียม
(Sporamgium)

3. การแตกหน่ อ (Budding)
• ไฮดราหรื อยีสต์
- บริเวณที่จะแตกหน่ อมีการแบ่ งเซลล์ แบบ Mitosis
- ไฮดราตัวเล็กๆ จะหลุดจากแม่ หรือติดอยู่กับแม่ กได้
็
• ฟองนํา มีการสร้ างเจมมูล (Gemmule)
้
• พืชไบรโอไฟต์ พวกลิเวอร์ เวิร์ต สร้ างเจมมา(Gemma)
คล้ ายเจมมูล
4. การงอกใหม่ (Regeneration)
• เป็ นการสืบพันธุ์ หรือไม่ กได้
็
• ไฮดรา ดอกไม้ ทะเล พลานาเรีย ดาวทะเล
เป็ นการสืบพันธุ์
• การงอกของหางจิงจก ไม่ เป็ นการสืบพันธุ์
้
5. การหักสาย (Fragmentation)
• พบในสาหร่ ายที่เป็ นสายยาว
6. การสืบพันธุ์ของไวรัส (Reproduction of virus)
• อาศัยสิ่งมีชีวตอื่นช่ วยในการเพิ่มจํานวน
ิ
• ศึกษาจากไวรัสที่ทาลาย Bact.(Bacteriophage)
ํ
Sexual Reproduction
การสื บพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual

Reproduction )

• เซลล์ สืบพันธุ์เพศผู้ + เซลล์ สืบพันธุ์เพศเมีย
(Fertilization) ได้ Zygote
• 2 เพศในตัวเดียวกัน เรี ยกว่ า กระเทย (Hermaphrodite)
เช่ น ไฮดรา พยาธิตวแบน พลานาเรี ย ไส้ เดือนดิน
ั
• แยกเพศ เช่ น พยาธิตวกลม อาร์ โทรพอด สัตว์ ท่ มีกระดูกสัน
ั
ี
หลัง
• ในพืชชันสูงมักมี 2 เพศในตัวเดียวกัน
้
Reproduction
- ผลิตลูกหลานเพื่อการดํารงเผ่ าพันธุ์
- ไวรั สจัดเป็ นสิ่งมีชีวต เพราะสามารถ
ิ
สืบพันธุ์เพิ่มปริมาณได้
สิ่ งมีชีวตต้ องการสารอาหารและพลังงาน
ิ

เมแทบอลิซม (Metabolism) เป็ นกระบวนการชีวเคมีของสาร
ึ
ต่ างๆ ภายใน สิ่งมีชีวิต มีเอนไซม์ เป็ นตัวเร่ ง เพื่อสังเคราะห์ สาร
ใหม่ ทดแทนสารที่สูญเสียไป และผลิตพลังงานมาใช้ ในกิจกรรม
ของสิ่งมีชีวิต ประกอบด้ วย
• แคแทบอลิซม (catabolism) การสลายสารเพื่อให้ ได้ พลังงาน
ึ
และความร้ อนถูกปลดปล่ อยออกมา เช่ น การหายใจ

• แอแนบอลิซม
ึ

การสังเคราะห์ สารเพื่อการ
เจริญเติบโต อาศัยพลังงานจาก Catabolism เปลี่ยนสารโมเลกุล
เล็ก เป็ นสารโมเลกุลใหญ่ มีการเก็บพลังงานไว้ ในสารโมเลกุล
ใหญ่ เช่ น การสังเคราะห์ แสง การสังเคราะห์ โปรตีน กรดอะมิโน
ทําให้ มีการเพิ่มปริมาตรของโพรโทพลาสซึม ทําให้ เกิดการ
เจริญเติบโต
(anabolism)
สิ่ งมีชีวตมีการเจริญเติบโต มีอายุขยและขนาดจํากัด
ิ
ั
- เป็ นผลจากกระบวนการแอแนบอลิซม
ึ
เพิ่มจํานวนโพรโทพลาสซึม และเซลล์
- การเจริญเติบโตจากไซโกตเป็ นตัวเต็มวัย
เซลล์ มีการเปลี่ยนแปลง คือ
• การเพิ่มจํานวน (cell division)
• การเพิ่มขนาดของเซลล์ และขนาดของร่ างกาย
(growth)

• การเปลี่ยนแปลงเพื่อทําหน้ าที่เฉพาะอย่ าง
(cell differentiation)

• การเกิดรูปร่ างที่แน่ นอน (morphogenesis)
Metamorphosis
life cycle of a frog
สิ่ งมีชีวตมีการตอบสนองต่ อสิ่ งแวดล้ อม
ิ
-มีการตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ า
ทั้งทางบวก และทางลบ

ทิศทางการเจริญของรากและยอดของหัวหอม
สิ่งมีชีวตมีลักษณะจําเพาะ
ิ
• สังเกตจากลักษณะภายนอก
เช่ น รู ปร่ าง ขนาด ความสูง สีผิว ลักษณะ
เส้ นขน จํานวนขา ลักษณะพืนผิวที่เรี ยบ หรื อ
้
ขรุ ขระ เป็ นต้ น
• ลักษณะบางอย่ างต้ องตรวจสอบด้ วยการทดลอง
เช่ น การชิมรส การดมกลิ่น เป็ นต้ น
สิ่งมีชีวตแต่ ละชนิดจะมีลักษณะเฉพาะเป็ น
ิ
เอกลักษณ์ ตามชนิดของตนแตกต่ างจาก
สิ่งมีชีวตอื่น
ิ
สิ่ งมีชีวตมีการรักษาดุลยภาพของร่ างกาย
ิ
• การรั กษาดุลยภาพของร่ างกายของคน
เมื่อดื่มนําเข้ าไปมากๆ ร่ างกายก็จะขับนําออกจาก
้
้
ร่ างกายในรู ปของปั สสาวะ ทําให้ ต้องปั สสาวะ
บ่ อยครั งขึน
้ ้
• การที่ร่างกายมีอุณหภูมคงที่ประมาณ 37 องศา
ิ
เซลเซียส เป็ นการรั กษาสมดุลของอุณหภูมของ
ิ
ร่ างกาย
สิ่ งมีชีวตมีการจัดระบบภายในเซลล์ และร่ างกาย
ิ
•
•
•
•

การจัดระบบในระดับเซลล์
การจัดระบบในระดับร่ างกาย
การจัดระบบในระดับประชากร
การจัดระบบในระดับกลุ่มสิ่งมีชีวต
ิ
การดํารงชีวตของสิ่ งมีชีวต
ิ
ิ
•
•
•
•
•

การได้ มาซึ่งอาหาร (nutrition)
การหายใจระดับเซลล์ (cellular respiration)
การสังเคราะห์ (synthesis)
การสืบพันธุ์ (reproduction)
การปรั บตัวและวิวัฒนาการ

(adaptation and evolution)
การได้ มาซึ่งอาหาร (Nutrition)
ได้ แก่ สารประกอบต่ างๆ ทังอนินทรี ย์ และ
้
สารอินทรี ย์ เพื่อเป็ นวัตถุดบ (Raw material) ใช้
ิ
ในการสร้ างพลังงาน การเจริญเติบโต เพื่อการ
ดํารงชีวต
ิ
การหายใจระดับเซลล์ (Cellular Respiration)
- เป็ นการสลายสารอินทรี ย์โมเลกุลใหญ่ เพื่อให้ ได้
พลังงาน
ซึ่งจะนํามาใช้ ในกิจกรรมต่ างๆ
- พลังงานอีกส่ วนเก็บไว้ เพื่อเป็ นพลังงานสํารอง เก็บไว้
ในรู ปของพลังงานเคมี เรี ยกว่ า สารประกอบพลังงาน
Adenosine triphosphate หรื อ ATP
การสั งเคราะห์ (Synthesis)
- เป็ นการสร้ างสารต่ างๆ โดยใช้ วัตถุดบจากอาหาร
ิ
- ใช้ พลังงานจากการหายใจระดับเซลล์ มาสร้ างโมเลกุล
ใหญ่
- การสังเคราะห์ แสง จะเกิดกับพืช และสาหร่ าย โดย
พืชเปลี่ยนพลังงานแสง เป็ นพลังงานเคมีในรูปของ
สารประกอบคาร์ โบไฮเดรต และ ATP ได้
การสื บพันธุ์ (Reproduction)
- เป็ นการเพิ่มลูกหลาน เป็ นผลทําให้ เกิด
การดํารงเผ่ าพันธุ์ของสิ่งมีชีวต
ิ
การปรับตัว และวิวฒนาการ
ั

(Adaptation and evolution)

เป็ นการปรั บตัวในด้ านต่ างๆ เพื่อให้ เหมาะสมกับ
สภาพแวดล้ อม เมื่อดําเนินไปเป็ นระยะยาวนานมากๆ
จะทําให้ เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวต
ิ
ชีววิทยา คืออะไร

?
ชีววิทยา (Biology)
มาจากคําภาษากรีก

ชีว (bios แปลว่า ชีวิต สิงมีชีวิต)
่
• วิทยา (logos แปลว่า วิชา ศึกษา ความคิด การมีเหตุผล)

•

คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
องค์ประกอบของชีววิทยา
• ส่วนที่เป็ นความรู้
• ส่วนที่เป็ นกระบวนการค้ นหาความรู้
สาขาของชีววิทยา

1.ศึกษาสิ่งมีชีวิตแต่ ละกลุ่มของสิ่งมีชีวิต
1.1) สัตววิทยา (Zoology) เป็ นการศึกษาเรื่องราวต่ างๆ ของ
สัตว์ แบ่ งออกเป็ นสาขาย่ อยๆ เช่ น
- สัตว์ ไม่ มีกระดูกสันหลัง (invertebrate)
- สัตว์ มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate)
- นมีนวิทยา (Icthyology) ศึกษาเกี่ยวกับปลาชนิดต่ างๆ
- สังขวิทยา (Malacology) ศึกษาเกี่ยวกับหอยชนิดต่ างๆ
- ปั กษินวิทยา (Ornithology) ศึกษาเรื่ องราวเกี่ยวกับนก
- วิทยาสัตว์ เลียงลูกด้ วยนม (Mammalogy)
้
- กีฎวิทยา (Entomology) ศึกษาเกี่ยวกับแมลง
- วิทยาเห็บไร (Acarology) ศึกษาเกี่ยวกับเห็บและไร
1.2) พฤกษศาสตร์ (Botany) ศึกษาเรื่ องราวต่ างๆ ของพืช เช่ น
- พืชชันตํ่า (Lower plant)
้
ศึกษาพวกสาหร่ าย มอส
- พืชมีท่อลําเลียง (Vascular plants)
ศึกษาพวกเฟิ ร์ น สน ปรง จนถึงพืชมีดอก
- พืชมีดอก (Angiosperm)
ศึกษาพืชใบเลียงคู่และพืชใบเลียงเดี่ยว
้
้
1.3) จุลชีววิทยา (Microbiology) ศึกษาเรื่ องราวต่ างๆ ของจุลนทรี ย์
ิ
เช่ น
- วิทยาแบคทีเรี ย (Bacteriology)
ศึกษาเกี่ยวกับแบคทีเรี ย
- วิทยาไวรั ส (Virology)
ศึกษาเกี่ยวกับไวรั ส
- วิทยาสัตว์ เซลล์ เดียว (Protozoology)
ศึกษาเกี่ยวกับโพรโทซัว
2.ศึกษาจากโครงสร้ างหน้ าที่และการทํางานของสิ่งมีชีวิต
- กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
ศึกษาโครงสร้ างต่ างๆ โดยการตัดผ่ า
- สัณฐานวิทยา (Morphology)
ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้ างและรู ปร่ างของสิ่งมีชีวิต
- สรีรวิทยา (Physiology)
ศึกษาหน้ าที่การทํางานของระบบต่ างๆ ในร่ างกายของ
สิ่งมีชีวิต
- พันธุศาสตร์ (Genetics)
ศึกษาลักษณะต่ างๆ ทางกรรมพันธุ์และการถ่ ายทอดลักษณะ
ต่ างๆจากบรรพบุรุษสู่ลูกหลาน
- นิเวศวิทยา (Ecology)
ศึกษาความสัมพันธ์ ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้ อม
- มิญชวิทยาหรือเนือเยื่อวิทยา (Histology)
้
ศึกษาลักษณะของเนือเยื่อทังทางด้ านโครงสร้ างและหน้ าที่การ
้
้
ทํางาน
- วิทยาเอ็มบริโอ (Embryology)
ศึกษาการเจริญเติบโตของตัวอ่ อน
- ปรสิตวิทยา (Parasitology)
ศึกษาเกี่ยวกับการเป็ นปรสิตของสิ่งมีชีวิต
- วิทยาเซลล์ (Cytology)
ศึกษาโครงสร้ างหน้ าที่ของเซลล์ ส่ ิงมีชีวิต
3.ศึกษาเรื่ องราวของสิ่งมีชีวต
ิ

- อนุกรมวิธาน (Taxonomy)
ศึกษาเกี่ยวกับการแบ่ งหมวดหมู่ การตังชื่อ
้
สิ่งมีชีวตชนิดต่ างๆ
ิ
- วิวัฒนาการ (Evolution)
ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวของสิ่งมีชีวตตังแต่ อดีต
ิ ้
จนถึงปั จจุบน
ั
- บรรพชีวนวิทยา (Paleontology)
ิ
ศึกษาเกี่ยวกับซากโบราณของสิ่งมีชีวต
ิ
ชีววิทยา
กับการดํารงชีวต
ิ
-Cloning คือ การสร้ างสิ่ งมีชีวตใหม่ ทมลกษณะทางพันธุกรรม
ิ
ี่ ี ั

เหมือนเดิมทุกประการ
- GMOs (genetically modified organisms)
คือ สิ่ งมีชีวตทีมีการตัดและต่ อยีนด้ วยเทคนิคพันธุวศวกรรม
ิ ่
ิ
(genetic engineering) ทําให้ มีลกษณะพันธุกรรมตามต้ องการ
ั
- การผสมเทียมในหลอดแก้ ว แล้ วถ่ ายฝากตัวอ่ อน
(In Vitro Fertilization Embryo Transfer หรือ
IVF& ET )
-การทําอิกซี่ ( Intra Cytoplasmic Sperm Injection
๊

หรือ
ICSI) คัดเชื้ออสุ จิทสมบูรณ์ เพียงตัวเดียว ฉีดเข้ าไปในไข่ โดยตรง
ี่
ใช้ ในกรณีทเี่ ด็กหลอดแก้ วธรรมดาไม่ ประสบความสํ าเร็จ
- การทํากิฟท์ ( Gamete IntraFollopain Transfer หรื อ GIF)
นําเซลล์ สืบพันธุ์ไข่ และอสุจมาผสมกัน แล้ วใส่ กลับเข้ าสู่ท่อนําไข่ ทนที
ิ
ั
อาศัยให้ อสุจและไข่ ปฏิสนธิกันเองตามธรรมชาติ
ิ
- การทําซิฟท์ ( Zygote IntraFollopain Transfer หรื อ ZIFT)
เซลล์ สืบพันธุ์ไข่ และอสุจมาผสมกันให้ เกิดการปฏิสนธินอกร่ างกาย
ิ
ก่ อน แล้ วจึงนําตัวอ่ อนในระยะ Zygote ใส่ กลับเข้ าไปในท่ อนําไข่
- การพัฒนาเทคนิคทางด้ าน DNA ตรวจหาความสัมพันธ์ ทางสายเลือด
- การผลิตสาหร่ ายสไปรู ไลนาซึ่งให้ โปรตีนสูง
- การศึกษาทางด้ านพืชสมุนไพรนํามาผลิตเป็ นยารักษาโรค
- การผลิตฮอร์ โมนอินซูลินจากยีสต์ เพื่อรั กษาโรคเบาหวานในคน
ชีวจริยธรรม
ชีวจริยธรรม (Bioethics)

การปฏิบัตต่อสิ่ งมีชีวตอย่ างมีคุณธรรม
ิ
ิ
ไม่ ทาร้ ายหรือทําอันตรายต่ อสิ่ งมีชีวต
ํ
ิ
จรรยาบรรณในการใช้ สัตว์ ทดลอง
สํานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่ งชาติ กําหนดจรรยาบรรณการใช้
สัตว์ เพื่องานวิจัย งานสอน งานทดสอบ และงานผลิตชีววัตถุไว้ ดังนี ้
• 1. ผู้ใช้ สัตว์ ต้องตระหนักถึงคุณค่ าของชีวตสัตว์
ิ
• 2. ผู้ใช้ สัตว์ ต้องตระหนักถึงความแม่ นยําของผลงานโดยใช้ สัตว์
จํานวนน้ อยที่สุด
• 3. การใช้ สัตว์ ป่าต้ องไม่ ขัดต่ อกฎหมายและนโยบายการอนุรักษ์ ป่า
• 4. ผู้ใช้ สัตว์ ต้องตระหนักว่ าสัตว์ เป็ นสิ่งมีชีวตเช่ นเดียวกับมนุษย์
ิ
• 5. ผู้ใช้ สัตว์ ต้องบันทึกการปฏิบัตต่อสัตว์ ไว้ เป็ นหลักฐานอย่ าง
ิ
ครบถ้ วน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 

La actualidad más candente (20)

Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
ใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหารใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหาร
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 

Destacado

ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตBally Achimar
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4Puchida Saingchin
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemsupreechafkk
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellsupreechafkk
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioresupreechafkk
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasissupreechafkk
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
Messages 1 student's book
Messages 1 student's bookMessages 1 student's book
Messages 1 student's bookDreaming Helix
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรsupreechafkk
 

Destacado (16)

ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Messages 1 student's book
Messages 1 student's bookMessages 1 student's book
Messages 1 student's book
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 

Similar a บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต

ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาI'mike Surayut
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพSupaluk Juntap
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverssusera700ad
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 

Similar a บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต (20)

1
11
1
 
1
11
1
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
 
Diver i
Diver iDiver i
Diver i
 
1
11
1
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
Unit1 organism
Unit1 organismUnit1 organism
Unit1 organism
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diver
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 

Más de ฟลุ๊ค ลำพูน

บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพบทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชบทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอกบทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 

Más de ฟลุ๊ค ลำพูน (20)

ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
 
ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
 
ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
 
4
44
4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 22 ประชากร
บทที่ 22 ประชากรบทที่ 22 ประชากร
บทที่ 22 ประชากร
 
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศบทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพบทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชบทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
 
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอกบทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 

บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต

  • 2. ธรรมชาติของสิ่ งมีชีวต ิ 1. สิ่ งมีชีวตคืออะไร ิ 2. ชีววิทยาคืออะไร 3. ชีววิทยากับการดํารงชีวต ิ 4. ชีวจริยธรรม
  • 3. สิ่ งมีชีวตคืออะไร ิ 1) สิ่งมีชีวตมีการสืบพันธุ์ ิ 2) สิ่งมีชีวตต้ องการสารอาหารและพลังงาน ิ 3) สิ่งมีชีวตมีการเจริญเติบโต มีอายุขัยและขนาดจํากัด ิ 4) สิ่งมีชีวตมีการตอบสนองต่ อสิ่งแวดล้ อม ิ 5) สิ่งมีชีวตมีลักษณะจําเพาะ ิ 6) สิ่งมีชีวตมีการรักษาดุลยภาพของร่ างกาย ิ 7) สิ่งมีชีวตมีการจัดระบบภายในเซลล์ และร่ างกาย ิ
  • 7. การสื บพันธุ์แบบไม่ อาศัยเพศ 1. Binary fission แบ่ งจาก 1 พบใน Protis และสัตว์ เซลล์ เดียว • 1.1 แบ่ งแบบไม่ มีทศทางที่แน่ นอน ิ (Nondirectional binary fission) 2 เช่ น อะมีบา • 1.2 การแบ่ งตามขวางของลําตัว (Transverse binary fission) • 1.3 การแบ่ งเซลล์ ตามยาวของลําตัว (Longitudinal binary fission) เช่ น พารามีเซียม เช่ น ยูกลีนา
  • 8. 2. การสร้ างสปอร์ (Sporulation) • Protozoa พวก Sporozoa คือพวกพลาสโมเดียม หรื อพวกเชือไข้ จับสั่น (Malaria) ้ • พวกเห็ดรา สร้ างสปอร์ ในสปอแรงเจียม (Sporamgium) 3. การแตกหน่ อ (Budding) • ไฮดราหรื อยีสต์ - บริเวณที่จะแตกหน่ อมีการแบ่ งเซลล์ แบบ Mitosis - ไฮดราตัวเล็กๆ จะหลุดจากแม่ หรือติดอยู่กับแม่ กได้ ็ • ฟองนํา มีการสร้ างเจมมูล (Gemmule) ้ • พืชไบรโอไฟต์ พวกลิเวอร์ เวิร์ต สร้ างเจมมา(Gemma) คล้ ายเจมมูล
  • 9. 4. การงอกใหม่ (Regeneration) • เป็ นการสืบพันธุ์ หรือไม่ กได้ ็ • ไฮดรา ดอกไม้ ทะเล พลานาเรีย ดาวทะเล เป็ นการสืบพันธุ์ • การงอกของหางจิงจก ไม่ เป็ นการสืบพันธุ์ ้ 5. การหักสาย (Fragmentation) • พบในสาหร่ ายที่เป็ นสายยาว 6. การสืบพันธุ์ของไวรัส (Reproduction of virus) • อาศัยสิ่งมีชีวตอื่นช่ วยในการเพิ่มจํานวน ิ • ศึกษาจากไวรัสที่ทาลาย Bact.(Bacteriophage) ํ
  • 11. การสื บพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual Reproduction ) • เซลล์ สืบพันธุ์เพศผู้ + เซลล์ สืบพันธุ์เพศเมีย (Fertilization) ได้ Zygote • 2 เพศในตัวเดียวกัน เรี ยกว่ า กระเทย (Hermaphrodite) เช่ น ไฮดรา พยาธิตวแบน พลานาเรี ย ไส้ เดือนดิน ั • แยกเพศ เช่ น พยาธิตวกลม อาร์ โทรพอด สัตว์ ท่ มีกระดูกสัน ั ี หลัง • ในพืชชันสูงมักมี 2 เพศในตัวเดียวกัน ้
  • 12. Reproduction - ผลิตลูกหลานเพื่อการดํารงเผ่ าพันธุ์ - ไวรั สจัดเป็ นสิ่งมีชีวต เพราะสามารถ ิ สืบพันธุ์เพิ่มปริมาณได้
  • 13. สิ่ งมีชีวตต้ องการสารอาหารและพลังงาน ิ เมแทบอลิซม (Metabolism) เป็ นกระบวนการชีวเคมีของสาร ึ ต่ างๆ ภายใน สิ่งมีชีวิต มีเอนไซม์ เป็ นตัวเร่ ง เพื่อสังเคราะห์ สาร ใหม่ ทดแทนสารที่สูญเสียไป และผลิตพลังงานมาใช้ ในกิจกรรม ของสิ่งมีชีวิต ประกอบด้ วย • แคแทบอลิซม (catabolism) การสลายสารเพื่อให้ ได้ พลังงาน ึ และความร้ อนถูกปลดปล่ อยออกมา เช่ น การหายใจ • แอแนบอลิซม ึ การสังเคราะห์ สารเพื่อการ เจริญเติบโต อาศัยพลังงานจาก Catabolism เปลี่ยนสารโมเลกุล เล็ก เป็ นสารโมเลกุลใหญ่ มีการเก็บพลังงานไว้ ในสารโมเลกุล ใหญ่ เช่ น การสังเคราะห์ แสง การสังเคราะห์ โปรตีน กรดอะมิโน ทําให้ มีการเพิ่มปริมาตรของโพรโทพลาสซึม ทําให้ เกิดการ เจริญเติบโต (anabolism)
  • 14. สิ่ งมีชีวตมีการเจริญเติบโต มีอายุขยและขนาดจํากัด ิ ั - เป็ นผลจากกระบวนการแอแนบอลิซม ึ เพิ่มจํานวนโพรโทพลาสซึม และเซลล์ - การเจริญเติบโตจากไซโกตเป็ นตัวเต็มวัย เซลล์ มีการเปลี่ยนแปลง คือ • การเพิ่มจํานวน (cell division) • การเพิ่มขนาดของเซลล์ และขนาดของร่ างกาย (growth) • การเปลี่ยนแปลงเพื่อทําหน้ าที่เฉพาะอย่ าง (cell differentiation) • การเกิดรูปร่ างที่แน่ นอน (morphogenesis)
  • 16. life cycle of a frog
  • 17. สิ่ งมีชีวตมีการตอบสนองต่ อสิ่ งแวดล้ อม ิ -มีการตอบสนองต่ อสิ่ งเร้ า ทั้งทางบวก และทางลบ ทิศทางการเจริญของรากและยอดของหัวหอม
  • 19. • สังเกตจากลักษณะภายนอก เช่ น รู ปร่ าง ขนาด ความสูง สีผิว ลักษณะ เส้ นขน จํานวนขา ลักษณะพืนผิวที่เรี ยบ หรื อ ้ ขรุ ขระ เป็ นต้ น • ลักษณะบางอย่ างต้ องตรวจสอบด้ วยการทดลอง เช่ น การชิมรส การดมกลิ่น เป็ นต้ น สิ่งมีชีวตแต่ ละชนิดจะมีลักษณะเฉพาะเป็ น ิ เอกลักษณ์ ตามชนิดของตนแตกต่ างจาก สิ่งมีชีวตอื่น ิ
  • 21. • การรั กษาดุลยภาพของร่ างกายของคน เมื่อดื่มนําเข้ าไปมากๆ ร่ างกายก็จะขับนําออกจาก ้ ้ ร่ างกายในรู ปของปั สสาวะ ทําให้ ต้องปั สสาวะ บ่ อยครั งขึน ้ ้ • การที่ร่างกายมีอุณหภูมคงที่ประมาณ 37 องศา ิ เซลเซียส เป็ นการรั กษาสมดุลของอุณหภูมของ ิ ร่ างกาย
  • 22. สิ่ งมีชีวตมีการจัดระบบภายในเซลล์ และร่ างกาย ิ • • • • การจัดระบบในระดับเซลล์ การจัดระบบในระดับร่ างกาย การจัดระบบในระดับประชากร การจัดระบบในระดับกลุ่มสิ่งมีชีวต ิ
  • 23. การดํารงชีวตของสิ่ งมีชีวต ิ ิ • • • • • การได้ มาซึ่งอาหาร (nutrition) การหายใจระดับเซลล์ (cellular respiration) การสังเคราะห์ (synthesis) การสืบพันธุ์ (reproduction) การปรั บตัวและวิวัฒนาการ (adaptation and evolution)
  • 24. การได้ มาซึ่งอาหาร (Nutrition) ได้ แก่ สารประกอบต่ างๆ ทังอนินทรี ย์ และ ้ สารอินทรี ย์ เพื่อเป็ นวัตถุดบ (Raw material) ใช้ ิ ในการสร้ างพลังงาน การเจริญเติบโต เพื่อการ ดํารงชีวต ิ
  • 25. การหายใจระดับเซลล์ (Cellular Respiration) - เป็ นการสลายสารอินทรี ย์โมเลกุลใหญ่ เพื่อให้ ได้ พลังงาน ซึ่งจะนํามาใช้ ในกิจกรรมต่ างๆ - พลังงานอีกส่ วนเก็บไว้ เพื่อเป็ นพลังงานสํารอง เก็บไว้ ในรู ปของพลังงานเคมี เรี ยกว่ า สารประกอบพลังงาน Adenosine triphosphate หรื อ ATP
  • 26. การสั งเคราะห์ (Synthesis) - เป็ นการสร้ างสารต่ างๆ โดยใช้ วัตถุดบจากอาหาร ิ - ใช้ พลังงานจากการหายใจระดับเซลล์ มาสร้ างโมเลกุล ใหญ่ - การสังเคราะห์ แสง จะเกิดกับพืช และสาหร่ าย โดย พืชเปลี่ยนพลังงานแสง เป็ นพลังงานเคมีในรูปของ สารประกอบคาร์ โบไฮเดรต และ ATP ได้
  • 27. การสื บพันธุ์ (Reproduction) - เป็ นการเพิ่มลูกหลาน เป็ นผลทําให้ เกิด การดํารงเผ่ าพันธุ์ของสิ่งมีชีวต ิ
  • 28. การปรับตัว และวิวฒนาการ ั (Adaptation and evolution) เป็ นการปรั บตัวในด้ านต่ างๆ เพื่อให้ เหมาะสมกับ สภาพแวดล้ อม เมื่อดําเนินไปเป็ นระยะยาวนานมากๆ จะทําให้ เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวต ิ
  • 30. ชีววิทยา (Biology) มาจากคําภาษากรีก ชีว (bios แปลว่า ชีวิต สิงมีชีวิต) ่ • วิทยา (logos แปลว่า วิชา ศึกษา ความคิด การมีเหตุผล) • คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
  • 31. องค์ประกอบของชีววิทยา • ส่วนที่เป็ นความรู้ • ส่วนที่เป็ นกระบวนการค้ นหาความรู้
  • 32. สาขาของชีววิทยา 1.ศึกษาสิ่งมีชีวิตแต่ ละกลุ่มของสิ่งมีชีวิต 1.1) สัตววิทยา (Zoology) เป็ นการศึกษาเรื่องราวต่ างๆ ของ สัตว์ แบ่ งออกเป็ นสาขาย่ อยๆ เช่ น - สัตว์ ไม่ มีกระดูกสันหลัง (invertebrate) - สัตว์ มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate) - นมีนวิทยา (Icthyology) ศึกษาเกี่ยวกับปลาชนิดต่ างๆ - สังขวิทยา (Malacology) ศึกษาเกี่ยวกับหอยชนิดต่ างๆ - ปั กษินวิทยา (Ornithology) ศึกษาเรื่ องราวเกี่ยวกับนก - วิทยาสัตว์ เลียงลูกด้ วยนม (Mammalogy) ้ - กีฎวิทยา (Entomology) ศึกษาเกี่ยวกับแมลง - วิทยาเห็บไร (Acarology) ศึกษาเกี่ยวกับเห็บและไร
  • 33. 1.2) พฤกษศาสตร์ (Botany) ศึกษาเรื่ องราวต่ างๆ ของพืช เช่ น - พืชชันตํ่า (Lower plant) ้ ศึกษาพวกสาหร่ าย มอส - พืชมีท่อลําเลียง (Vascular plants) ศึกษาพวกเฟิ ร์ น สน ปรง จนถึงพืชมีดอก - พืชมีดอก (Angiosperm) ศึกษาพืชใบเลียงคู่และพืชใบเลียงเดี่ยว ้ ้ 1.3) จุลชีววิทยา (Microbiology) ศึกษาเรื่ องราวต่ างๆ ของจุลนทรี ย์ ิ เช่ น - วิทยาแบคทีเรี ย (Bacteriology) ศึกษาเกี่ยวกับแบคทีเรี ย - วิทยาไวรั ส (Virology) ศึกษาเกี่ยวกับไวรั ส - วิทยาสัตว์ เซลล์ เดียว (Protozoology) ศึกษาเกี่ยวกับโพรโทซัว
  • 34. 2.ศึกษาจากโครงสร้ างหน้ าที่และการทํางานของสิ่งมีชีวิต - กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) ศึกษาโครงสร้ างต่ างๆ โดยการตัดผ่ า - สัณฐานวิทยา (Morphology) ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้ างและรู ปร่ างของสิ่งมีชีวิต - สรีรวิทยา (Physiology) ศึกษาหน้ าที่การทํางานของระบบต่ างๆ ในร่ างกายของ สิ่งมีชีวิต - พันธุศาสตร์ (Genetics) ศึกษาลักษณะต่ างๆ ทางกรรมพันธุ์และการถ่ ายทอดลักษณะ ต่ างๆจากบรรพบุรุษสู่ลูกหลาน
  • 35. - นิเวศวิทยา (Ecology) ศึกษาความสัมพันธ์ ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้ อม - มิญชวิทยาหรือเนือเยื่อวิทยา (Histology) ้ ศึกษาลักษณะของเนือเยื่อทังทางด้ านโครงสร้ างและหน้ าที่การ ้ ้ ทํางาน - วิทยาเอ็มบริโอ (Embryology) ศึกษาการเจริญเติบโตของตัวอ่ อน - ปรสิตวิทยา (Parasitology) ศึกษาเกี่ยวกับการเป็ นปรสิตของสิ่งมีชีวิต - วิทยาเซลล์ (Cytology) ศึกษาโครงสร้ างหน้ าที่ของเซลล์ ส่ ิงมีชีวิต
  • 36. 3.ศึกษาเรื่ องราวของสิ่งมีชีวต ิ - อนุกรมวิธาน (Taxonomy) ศึกษาเกี่ยวกับการแบ่ งหมวดหมู่ การตังชื่อ ้ สิ่งมีชีวตชนิดต่ างๆ ิ - วิวัฒนาการ (Evolution) ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวของสิ่งมีชีวตตังแต่ อดีต ิ ้ จนถึงปั จจุบน ั - บรรพชีวนวิทยา (Paleontology) ิ ศึกษาเกี่ยวกับซากโบราณของสิ่งมีชีวต ิ
  • 38. -Cloning คือ การสร้ างสิ่ งมีชีวตใหม่ ทมลกษณะทางพันธุกรรม ิ ี่ ี ั เหมือนเดิมทุกประการ - GMOs (genetically modified organisms) คือ สิ่ งมีชีวตทีมีการตัดและต่ อยีนด้ วยเทคนิคพันธุวศวกรรม ิ ่ ิ (genetic engineering) ทําให้ มีลกษณะพันธุกรรมตามต้ องการ ั - การผสมเทียมในหลอดแก้ ว แล้ วถ่ ายฝากตัวอ่ อน (In Vitro Fertilization Embryo Transfer หรือ IVF& ET ) -การทําอิกซี่ ( Intra Cytoplasmic Sperm Injection ๊ หรือ ICSI) คัดเชื้ออสุ จิทสมบูรณ์ เพียงตัวเดียว ฉีดเข้ าไปในไข่ โดยตรง ี่ ใช้ ในกรณีทเี่ ด็กหลอดแก้ วธรรมดาไม่ ประสบความสํ าเร็จ
  • 39. - การทํากิฟท์ ( Gamete IntraFollopain Transfer หรื อ GIF) นําเซลล์ สืบพันธุ์ไข่ และอสุจมาผสมกัน แล้ วใส่ กลับเข้ าสู่ท่อนําไข่ ทนที ิ ั อาศัยให้ อสุจและไข่ ปฏิสนธิกันเองตามธรรมชาติ ิ - การทําซิฟท์ ( Zygote IntraFollopain Transfer หรื อ ZIFT) เซลล์ สืบพันธุ์ไข่ และอสุจมาผสมกันให้ เกิดการปฏิสนธินอกร่ างกาย ิ ก่ อน แล้ วจึงนําตัวอ่ อนในระยะ Zygote ใส่ กลับเข้ าไปในท่ อนําไข่ - การพัฒนาเทคนิคทางด้ าน DNA ตรวจหาความสัมพันธ์ ทางสายเลือด - การผลิตสาหร่ ายสไปรู ไลนาซึ่งให้ โปรตีนสูง - การศึกษาทางด้ านพืชสมุนไพรนํามาผลิตเป็ นยารักษาโรค - การผลิตฮอร์ โมนอินซูลินจากยีสต์ เพื่อรั กษาโรคเบาหวานในคน
  • 41. ชีวจริยธรรม (Bioethics) การปฏิบัตต่อสิ่ งมีชีวตอย่ างมีคุณธรรม ิ ิ ไม่ ทาร้ ายหรือทําอันตรายต่ อสิ่ งมีชีวต ํ ิ
  • 42. จรรยาบรรณในการใช้ สัตว์ ทดลอง สํานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่ งชาติ กําหนดจรรยาบรรณการใช้ สัตว์ เพื่องานวิจัย งานสอน งานทดสอบ และงานผลิตชีววัตถุไว้ ดังนี ้ • 1. ผู้ใช้ สัตว์ ต้องตระหนักถึงคุณค่ าของชีวตสัตว์ ิ • 2. ผู้ใช้ สัตว์ ต้องตระหนักถึงความแม่ นยําของผลงานโดยใช้ สัตว์ จํานวนน้ อยที่สุด • 3. การใช้ สัตว์ ป่าต้ องไม่ ขัดต่ อกฎหมายและนโยบายการอนุรักษ์ ป่า • 4. ผู้ใช้ สัตว์ ต้องตระหนักว่ าสัตว์ เป็ นสิ่งมีชีวตเช่ นเดียวกับมนุษย์ ิ • 5. ผู้ใช้ สัตว์ ต้องบันทึกการปฏิบัตต่อสัตว์ ไว้ เป็ นหลักฐานอย่ าง ิ ครบถ้ วน