SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Descargar para leer sin conexión
1




                                       วัฏจักรคาร์ โนต์

ผลลัพธ์ การเรียนรู้

1. อธิ บายกระบวนการของวัฏจักรคาร์ โนต์ได้
2. คํานวณหาค่าประสิ ทธิ ภาพของวัฎจักรคาร์ โนต์ได้

      ก่อนทีจะกล่าวถึงเครื องยนต์สันดาปภายใน ซึ งใช้เชือเพลิงผสมกับอากาศเป็ นตัวทํางาน เรา
พิจารณาว่า ถ้าสมมุตว่าเครื องยนต์ใช้อากาศเป็ นตัวทํางาน และจะมีวฏจักรเป็ นอย่างไร
                                                                      ั                           ถ้า
สงสัยว่าทําไมต้องใช้อากาศมาเป็ นตัวทํางาน คําตอบคือ การใช้อากาศอย่างเดียวมาพิจารณาจะง่าย
กว่า จึงขอให้พิจารณาดังต่อไปนี ก่อนอืนเราต้องกําหนดก่อนว่าการใช้อากาศเป็ นมาตรฐาน (
Air Standard ) นัน จะมีขอกําหนดอย่างไรบ้าง
                          ้
       - แก๊สทีทํางานภายในกระบอกสู บของเครื องยนต์จะต้องเป็ นอากาศสมบูรณ์ ( Perfect
           gas) มี การเปลี ยนแปลงตามกฏของบอย และชาลส์ จะมี ค่าความร้ อนของแก๊สคงที
           ( Constant Specific Heat)
       - คุ ณ สมบัติข องแก๊ ส ภายในหระบอกสู บ จะมี ค่ า เช่ น เดี ย วกับ อุ ณ หภู มิ เฉลี ยปกติ เช่ น
           นําหนักโมเลกุลมีค่าเท่ากับ 29 และมีความร้ อนจําเพาะทีปริ มาตรคงทีเท่ากับ 0.170
           กิโลแคลอรี /(กิโลกัม) องศาเซลเซี ยส
       - กระบวนการอัดและการขยายตัว ต้องเป็ นแบบแอเดียแบติก ( Adiabatic) คือไม่มีความ
           ร้อนผ่านเข้าออกจากกระบวนการ (Q = 0) และการทํางานต้องไม่คิดความฝื ดด้วย
       - วัฏจักรในการทํางานนีต้องทํางานแบบวัฏจักรปิ ด หมายถึง สารตัวทํางานจะอยูจะคงอยู่     ่
           ในระบบตลอดเวลา ซึ งต่างจากวัฏจักรเปิ ด คือ สารตัวทํางานจะถูกปล่อยทิง และดูด
           สารทํางานเข้ามาใหม่




         โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค )                           เครืองยนต์ สันดาปภายใน
2




วัฏจักรคาร์ โนต์

        คาร์ โนต์ เป็ นผูคิดวัฏจักรนี ซึ งเราจําเป็ นต้องศึกษาเพือดูแนวคิดของวัฏจักรของเครื องยนต์
                         ้
สันดาปภายใน การใช้ในงานจริ งๆ วัฏจักรนี ไม่มีการนําไปใช้งาน จะมีใช้งานก็ใน วัฏจักรทวน
ของคาร์ โนต์ ซึ งได้แก่ กระบวนการของเครื องทําความเย็น และเครื องปรับอากาศ

        วัฏจักรคาร์ โนต์ประกอบด้วยกระกอบด้วยกระบวนการต่างๆดังนี




                     P –V Diagram และ T – S Diagram ของวัฏจักรคาร์ โนต์



        กระบวนการ 1 → 2       การขยายตัวแบบอะเดียแบติก ( adiabatic process)
        กระบวนการ 2 → 3       ความร้อนระบายออกแบบไอโซเทอร์ มอล ( Isothermal Process)
        กระบวนการ 3 → 4       การอัดตัวแบบอะเดียแบติก ( adiabatic process)
        กระบวนการ 4 → 1       การให้ความร้อนแบบไอโซเทอร์ มอล ( Isothermal Process)




         โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค )                         เครืองยนต์ สันดาปภายใน
3




        พืนทีในแผนภาพ P –V Diagram จะเป็ นงานทีได้จากวัฏจักรคาร์ โนต์ ในรู ปของพลังงาน
                                                    ่
กล ส่ วน T – S Diagram พืนทีจะเป็ นความร้อน ( Q) อยูในรู ปพลังงานความร้อน
                                                                          ่
        เปรี ยบเทียบหน่วยของงาน คือ กิโลกรัม.เมตร กับ กิโลแคลอรี สมมุติวางานเท่ากับ 100
kg.m จะได้ดงนีั
                 งาน 427 kg.m = 1 kcal
                                                   100
                 งาน 100 kg.m =                                      = 0.2342 kcal
                                                   427


หมายเหตุ         1 kcal = 427 kg.m
                 P คือ ความดัน
                 V คือ ปริ มาตร
                 T คือ อุณหภูมิ
                 S คือ เอนโทรปี

การเปลียนแปลงของวัฏจักรคาร์ โนต์

กระบวนการ 1 → 2 การขยายตัวแบบอะเดียแบติก ( adiabatic process)
      ความดันลดลงจาก P1 เป็ น P2
      ปริ มาตรเพิมขึนจาก V1 เป็ น V2
      อุณหภูมิลดลงจาก T1 เป็ น T2

                              ( k −1) / k                  ( k −1)
        T2          P2                         V1   
             =     
                   P     
                                           =   
                                                V     
                                                       
        T1          1                          2    
       ไม่มีการถ่ายเทความร้อน                    Q1→2


กระบวนการ 2 → 3 ความร้อนระบายออกแบบไอโซเทอร์ มอล ( Isothermal Process)
      ความดันเพิมขึนจาก P2 เป็ น P3
      ปริ มาตรลดลงจาก V2 เป็ น V3




        โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค )                                       เครืองยนต์ สันดาปภายใน
4




       อุณหภูมิคงที          T2        เท่ากับ          T3          และในทํานองเดียวกัน
                             T4        เท่ากับ          T1


                        T2                 T3
       เพราะฉะนัน                 =
                        T1                 T4

                                 ( k −1)                    ( k −1)
                       V1                      V4    
       จะได้          
                      V     
                                          =    
                                                V      
                                                        
                       2                       3     
                                                                                        V3
       งานทีกระทํา                             W2 → 3          =      P2 V2        ln
                                                                                        V2

                                                               = m
                                                                                                   V3
                                               W2 → 3                      ×   R    × T2      ln
                                                                                                   V2
       ความร้อนทีถ่ายเทออก                 Q 2 →3      =        QR        =    W2 → 3

                                                        = m
                                                                                                  V3
                                               QR                         ×    R   × T2      ln
                                                                                                  V2


กระบวนการ 3 → 4 การอัดตัวแบบอะเดียแบติก ( adiabatic process)
      ความดันเพิมขึนจาก P3 เป็ น P4
      ปริ มาตรลดลงจาก V3 เป็ น V4
      อุณหภูมิคงที      T3 เท่ากับ T4

                                                               ( k −1)
                         T3                      V4       
                                      =         
                                                V         
                                                           
                         T4                      3        
                                                                         m × R × (T4 − T3 )
       งานทีกระทํา                             W3→ 4           =                                        ( ค่า k ของอากาศเท่ากับ 1.4 )
                                                                               k -1
       ไม่มีการถ่ายเทความร้อน                  Q 3→4           = 0

กระบวนการ 4 → 1 ความร้อนคายออกแบบไอโซเทอร์ มอล ( Isothermal Process)
      ความดันลดลงจาก P4 เป็ น P1
      ปริ มาตรเพิมขึนจาก V4 เป็ น V1




       โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค )                                                              เครืองยนต์ สันดาปภายใน
5




       อุณหภูมิคงที               T4   เท่ากับ     T1
                                                                 V1
       งานทีกระทํา                 W4→1        =   P4 V4    ln
                                                                 V4

                                               = m
                                                                            V1
                                   W4→1                 ×   R   × T4   ln
                                                                            V4
       ความร้อนทีได้รับ           Q 4→1    =       QR   =       W4→1

                                               = m
                                                                            V1
                                   QA                   ×   R   × T4   ln
                                                                            V4


ประสิ ทธิภาพทางความร้ อนของวัฏจักรคาร์ โนต์
        ประสิ ทธิ ภาพทางความร้อนของวัฏจักรคาร์ โนต์ หาได้จากสมการดังต่อไปนี
                                   QA − QR
                       η th   =
                                     QA
       หรื อ
                                          TL
                       η th   = 1-
                                          TH
       เมือ
                       TL คือ อุณหภูมิตาสุ ด
                                       ํ
                       TH คือ อุณหภูมิสูงสุ ด

ตัวอย่ างที 7.1 จงหาประสิ ทธิ ภาพทางความร้อนของวัฏจักรคาร์ โนต์ ซึงทํางานระหว่างอุณหภูมิ
30 0 C และ 1,500 0 C

วิธีทา จากโจทย์
     ํ
                TL คือ อุณหภูมิตาสุ ด เท่ากับ 30 + 273 = 303 0 K
                                ํ
                TH คือ อุณหภูมิสูงสุ ด เท่ากับ 1500 + 273 = 1773 0 K
        หา η th จากสมการ
                                  TL
               η th    = 1-
                                  TH




        โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค )                                   เครืองยนต์ สันดาปภายใน
6




                              303
                 = 1-
                             1773

                      1773 303
                 =        −
                      1773 1773

                       1773 − 303
                 =                                 =           0.83
                         1773
                 = 83 %                                                                               ตอบ

           ........................................................................................




โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค )                                                      เครืองยนต์ สันดาปภายใน
7




                                       แบบทดสอบ
                                     วัฏจักรคาร์ โนต์

คําสั ง จงตอบคําถามต่อไปนี
1. จงอธิ บายกระบวนการในวัฏจักรคาร์ โนต์ต่อไปนี




       กระบวนการ 1 → 2 …………………………………………………………
…………………………………………………………………………………


       กระบวนการ 2 → 3
           …………………………………………………………
…………………………………………………………………………………

       กระบวนการ 3 → 4
           …………………………………………………………
…………………………………………………………………………………


       กระบวนการ 4 → 1
           …………………………………………………………
…………………………………………………………………………………




        โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค )          เครืองยนต์ สันดาปภายใน
8




2. จงหาประสิ ทธิ ภาพทางความร้อนของวัฏจักรคาร์ โนต์ ซึ งทํางานระหว่างอุณหภูมิ 20   0
                                                                                      C
และ 1,450 0 C




        โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค )                   เครืองยนต์ สันดาปภายใน
9




                                เฉลยแบบทดสอบ
                                 วัฏจักรคาร์ โนต์

คําสั ง จงตอบคําถามต่อไปนี

1. จงอธิ บายกระบวนการในวัฏจักรคาร์ โนต์ต่อไปนี




         กระบวนการ 1 → 2 การขยายตัวแบบอะเดียแบติก ( adiabatic process )ความดันลดลง
จาก P1   เป็ น P2 , ปริ มาตรเพิมขึนจาก V1 เป็ น V2 ,อุณหภูมิลดลงจาก T1 เป็ น T2

       กระบวนการ 2 → 3 ความร้อนระบายออกแบบไอโซเทอร์ มอล ( Isothermal Process)
ความดันเพิมขึนจาก P2 เป็ น P3 , ปริ มาตรลดลงจาก V2 เป็ น V3 ,อุณหภูมิคงที T2 เท่ากับ T3

        กระบวนการ 3 → 4 การอัดตัวแบบอะเดียแบติก ( adiabatic process ) ความดันเพิมขึน
จาก P3 เป็ น P4 , ปริ มาตรลดลงจาก V3 เป็ น V4 ,อุณหภูมิคงที T3 เท่ากับ T4




         โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค )                 เครืองยนต์ สันดาปภายใน
10




       กระบวนการ 4 → 2. จงหาประสิ ทธิ ภาพทางความร้อนของวัฏจักรคาร์ โนต์ ซึ งทํางาน
ระหว่างอุณหภูมิ 20 0 C และ 1,450 0 C

           ……………………………………………………………………………..

2. จงหาประสิ ทธิ ภาพทางความร้อนของวัฏจักรคาร์ โนต์ ซึ งทํางานระหว่างอุณหภูมิ 20                                       0
                                                                                                                          C
และ 1,450 0 C

วิธีทา
     ํ
                หา     η th   จากสมการ
                                         TL
                η th          = 1-
                                         TH


                              = 1 - ( 20 + 273 )
                                    (1450 + 273)

                              = 0.83
                             = 83 %                                                                             ตอบ
                       ........................................................................................




         โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค )                                                      เครืองยนต์ สันดาปภายใน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สูตรอินทิเกรต และ ดิฟ
สูตรอินทิเกรต และ ดิฟสูตรอินทิเกรต และ ดิฟ
สูตรอินทิเกรต และ ดิฟ
Trae Treesien
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
Wijitta DevilTeacher
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
พัน พัน
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียง
Nawamin Wongchai
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
tewin2553
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พัน พัน
 

La actualidad más candente (20)

การถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อนการถ่ายโอนความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
สูตรอินทิเกรต และ ดิฟ
สูตรอินทิเกรต และ ดิฟสูตรอินทิเกรต และ ดิฟ
สูตรอินทิเกรต และ ดิฟ
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียง
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
 
Fluid
FluidFluid
Fluid
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

Similar a วัฏจักรคาร์โนต์ (7)

003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thai003 heat conduction equation thai
003 heat conduction equation thai
 
Gas genchem
Gas genchemGas genchem
Gas genchem
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อน
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
 
Themodynamics
ThemodynamicsThemodynamics
Themodynamics
 

วัฏจักรคาร์โนต์

  • 1. 1 วัฏจักรคาร์ โนต์ ผลลัพธ์ การเรียนรู้ 1. อธิ บายกระบวนการของวัฏจักรคาร์ โนต์ได้ 2. คํานวณหาค่าประสิ ทธิ ภาพของวัฎจักรคาร์ โนต์ได้ ก่อนทีจะกล่าวถึงเครื องยนต์สันดาปภายใน ซึ งใช้เชือเพลิงผสมกับอากาศเป็ นตัวทํางาน เรา พิจารณาว่า ถ้าสมมุตว่าเครื องยนต์ใช้อากาศเป็ นตัวทํางาน และจะมีวฏจักรเป็ นอย่างไร ั ถ้า สงสัยว่าทําไมต้องใช้อากาศมาเป็ นตัวทํางาน คําตอบคือ การใช้อากาศอย่างเดียวมาพิจารณาจะง่าย กว่า จึงขอให้พิจารณาดังต่อไปนี ก่อนอืนเราต้องกําหนดก่อนว่าการใช้อากาศเป็ นมาตรฐาน ( Air Standard ) นัน จะมีขอกําหนดอย่างไรบ้าง ้ - แก๊สทีทํางานภายในกระบอกสู บของเครื องยนต์จะต้องเป็ นอากาศสมบูรณ์ ( Perfect gas) มี การเปลี ยนแปลงตามกฏของบอย และชาลส์ จะมี ค่าความร้ อนของแก๊สคงที ( Constant Specific Heat) - คุ ณ สมบัติข องแก๊ ส ภายในหระบอกสู บ จะมี ค่ า เช่ น เดี ย วกับ อุ ณ หภู มิ เฉลี ยปกติ เช่ น นําหนักโมเลกุลมีค่าเท่ากับ 29 และมีความร้ อนจําเพาะทีปริ มาตรคงทีเท่ากับ 0.170 กิโลแคลอรี /(กิโลกัม) องศาเซลเซี ยส - กระบวนการอัดและการขยายตัว ต้องเป็ นแบบแอเดียแบติก ( Adiabatic) คือไม่มีความ ร้อนผ่านเข้าออกจากกระบวนการ (Q = 0) และการทํางานต้องไม่คิดความฝื ดด้วย - วัฏจักรในการทํางานนีต้องทํางานแบบวัฏจักรปิ ด หมายถึง สารตัวทํางานจะอยูจะคงอยู่ ่ ในระบบตลอดเวลา ซึ งต่างจากวัฏจักรเปิ ด คือ สารตัวทํางานจะถูกปล่อยทิง และดูด สารทํางานเข้ามาใหม่ โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค ) เครืองยนต์ สันดาปภายใน
  • 2. 2 วัฏจักรคาร์ โนต์ คาร์ โนต์ เป็ นผูคิดวัฏจักรนี ซึ งเราจําเป็ นต้องศึกษาเพือดูแนวคิดของวัฏจักรของเครื องยนต์ ้ สันดาปภายใน การใช้ในงานจริ งๆ วัฏจักรนี ไม่มีการนําไปใช้งาน จะมีใช้งานก็ใน วัฏจักรทวน ของคาร์ โนต์ ซึ งได้แก่ กระบวนการของเครื องทําความเย็น และเครื องปรับอากาศ วัฏจักรคาร์ โนต์ประกอบด้วยกระกอบด้วยกระบวนการต่างๆดังนี P –V Diagram และ T – S Diagram ของวัฏจักรคาร์ โนต์ กระบวนการ 1 → 2 การขยายตัวแบบอะเดียแบติก ( adiabatic process) กระบวนการ 2 → 3 ความร้อนระบายออกแบบไอโซเทอร์ มอล ( Isothermal Process) กระบวนการ 3 → 4 การอัดตัวแบบอะเดียแบติก ( adiabatic process) กระบวนการ 4 → 1 การให้ความร้อนแบบไอโซเทอร์ มอล ( Isothermal Process) โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค ) เครืองยนต์ สันดาปภายใน
  • 3. 3 พืนทีในแผนภาพ P –V Diagram จะเป็ นงานทีได้จากวัฏจักรคาร์ โนต์ ในรู ปของพลังงาน ่ กล ส่ วน T – S Diagram พืนทีจะเป็ นความร้อน ( Q) อยูในรู ปพลังงานความร้อน ่ เปรี ยบเทียบหน่วยของงาน คือ กิโลกรัม.เมตร กับ กิโลแคลอรี สมมุติวางานเท่ากับ 100 kg.m จะได้ดงนีั งาน 427 kg.m = 1 kcal 100 งาน 100 kg.m = = 0.2342 kcal 427 หมายเหตุ 1 kcal = 427 kg.m P คือ ความดัน V คือ ปริ มาตร T คือ อุณหภูมิ S คือ เอนโทรปี การเปลียนแปลงของวัฏจักรคาร์ โนต์ กระบวนการ 1 → 2 การขยายตัวแบบอะเดียแบติก ( adiabatic process) ความดันลดลงจาก P1 เป็ น P2 ปริ มาตรเพิมขึนจาก V1 เป็ น V2 อุณหภูมิลดลงจาก T1 เป็ น T2 ( k −1) / k ( k −1) T2  P2   V1  =  P   =  V   T1  1   2  ไม่มีการถ่ายเทความร้อน Q1→2 กระบวนการ 2 → 3 ความร้อนระบายออกแบบไอโซเทอร์ มอล ( Isothermal Process) ความดันเพิมขึนจาก P2 เป็ น P3 ปริ มาตรลดลงจาก V2 เป็ น V3 โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค ) เครืองยนต์ สันดาปภายใน
  • 4. 4 อุณหภูมิคงที T2 เท่ากับ T3 และในทํานองเดียวกัน T4 เท่ากับ T1 T2 T3 เพราะฉะนัน = T1 T4 ( k −1) ( k −1)  V1   V4  จะได้  V   =  V    2   3  V3 งานทีกระทํา W2 → 3 = P2 V2 ln V2 = m V3 W2 → 3 × R × T2 ln V2 ความร้อนทีถ่ายเทออก Q 2 →3 = QR = W2 → 3 = m V3 QR × R × T2 ln V2 กระบวนการ 3 → 4 การอัดตัวแบบอะเดียแบติก ( adiabatic process) ความดันเพิมขึนจาก P3 เป็ น P4 ปริ มาตรลดลงจาก V3 เป็ น V4 อุณหภูมิคงที T3 เท่ากับ T4 ( k −1) T3  V4  =  V   T4  3  m × R × (T4 − T3 ) งานทีกระทํา W3→ 4 = ( ค่า k ของอากาศเท่ากับ 1.4 ) k -1 ไม่มีการถ่ายเทความร้อน Q 3→4 = 0 กระบวนการ 4 → 1 ความร้อนคายออกแบบไอโซเทอร์ มอล ( Isothermal Process) ความดันลดลงจาก P4 เป็ น P1 ปริ มาตรเพิมขึนจาก V4 เป็ น V1 โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค ) เครืองยนต์ สันดาปภายใน
  • 5. 5 อุณหภูมิคงที T4 เท่ากับ T1 V1 งานทีกระทํา W4→1 = P4 V4 ln V4 = m V1 W4→1 × R × T4 ln V4 ความร้อนทีได้รับ Q 4→1 = QR = W4→1 = m V1 QA × R × T4 ln V4 ประสิ ทธิภาพทางความร้ อนของวัฏจักรคาร์ โนต์ ประสิ ทธิ ภาพทางความร้อนของวัฏจักรคาร์ โนต์ หาได้จากสมการดังต่อไปนี QA − QR η th = QA หรื อ TL η th = 1- TH เมือ TL คือ อุณหภูมิตาสุ ด ํ TH คือ อุณหภูมิสูงสุ ด ตัวอย่ างที 7.1 จงหาประสิ ทธิ ภาพทางความร้อนของวัฏจักรคาร์ โนต์ ซึงทํางานระหว่างอุณหภูมิ 30 0 C และ 1,500 0 C วิธีทา จากโจทย์ ํ TL คือ อุณหภูมิตาสุ ด เท่ากับ 30 + 273 = 303 0 K ํ TH คือ อุณหภูมิสูงสุ ด เท่ากับ 1500 + 273 = 1773 0 K หา η th จากสมการ TL η th = 1- TH โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค ) เครืองยนต์ สันดาปภายใน
  • 6. 6 303 = 1- 1773 1773 303 = − 1773 1773 1773 − 303 = = 0.83 1773 = 83 % ตอบ ........................................................................................ โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค ) เครืองยนต์ สันดาปภายใน
  • 7. 7 แบบทดสอบ วัฏจักรคาร์ โนต์ คําสั ง จงตอบคําถามต่อไปนี 1. จงอธิ บายกระบวนการในวัฏจักรคาร์ โนต์ต่อไปนี กระบวนการ 1 → 2 ………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… กระบวนการ 2 → 3 ………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… กระบวนการ 3 → 4 ………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… กระบวนการ 4 → 1 ………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค ) เครืองยนต์ สันดาปภายใน
  • 8. 8 2. จงหาประสิ ทธิ ภาพทางความร้อนของวัฏจักรคาร์ โนต์ ซึ งทํางานระหว่างอุณหภูมิ 20 0 C และ 1,450 0 C โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค ) เครืองยนต์ สันดาปภายใน
  • 9. 9 เฉลยแบบทดสอบ วัฏจักรคาร์ โนต์ คําสั ง จงตอบคําถามต่อไปนี 1. จงอธิ บายกระบวนการในวัฏจักรคาร์ โนต์ต่อไปนี กระบวนการ 1 → 2 การขยายตัวแบบอะเดียแบติก ( adiabatic process )ความดันลดลง จาก P1 เป็ น P2 , ปริ มาตรเพิมขึนจาก V1 เป็ น V2 ,อุณหภูมิลดลงจาก T1 เป็ น T2 กระบวนการ 2 → 3 ความร้อนระบายออกแบบไอโซเทอร์ มอล ( Isothermal Process) ความดันเพิมขึนจาก P2 เป็ น P3 , ปริ มาตรลดลงจาก V2 เป็ น V3 ,อุณหภูมิคงที T2 เท่ากับ T3 กระบวนการ 3 → 4 การอัดตัวแบบอะเดียแบติก ( adiabatic process ) ความดันเพิมขึน จาก P3 เป็ น P4 , ปริ มาตรลดลงจาก V3 เป็ น V4 ,อุณหภูมิคงที T3 เท่ากับ T4 โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค ) เครืองยนต์ สันดาปภายใน
  • 10. 10 กระบวนการ 4 → 2. จงหาประสิ ทธิ ภาพทางความร้อนของวัฏจักรคาร์ โนต์ ซึ งทํางาน ระหว่างอุณหภูมิ 20 0 C และ 1,450 0 C …………………………………………………………………………….. 2. จงหาประสิ ทธิ ภาพทางความร้อนของวัฏจักรคาร์ โนต์ ซึ งทํางานระหว่างอุณหภูมิ 20 0 C และ 1,450 0 C วิธีทา ํ หา η th จากสมการ TL η th = 1- TH = 1 - ( 20 + 273 ) (1450 + 273) = 0.83 = 83 % ตอบ ........................................................................................ โรงเรียนลําปางเทคโนโลยี ( แลมป์ -เทค ) เครืองยนต์ สันดาปภายใน