SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 45
Descargar para leer sin conexión
ขอเสนอแนะ
      การใชคมือครู แผนการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนภาษาไทย ป. ๔ เลม ๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
              ู                                                                                                    ้
         เพื่อใชกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพนฐาน ชุดปฏิรูป: รูวิธีการเรียนรู ของ วพ. ตามหลักสูตรการศึกษาขันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
                                                ื้                                                              ้

                                                                                        สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ
                                                                                                                                  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต
       หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด
                        ี่      ั                    แผนการจัดการเรียนรู                  วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551                             ตามหลักสูตรฯ 2544
                                                                                                  หนวย/หนา                                หนวย/บท/ตอน/หนา
๑ สองพี่นอง                                   แผนฯ ที่ ๑ การจับใจความสําคัญจาก       หนวยที่ ๑ การจับใจความสําคัญจาก          การจับใจความสําคัญจากเรื่องที่อาน (ความรูเพิ่มเติม
  ตัวชี้วัด                                                เรื่องที่อาน              เรื่องที่อาน (ความรูเพิ่มเติมจากเนื้อ   จากเนื้อเรื่อง)
 ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ตัวชี้วัด ท ๓.๑ (ป. ๔/๑), ท ๓.๑               เรื่อง)
   ไดถูกตอง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑)                   (ป. ๔/๒), ท ๓.๑ (ป. ๔/๖), ท ๓.๑
 ๒. คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อานโดยระบุ (ป. ๔/๔), ท ๓.๑ (ป. ๔/๓)
   เหตุผลประกอบ ท ๑.๑ (ป. ๔/๕)                 แผนฯ ที่ ๒ การอานเรื่อง สองพี่นอง    หนวยที่ ๑ เรื่อง สองพี่นอง หนา ๒–๕     หนวยที่ ๑ เรื่อง สองพี่นอง หนา ๒–๓
 ๓. มีมารยาทในการอาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๘)           ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑), ท ๑.๑        (ปรับเนื้อเรื่องใหมดูเอกสารเสริมที่ ๑)
 ๔. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ง        (ป. ๔/๕), ท ๑.๑ (ป. ๔/๘), ท ๒.๑
    บรรทัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๑)                      (ป. ๔/๔),ท ๔.๑ (ป. ๔/๓), ท ๔.๑
 ๕. เขียนยอความจากเรื่องสั้น                  (ป. ๔/๕), ท ๕.๑ (ป. ๔/๑) , ท ๕.๑
    ท ๒.๑ (ป. ๔/๒)                             (ป. ๔/๒)
 ๖. จําแนกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่ แผนฯ ที่ ๓ การอานคําที่มีตวสะกด แม
                                                                          ั           หนวยที่ ๑ การอานคําที่มีตวสะกด (แม หนวยที่ ๑ การอาน (แม ก กา แมกด และแมกน)
                                                                                                                 ั
    ฟงและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๑)                                ก กา แมกน และแมกด        ก กา แมกน และแมกด) หนา ๙           หนา ๕, แมกด อยูในหนวยที่ ๖ เลนแบบไทย หนา
 ๗. พูดสรุปความจากการฟงและดู                  ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑), ท ๒.๑                                              ๘๒, , หนวยที่ ๑๐ สนุกสนานวันสงการนต หนา
    ท ๓.๑ (ป. ๔/๒)                             (ป. ๔/๑), ท ๔/๑ (ป. ๔/๑)                                                     ๑๓๕)
สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ
                                                                                                                            หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต
      หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด
                       ี่      ั                  แผนการจัดการเรียนรู                  วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551                          ตามหลักสูตรฯ 2544
                                                                                               หนวย/หนา                             หนวย/บท/ตอน/หนา
๘. พูดแสดงความรู ความคิดเห็น และ           แผนฯ ที่ ๔ การอานคําที่ออกเสียง ร ล   หนวยที่ ๑ การอานคําที่ออกเสียง ร ล                         ไมมี
   ความรูสึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู     ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑), ท ๔.๑        หนา ๑๑                                               (ดูเอกสารเสริมที่ ๒)
   ท ๓.๑ (ป. ๔/๓)                           (ป. ๔/๑)
๙. ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจาก      แผนฯ ที่ ๕ การอานคําที่ออกเสียง อะ    หนวยที่ ๑ การอานคําที่ออกเสียง อะ    การอานคําที่ออกเสียง อะ อยูในหนวยที่ ๕ นักสะสม
    เรื่องที่ฟงและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๔)        ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑), ท ๔.๑ (ป.    หนา ๑๑                                แสตมป หนา ๖๖, หนวยที่ ๑๓ รามเกียรติ์ ตอน
๑๐. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศกษาคนควา
                                    ึ       ๔/๑)                                                                          ทรพีฆาทรพา หนา ๑๗๖
      จากการฟง การดู และการสนทนา           แผนฯ ที่ ๖ การพูดแนะนําตนเองและ        หนวยที่ ๑ การพูด หนา ๑๒–๑๓                                   ไมมี
      ท ๓.๑ (ป. ๔/๕)                                      การพูดสนทนา                                                                     (ดูเอกสารเสริมที่ ๓)
๑๑. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด        ตัวชี้วัด ท ๓.๑ (ป. ๔/๓), ท ๓.๑ (ป.
    ๓.๑ (ป. ๔/๖)                            ๔/๕), ท ๓.๑ (ป. ๔/๖)
๑๒. สะกดคําและบอกความหมายของคําใน           แผนฯ ที่ ๗ การผันอักษรสามหมู          หนวยที่ ๑ การผันอักษร ๓ หมู                                ไมมี
      บริบทตาง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑)            ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑), ท ๔.๑        หนา ๑๓–๑๔                                            (ดูเอกสารเสริมที่ ๓)
๑๓. ใชพจนานุกรมคนหาความหมายของคํา         (ป. ๔/๑)
      ๔.๑ (ป. ๔/๓)
๑๔. แตงบทรอยกรองและคําขวัญ
      ๔.๑ (ป. ๔/๕)
สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ
                                                                                                                            หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต
       หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด
                        ี่      ั                  แผนการจัดการเรียนรู                 วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551                          ตามหลักสูตรฯ 2544
                                                                                               หนวย/หนา                             หนวย/บท/ตอน/หนา
 ๑๕. ระบุขอคิดจากนิทานพื้นบานหรือนิทานคติ
     ธรรม ๕.๑ (ป. ๔/๑)
 ๑๖. อธิบายขอคิดในการอานเพื่อนําไปใชใน
     ชีวิตจริง ๕.๑ (ป. ๔/๒)

๑ เยี่ยมคุณยาย                                แผนฯ ที่ ๘ การอานเรื่อง เยี่ยมคุณยาย หนวยที่ ๒ เรื่องเยี่ยมคุณยาย         หนวยที่ ๒ เรื่องเยี่ยมคุณยาย หนา หนา ๒๐–๒๑
  ตัวชี้วัด                                   ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๑.๑        หนา ๒๔–๒๙ (ปรับเนื้อเรื่องใหม ดู
 ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง (ป. ๔/๒), ท ๑.๑ (ป. ๔/๓), ท ๑.๑ เอกสารเสริมที่ ๕)
   ไดถูกตอง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑)                  (ป. ๔/๔), ท ๑.๑ (ป. ๔/๖), ท ๒.๑
 ๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และ           (ป. ๔/๑),ท ๔.๑ (ป. ๔/๗), ท ๕.๑
    สํานวนจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๒)     (ป. ๔/๒), ท ๕.๑ (ป. ๔/๓)
 ๓. อานเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กําหนดและตอบ แผนฯ ที่ ๙ การอานคําที่มีตัวสะกดแม หนวยที่ ๒ การอานคําที่มีตัวสะกด (แม   หนวยที่ ๒ การอาน (แมเกย และแมเกอว) หนา ๒๓,
    คําถามจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๓)                  กง แมเกย และแมเกอว กง แมเกย และแมเกอว) หนา ๓๒             (แมกง ไมมีดูเอกสารเสริมที่ ๖)
 ๔. แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่   ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑), ท ๔/๑
    อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๔)                       (ป. ๔/๑)
 ๕. สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อานเพื่อ แผนฯ ที่ ๑๐ การอานคํานาม สรรพ-       หนวยที่ ๒ ชนิดของคํา(คํานาม สรรพ-    คํานาม สรรพ-นาม คํากริยา อยูในหนวยที่ ๑ สองพี่
    นําไปใชในชีวิตประจําวัน ท ๑.๑ (ป. ๔/๖)                นาม คํากริยา และคํา      นาม คํากริยา และคําวิเศษณ)           นอง หนา ๗ (คําวิเศษณ ไมมีดูเอกสารเสริมที่ ๗)
 ๖. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ง                    วิเศษณ                  หนา ๓๓–๓๔
    บรรทัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๑)                     ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๒), ท ๔/๑
                                              (ป. ๔/๑), ท ๔/๑ (ป. ๔/๒), ท ๔/๑
สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ
                                                                                                                    หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต
      หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด
                       ี่      ั                  แผนการจัดการเรียนรู              วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551                      ตามหลักสูตรฯ 2544
                                                                                           หนวย/หนา                         หนวย/บท/ตอน/หนา
๗. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ           (ป. ๔/๔)
   ความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน
   ท ๒.๑ (ป. ๔/๒)                           แผนฯ ที่ ๑๑ การคัดลายมือตัวบรรจง   หนวยที่ ๒ การคัดลายมือตัวบรรจง                        ไมมี
๘. มีมารยาทในการเขียน ท ๓.๑ (ป. ๔/๑)        ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๑)           หนา ๓๔–๓๕                                      (ดูเอกสารเสริมที่ ๘)
๙. สะกดคําและบอกความหมายของคําใน
                                            แผนฯ ที่ ๑๒ การเขียนแผนภาพ         หนวยที่ ๒ การเขียนแผนภาพความคิด                       ไมมี
   บริบทตาง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑)
                                                          ความคิด              หนา ๓๕–๓๖                                      (ดูเอกสารเสริมที่ ๙)
๑๐. ระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค
                                            ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๓), ท ๒/๑
    ท ๔.๑ (ป. ๔/๒)
                                            (ป. ๔/๘)
๑๑. ใชพจนานุกรมใชคนหาความหมายของคํา
     ท ๔.๑ (ป. ๔/๓)                         แผนฯ ที่ ๑ การใชพจนานุกรม         หนวยที่ ๒ พจนานุกรม หนา ๓๘–๓๙    หนวยที่ ๒ พจนานุกรม หนา ๒๙–๓๐
๑๒. แตงประโยคไดถูกตองตามหลักภาษา         ตัวชี้วด ท ๒.๑ (ป. ๔/๓)
                                                   ั
     ท ๔.๑ (ป. ๔/๔)
๑๓. เปรียบเทียบภาษามาตราฐานกับภาษาถิ่น
     ท ๔.๑ (ป. ๔/๗)
๑๔. อธิบายขอคิดจากการอานเพื่อนําไปใชใน
     ชีวิตจริง ท ๕.๑ (ป. ๔/๒)
๑๕. รองเพลงพื้นบาน ท ๕.๑ (ป. ๔/๓)
สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ
                                                                                                                           หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต
       หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด
                        ี่      ั                   แผนการจัดการเรียนรู                 วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551                        ตามหลักสูตรฯ 2544
                                                                                                หนวย/หนา                           หนวย/บท/ตอน/หนา
๓ แมฟาหาแผนดิน
                                             แผนฯ ที่ ๑๔ การอานเรื่อง แมฟาหา   หนวยที่ ๓ แมฟาหาแผนดิน          หนวยที่ ๓ สมเด็จยาของชาวไทย หนา ๓๕–๓๖
 ตัวชี้วัด                                                 แผนดิน                  หนา ๕๐–๕๓ ( ปรับเนื้อเรื่องใหมดู
 ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๑.๑              เอกสารเสริมที่ ๑๐)
   ไดถูกตอง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑)                  (ป. ๔/๒), ท ๑.๑ (ป. ๔/๓), ท ๑.๑
 ๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และ           (ป. ๔/๔), ท ๑.๑ (ป. ๔/๖), ท ๒.๑
    สํานวนจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๒)     (ป. ๔/๑),ท ๔.๑ (ป. ๔/๗), ท ๕.๑
 ๓. อานเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กําหนดและตอบ (ป. ๔/๒), ท ๕.๑ (ป. ๔/๓)
    คําถามจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๓)     แผนฯ ที่ ๑๕ การอานคําที่มีอักษรนํา   หนวยที่ ๓ การอานคําที่มีอกษรนํา
                                                                                                               ั         หนวยที่ ๓ การอาน (อักษรนํา) หนา ๓๘, คําที่มี
 ๔. สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อานเพื่อ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๒.๑ (ป.    หนา ๕๗                              อักษรนํา อยูในหนวยที่ ๖ เลนแบบไทย หนา ๘๓, คํา
    นําไปใชในชีวิตประจําวัน ท ๑.๑ (ป. ๔/๖) ๔/๒), ท ๔/๑ (ป. ๔/๑)                                                         ที่มีอักษรนํา อยูในหนวยที่ ๑๒ ตะลุยตางดาว หนา
 ๕. อานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจอยาง                                                                               ๑๖๔
    สม่ําเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ      แผนฯ ที่ ๑๖ คํายอและอักษรยอ         หนวยที่ ๓ คํายอและอักษรยอ         หนวยที่ ๓ คํายอและอักษรยอ หนา ๔๐
    เรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป.๔/๓)               ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑), ท ๔/๑       หนา ๕๘
 ๖. มีมารยาทในการอาน ท ๑.๑ (ป.๔/๘)           (ป. ๔/๑)
 ๗. เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน
    และเหมาะสม ท ๒.๑ (ป. ๔/๒)                 แผนฯ ที่ ๑๗ ประโยค                    หนวยที่ ๓ ประโยค หนา ๕๙–๖๑         หนวยที่ ๒ ประโยค หนา ๒๔–๒๕
 ๘. เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษา ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๒), ท ๔/๑
    คนควา ท ๒.๑ (ป. ๔/๖)                    (ป. ๔/๒), ท ๔/๑ (ป. ๔/๔)
 ๙. เขียนเรื่องตามจินตนาการ
    ท ๒.๑ (ป. ๔/๗)
สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ
                                                                                                                  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต
      หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด
                       ี่      ั                  แผนการจัดการเรียนรู              วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551                    ตามหลักสูตรฯ 2544
                                                                                           หนวย/หนา                       หนวย/บท/ตอน/หนา
๑๐. พูดแสดงความรู ความคิดเห็นและ            แผนฯ ที่ ๑๘ การพูดนําเสนอผลงาน    หนวยที่ ๓ การพูดนําเสนอผลงาน                          ไมมี
     ความรูสึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู    ตัวชี้วัด ท ๓.๑ (ป. ๔/๓), ท ๓/๑   หนา ๖๒                                        (ดูเอกสารเสริมที่ ๑๑)
     ท ๓.๑ (ป.๔/๓)                           (ป. ๔/๕), ท ๓/๑ (ป. ๔/๖)
๑๑. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควา   แผนฯ ที่ ๑๘ การเลือกหนังสืออาน   หนวยที่ ๓ การเลือกหนังสืออาน   หนวยที่ ๓ การเลือกหนังสืออาน หนา ๔๔
     จากการฟง การดู และการสนทนา             ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๓), ท ๑/๑   หนา ๖๔
     ท ๓.๑ (ป. ๔/๕)                          (ป. ๔/๖), ท ๑.๑ (ป. ๔/๗), ท ๑/๑
๑๒. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด         (ป. ๔/๘), ท ๒.๑ (ป. ๔/๖)
     ท ๓.๑ (ป. ๔/๖)
๑๓. สะกดคําและบอกความหมายของคําใน
    บริบทตาง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑)
๑๔. ระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค
    ท ๔.๑ (ป. ๔/๒)
๑๔. แตงประโยคไดถูกตองหลักภาษา
    ท ๔.๑ (ป. ๔/๔)
๑๖. อธิบายขอคิดจากการอานเพื่อนําไปใชใน
     ชีวิตจริง ท ๕.๑ (ป. ๔/๒)
สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ
                                                                                                                          หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต
       หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด
                        ี่      ั                  แผนการจัดการเรียนรู                วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551                         ตามหลักสูตรฯ 2544
                                                                                              หนวย/หนา                            หนวย/บท/ตอน/หนา
๔ นักสะสมแสตมป                               แผนฯ ที่ ๒๐ การอานเรื่อง นักสะสม   หนวยที่ ๔ นักสะสมแสตมป                 หนวยที่ ๕ นักสะสมแสตมป หนา ๖๔–๖๕
 ตัวชี้วัด                                                  แสตมป                (ปรับเนื้อเรื่องใหมดูเอกสารเสริมที่ ๑๒)
 ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๑.๑
    ไดถูกตอง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑)                 (ป. ๔/๒), ท ๑.๑ (ป. ๔/๖), ท ๒.๑
 ๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และ           (ป. ๔/๑), ท ๒.๑ (ป. ๔/๓), ท ๓.๑
     สํานวนจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๒)    (ป. ๔/๓), ท ๕.๑ (ป. ๔/๒), ท ๕.๑
 ๓. สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อานเพื่อ (ป. ๔/๔)
     นําไปใชในชีวิตประจําวัน ท ๑.๑ (ป. ๔/๖) แผนฯ ที่ ๒๑ การเขียนยอหนาและเวน   หนวยที่ ๔ การเขียนยอหนาและเวน     การเขียนยอหนาและเวนวรรคตอน อยูในหนวยที่ ๕
 ๔. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ง                     วรรคตอน               วรรคตอน หนา ๘๒                       นักสะสมแสตมป หนา ๖๘–๖๙, การเวนวรรคตอน
     บรรทัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๑)                    ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๒.๑                                            อยูในหนวยที่ ๑๖ รวมแรงรวมใจ หนา ๒๑๗
 ๕. เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน    (ป. ๔/๒)
     และเหมาะสม ท ๒.๑ (ป. ๔/๒)                แผนฯ ที่ ๒๒ การเขียนจดหมายถึง       หนวยที่ ๔ การเขียนจดหมายถึงเพื่อน                          ไมมี
 ๖. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ                          เพื่อน                หนา ๘๔                                             (ดูเอกสารเสริมที่ ๑๓)
     ความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน             ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๕), ท ๒.๑
     ท ๒.๑ (ป. ๔/๓)                           (ป. ๔/๘)
 ๗. เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา
                                              แผนฯ ที่ ๒๓ มารยาทในการเขียน        หนวยที่ ๔ มารยาทในการเขียน                                 ไมมี
     ท ๒.๑ (ป. ๔/๕)
                                                            จดหมาย                จดหมาย หนา ๓๕                                      (ดูเอกสารเสริมที่ ๑๓)
 ๘. มีมารยาทในการเขียน ท ๒.๑ (ป. ๔/๘)
                                              ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๘),ท ๓.๑
                                              (ป. ๔/๓), ท ๓.๑ (ป. ๔/๔)
สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ
                                                                                                                      หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต
       หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด
                        ี่      ั                 แผนการจัดการเรียนรู               วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551                       ตามหลักสูตรฯ 2544
                                                                                            หนวย/หนา                          หนวย/บท/ตอน/หนา
 ๙. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควา
     จากการฟง การดู และการสนทนา
     ท ๓.๑ (ป. ๔/๕)
 ๑๐. ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจาก
    เรื่องที่ฟงและดู ท ๔.๑ (ป. ๔/๔)
 ๑๑. อธิบายขอคิดจากการอานเพื่อนําไปใชใน
     ชีวิตจริง ท ๕.๑ (ป. ๔/๒)
 ๑๒. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบท
     รอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ
     ท ๕.๑ (ป. ๔/๒)
๕ พระอภัยมณี ตอน สุดสาครเขาเมือง           แผนฯ ที่ ๒๔ การอานเรื่อง พระอภัย   หนวยที่ ๕ พระอภัยมณี ตอน สุดสาคร หนวยที่ ๘ พระอภัยมณี ตอน สุดสาครเขาเมือง
  การะเวก                                                 มณี ตอน สุดสาครเขา   เขาเมืองการะเวก หนา ๙๖–๑๐๔            การะเวก หนา ๑๐๕–๑๐๙
 ตัวชี้วัด                                                เมืองการะเวก          (ปรับเนื้อเรื่องใหมดเอกสารเสริมที่ ๑๕)
                                                                                                     ู
                                            ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๑.๑
 ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง
                                            (ป. ๔/๒), ท ๑.๑ (ป. ๔/๓), ท ๑.๑
   ไดถูกตอง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑)
                                            (ป. ๔/๕), ท ๑.๑ (ป. ๔/๖), ท ๒.๑
 ๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และ
                                            (ป. ๔/๔), ), ท ๔.๑ (ป. ๔/๖)ท ๕.๑
    สํานวนจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๒)
                                            (ป. ๔/๑), ท ๕.๑ (ป. ๔/๒)
 ๓. อานเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กําหนดและตอบ
    คําถามจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๓)
สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ
                                                                                                                                  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต
       หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด
                        ี่      ั                     แผนการจัดการเรียนรู                   วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551                           ตามหลักสูตรฯ 2544
                                                                                                    หนวย/หนา                              หนวย/บท/ตอน/หนา
 ๔. คาดคะเนเหตุการณจากเรืองราวที่อานโดย
                             ่                  แผนฯ ที่ ๒๕ การอานคําที่มีตัวการันต   หนวยที่ ๕ การคําที่มีตัวการันต หนา   การอานออกเสียงพยัญชนะ อยูในหนวยที่ ๔ ผึ้งนอย
    ระบุเหตุผลประกอบ ท ๑.๑ (ป. ๔/๕)                           และคําที่มี รร            ๑๐๖, การอานคําที่มี รร หนา ๑๐๖        พาชม หนา ๕๔, การอาน (คําทีมีตัวการันต) หนา
                                                                                                                                                             ่
 ๕. สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อานเพื่อ   ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๒.๑                                                  ๑๑๐–๑๑๑, คําที่มีตัวการันต อยูในหนวยที่ ๑๔
    นําไปใชในชีวิตประจําวัน ท ๑.๑ (ป. ๔/๖)     (ป. ๔/๑),ท ๔.๑ (ป. ๔/๑),ท ๔.๑                                                   อินเทอรเน็ต ๑๙๐
 ๖. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ง         (ป. ๔/๔)
    บรรทัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๑)                       แผนฯ ที่ ๒๖ การอานออกเสียงหนักเบา      หนวยที่ ๕ การอานออกเสียงหนักเบา                             ไมมี
 ๗. เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน      ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑,ท ๔.๑           หนา ๑๐๗                                              (ดูเอกสารเสริมที่ ๑๖)
    และเหมาะสม ท ๒.๑ (ป. ๔/๒)                   (ป. ๔/๑)
๘. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ               แผนฯ ที่ ๒๗ การอานทํานองเสนาะ          หนวยที่ ๕ การอานทํานองเสนาะ           การอานทํานองเสนาะ อยูในหนวยที่ ๑๐ สนุกสนานวัน
    ความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน                ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๔.๑          หนา ๑๐๗–๑๐๘                            สงกานต หนา ๑๓๖–๑๓๗
    ท ๒.๑ (ป. ๔/๓)                              (ป. ๔/๕),ท ๕.๑ (ป. ๔/๔)
๙. เขียนยอความจากเรื่องสั้น ๆ
                                                แผนฯ ที่ ๒๘ การเขียนแผนภาพ              หนวยที่ ๕ การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง                           ไมมี
    ท ๒.๑ (ป. ๔/๔
                                                               โครงเรื่อง               หนา ๑๑๐                                              (ดูเอกสารเสริมที่ ๑๗)
๑๐. เขียนเรื่องตามจินตนาการ
                                                ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๓),ท ๑.๑
    ท ๓.๑ (ป. ๔/๗)
                                                (ป. ๔/๖),ท ๒.๑ (ป. ๔/๓), ท ๒.๑
๑๑. จําแนกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่อง
                                                (ป. ๔/๗)
     ที่ฟงและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๑)
สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ
                                                                                                                      หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต
       หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด
                        ี่      ั                 แผนการจัดการเรียนรู               วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551                       ตามหลักสูตรฯ 2544
                                                                                            หนวย/หนา                          หนวย/บท/ตอน/หนา
                                           แผนฯ ที่ ๒๙ การเขียนสรุปเรื่อง       หนวยที่ ๕ การเขียนสรุปเรื่อง       การเขียนสรุปเรื่อง อยูในหนวยที่ ๘ พระอภัยมณี
                                           ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๓),ท ๑.๑       หนา ๑๑๑                            ตอน สุดสาครเขาเมืองการะเวก หนา ๑๑๔
                                           (ป. ๔/๖),ท ๒.๑ (ป. ๔/๒), ท ๓.๑
                                           (ป. ๔/๑), ท ๓.๑ (ป. ๔/๒)

๖ ดวงแกววิเศษ                              แผนฯ ที่ ๓๐ การอานเรื่อง ดวงแกว   หนวยที่ ๖ ดวงแกววิเศษ หนา ๑๒๒–   หนวยที่ ๗ ดวงแกววิเศษ หนา ๙๒–๙๓
  ตัวชี้วัด                                               วิเศษ                 ๑๒๗ (ปรับเนื้อเรื่องใหม ดูเอกสาร
 ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๑.๑          เสริมที่ ๑๘)
   ไดถูกตอง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑)                (ป. ๔/๒), ท ๑.๑ (ป. ๔/๓), ท ๑.๑
 ๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และ         (ป. ๔/๔), ท ๑.๑ (ป. ๔/๕), ท ๑.๑
    สํานวนจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๒)   (ป. ๔/๗), ท ๕.๑ (ป. ๔/๑)
 ๓. อานเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กําหนดและตอบ แผนฯ ที่ ๓๑ อักษรควบ                หนวยที่ ๖ อักษรควบ                 การอาน (อักษรควบ) อยูในหนวยที่ ๗ ดวงแกววิเศษ
    คําถามจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๓)   ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๑.๑      หนา ๑๒๘–๑๒๙                        หนา ๙๕–๙๖ , การอาน (อักษรควบไมแท อักษร
 ๔. แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่ (ป. ๔/๒), ท ๔.๑ (ป. ๔/๑)                                                ควบแท) อยูในหนวยที่ ๑๕ เที่ยวงานองคพระปฐม
    อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๔)                                                                                             เจดีย หนา ๒๐๓–๒๐๘
 ๕. คาดคะเนเหตุการณจากเรืองราวที่อานโดย แผนฯ ที่ ๓๒ เครื่องหมายวรรคตอน
                             ่                                                  หนวยที่ ๖ เครื่องหมายวรรคตอน       เครื่องหมายวรรคตอน อยูในหนวยที่ ๗ ดวงแกว
    ระบุเหตุผลประกอบ ท ๑.๑ (ป. ๔/๕)         ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๒.๑      หนา ๑๓๐–๑๓๑                        วิเศษ หนา ๙๗–๙๘
                                            (ป. ๔/๒)
สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ
                                                                                                                   หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต
      หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด
                       ี่      ั                   แผนการจัดการเรียนรู              วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551                    ตามหลักสูตรฯ 2544
                                                                                            หนวย/หนา                       หนวย/บท/ตอน/หนา
๖. อานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจอยาง     แผนฯ ที่ ๓๓ การเขียนและการพูด     หนวยที่ ๖ การเขียนรายงาน        การเขียนรายงาน อยูในหนวยที่ ๗ ดวงแกววิเศษ
   สม่ําเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ                     รายงาน              หนา ๑๓๒–๑๓๓, การพูดรายงาน       หนา ๙๘–๙๙ (การพูดรายงานไมมี ดูเอกสารเสริมที่
   เรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป.๔/๗)                ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๖),ท ๓.๑    หนา ๑๓๓                         ๑๙)
๗. เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน     (ป. ๔/๕),ท ๓.๑ (ป. ๔/๖)
   และเหมาะสม ท ๒.๑ (ป. ๔/๒)                  แผนฯ ที่ ๓๔ ภาษาพูดและภาษาเขียน   หนวยที่ ๖ ภาษาพูดและภาษาเขียน   ภาษาพูดและภาษาเขียน อยูในหนวยที่ ๗ ดวงแกว
๘. เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษา       ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๒),ท ๒.๑    หนา ๑๓๔                         วิเศษ หนา ๙๙–๑๐๐
   คนควา ท ๒.๑ (ป. ๔/๖)                     (ป. ๔/๗),ท ๒.๑ (ป. ๔/๘),ท ๓.๑
๙. เขียนเรื่องตามจินตนาการ                    (ป. ๔/๓),ท ๓.๑ (ป. ๔/๖)
   ท ๓.๑ (ป. ๔/๗)
๑๐. มีมารยาทในการเขียน ท ๓.๑ (ป. ๔/๘)
๑๑. พูดแสดงความรู ความคิดเห็นและ
       ความรูสึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู
       ท ๓.๑ (ป.๔/๓)
๑๒. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควา
       จากการฟง การดู และการสนทนา
       ท ๓.๑ (ป. ๔/๕)
๑๓. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด
       ท ๓.๑ (ป. ๔/๖)
๑๔. สะกดคําและบอกความหมายของคําใน
    บริบทตาง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑)
สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ
                                                                                                                        หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต
       หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด
                        ี่      ั                แผนการจัดการเรียนรู                วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551                         ตามหลักสูตรฯ 2544
                                                                                            หนวย/หนา                            หนวย/บท/ตอน/หนา
 ๑๕. ระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค
    ท ๔.๑ (ป. ๔/๒)
๗ เลนแบบไทย                                แผนฯ ที่ ๓๕ การอานเรื่อง เลนแบบ   หนวยที่ ๗ เลนแบบไทย หนา ๑๔๖– หนวยที่ ๖ เลนแบบไทย หนา ๗๘–๘๑
 ตัวชี้วัด                                                ไทย                   ๑๔๙ (ปรับเนื้อเรื่องใหม ดูเอกสารเสริม
 ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๑.๑          ที่ ๑๘)
   ไดถูกตอง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑)                (ป. ๔/๒), ท ๑.๑ (ป. ๔/๓), ท ๑.๑
 ๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และ         (ป. ๔/๖), ท ๑.๑ (ป. ๔/๘), ท ๔.๑
    สํานวนจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๒)   (ป. ๔/๓), ท ๕.๑ (ป. ๔/๒)
 ๓. อานเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กําหนดและตอบ แผนฯ ที่ ๓๖ การละเลนของไทย         หนวยที่ ๗ การละเลนของไทย (ความรู                         ไมมี
    คําถามจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๓)   ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๖),ท ๑.๑      เพิ่มเติมจากเนื้อเรื่อง)
 ๔. สรุปความรูขอคิดจากเรื่องที่อานเพื่อ  (ป. ๔/๗), ท ๔.๑ (ป. ๔/๗), ท ๓.๑
    นําไปใชในชีวิตประจําวัน ท ๑.๑ (ป.๔/๖) (ป. ๔/๕), ท ๕.๑ (ป. ๔/๓)
 ๕. อานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจอยาง แผนฯ ที่ ๓๗ ประโยคเพื่อการสื่อสาร    หนวยที่ ๗ ประโยคเพื่อการสื่อสาร      ประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธ ประโยคคําถาม อยู
    สม่ําเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ    ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๒),ท ๔.๑      หนา ๑๕๒–๑๕๓                          ในหนวยที่ ๒ เยี่ยมคุณยาย หนา ๒๖, ประโยคคําสั่ง
    เรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป.๔/๗)             (ป. ๔/๔)                                                                  และแสดงความตองการ อยูในหนวยที่ ๓ สมเด็จยา
 ๖. มีมารยาทในการอาน ท ๑.๑ (ป.๔/๘)                                                                                   ของชาวไทย หนา ๔๓ (ประโยคขอรองไมมี ดูใน
                                                                                                                      เอกสารเสริมที่ ๒๑)
สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ
                                                                                                                  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต
      หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด
                       ี่      ั                   แผนการจัดการเรียนรู            วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551                     ตามหลักสูตรฯ 2544
                                                                                          หนวย/หนา                        หนวย/บท/ตอน/หนา
๗. เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน    แผนฯ ที่ ๓๘ การอภิปรายกลุม      หนวยที่ ๗ การอภิปรายกลุม        การอภิปรายกลุม อยูในหนวยที่ ๔ หนา ๕๖–๕๗
    และเหมาะสม ท ๒.๑ (ป. ๔/๒)                ตัวชี้วัด ท ๓.๑ (ป. ๔/๓),ท ๓.๑   หนา ๑๕๔–๑๕๕
๘. พูดสรุปความจากการฟงและดู                 (ป. ๔/๕), ท ๓.๑ (ป. ๔/๖)
    ท ๓.๑ (ป. ๔/๒)                           แผนฯ ที่ ๓๙ มารยาทในการฟงและ    หนวยที่ ๗ มารยาทในการฟงและการ   มารยาทในการฟงและการพูด อยูในหนวยที่ ๑ สองพี่
๙. พูดแสดงความรู ความคิดเห็นและ                           การพูด             พูด หนา ๑๕๖                      นอง หนา ๑๕
  ความรูสึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู       ตัวชี้วัด ท ๓.๑ (ป. ๔/๒),ท ๓.๑
  ท ๓.๑ (ป.๔/๓)                              (ป. ๔/๔), ท ๓.๑ (ป. ๔/๖)
๑๐. ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจาก
    เรื่องที่ฟงและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๔)
๑๑. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควา
      จากการฟง การดู และการสนทนา
      ท ๓.๑ (ป. ๔/๕)
๑๒. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด
    ท ๓.๑ (ป. ๔/๖)
๑๓. ใชพจนานุกรมคนหาความหมายของคํา
     ท ๔.๑ (ป. ๔/๓)
๑๔. แตงประโยคไดถูกตองตามหลักภาษา
     ท ๔.๑ (ป. ๔/๔)
สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ
                                                                                                                            หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต
       หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด
                        ี่      ั                  แผนการจัดการเรียนรู                 วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551                          ตามหลักสูตรฯ 2544
                                                                                               หนวย/หนา                             หนวย/บท/ตอน/หนา
 ๑๕. เปรียบเทียบภาไทยมาตรฐานกับภาษา
      ถิ่นได ท ๔.๑ (ป. ๔/๗)
 ๑๖. อธิบายขอคิดจากการอานเพื่อนําไปใชใน
      ชีวิตจริง ท ๕.๑ (ป. ๔/๒)
 ๑๗. รองเพลงพื้นบาน ท ๕.๑ (ป. ๔/๓)
๘ รามเกียรต ตอน ทรพีฆาทรพา
                                           แผนฯ ที่ ๔๐ การอานเรื่อง รามเกียรต   หนวยที่ ๘ รามเกียรต ตอน ทรพีฆา      หนวยที่ ๑๓ รามเกียรต ตอน ทรพีฆาทรพา หนา
 ตัวชี้วัด                                  ตอน ทรพีฆาทรพา                        ทรพา หนา ๑๖๘–๑๗๒ (ปรับเนื้อเรื่อง     ๑๗๑–๑๗๓
 ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๑.๑             ใหมดูเอกสารเสริมที่ ๒๒
   ไดถูกตอง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑)                (ป. ๔/๒), ท ๑.๑ (ป. ๔/๓), ท ๑.๑
 ๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และ         (ป. ๔/๖), ท ๓.๑ (ป. ๔/๒), ท ๔.๑
    สํานวนจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๒)   (ป. ๔/๖), ท ๕.๑ (ป. ๔/๑) , ท ๕.๑
 ๓. อานเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กําหนดและตอบ (ป. ๔/๔)
    คําถามจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๓)   แผนฯ ที่ ๔๑ รูจักสํานวนภาษา           หนวยที่ ๘ รูจักสํานวนภาษา (ความรู                        ไมมี
 ๔. คาดคะเนเหตุการณจากเรืองราวที่อานโดย ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๒),ท ๑.๑
                              ่                                                   เพิ่มเติมจากเนื้อเรื่อง)
    ระบุเหตุผลประกอบ ท ๑.๑ (ป. ๔/๕)         (ป. ๔/๖), ท ๔.๑ (ป. ๔/๖)
 ๕. สรุปความรูขอคิดจากเรื่องที่อานเพื่อ
    นําไปใชในชีวิตประจําวัน ท ๑.๑ (ป.๔/๖)
สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ
                                                                                                                       หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต
      หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด
                       ี่      ั                   แผนการจัดการเรียนรู                วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551                      ตามหลักสูตรฯ 2544
                                                                                              หนวย/หนา                         หนวย/บท/ตอน/หนา
๖. มีมารยาทในการอาน ท ๑.๑ (ป.๔/๘)           แผนฯ ที่ ๔๒ คําบอกจํานวน             หนวยที่ ๘ คําบอกจํานวนลักษณะนาม   คําบอกจํานวนลักษณะนาม อยูในหนวยที่ ๑๓
๗. เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน                   ลักษณะนาม             หนา ๑๗๕–๑๗๖                       รามกียรติ์ ตอน ทรพีฆาทรพา หนา ๑๗๙–๑๘๑
   และเหมาะสม ท ๒.๑ (ป. ๔/๒)                 ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๒),ท ๒.๑
๘. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ            (ป. ๔/๖), ท ๓.๑ (ป.๔/๕) ท ๔.๑
   ความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน ท ๒.๑        (ป. ๔/๓)
   (ป. ๔/๓)                                  แผนฯ ที่ ๔๓ การอานจับใจความสําคัญ   หนวยที่ ๘ การอานในใจ (การจับ                          ไมมี
๙. เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษา      ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๓),ท ๑.๑       ใจความสําคัญ) หนา ๑๗๗–๑๗๘                     (อานเอกสารเสริมที่ ๒๔)
   คนควา ท ๒.๑ (ป. ๔/๖)                    (ป. ๔/๕), ท ๑.๑ (ป.๔/๖) ท ๑.๑
๑๐. มีมารยาทในการเขียน ท ๒.๑ (ป. ๔/๘)        (ป. ๔/๘), ท ๒.๑ (ป. ๔/๒),ท ๒.๑
๑๑. พูดสรุปความจากการฟงและดู                (ป. ๔/๓), ท ๒.๑ (ป.๔/๘)
    ท ๓.๑ (ป. ๔/๒)                           แผนฯ ที่ ๔๔ มารยาทในการอาน          หนวยที่ ๘ มารยาทในการอาน         มารยาทในการอาน อยูในหนวยที่ ๗ ดวงแกววิเศษ
๑๒. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควา   ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๖),ท ๑.๑       หนา ๑๗๙                           หนา ๑๐๑, มารยาทในการอาน อยูในหนวยที่ ๑๓
      จากการฟง การดู และการสนทนา            (ป. ๔/๘), ท ๒.๑ (ป.๔/๓) ท ๓.๑                                           รามกียรติ์ ตอน ทรพีฆาทรพา หนา ๑๘๑
      ท ๓.๑ (ป. ๔/๕)                         (ป. ๔/๕)
๑๓. สะกดคําและบอกความหมายของคําใน            แผนฯ ที่ ๔๕ การประสมคํา              หนวยที่ ๘ การประสมคํา หนา ๑๘๐                          ไมมี
    บริบทตาง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑)               ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๒),ท ๔.๑                                                       (อานเอกสารเสริมที่ ๒๕)
๑๔. ระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค         (ป. ๔/๑), ท ๔.๑ (ป.๔/๒)
    ท ๔.๑ (ป. ๔/๒)
สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ
                                                                                                           หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต
      หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด
                       ี่      ั                แผนการจัดการเรียนรู           วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551                  ตามหลักสูตรฯ 2544
                                                                                      หนวย/หนา                     หนวย/บท/ตอน/หนา
๑๕. ใชพจนานุกรมคนหาความหมายของคํา       แผนฯ ที่ ๔๖ คําพอง             หนวยที่ ๘ คําพอง หนา ๑๘๐–๑๘๑                    ไมมี
    ท ๔.๑ (ป. ๔/๓)                        ตัวชี้วด ท ๔.๑ (ป. ๔/๑),ท ๔.๑
                                                 ั                                                                  (อานเอกสารเสริมที่ ๒๖)
๑๖. แตงประโยคไดถูกตองตามหลักภาษา       (ป. ๔/๓), ท ๔.๑ (ป.๔/๔) ท ๔.๑
    ท ๔.๑ (ป. ๔/๔)                        (ป. ๔/๕)
๑๗. แตงบทรอยกรองและคําขวัญ
    ท ๔.๑ (ป. ๔/๕)
๑๘. บอกความหมายของสํานวน
    ท ๔.๑ (ป. ๔/๖)
๑๙. ระบุขอคิดจากนิทานพื้นบานหรือนิทาน
    คติธรรม
    ท ๔.๑ (ป. ๔/๖)
๒๐. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบท
    รอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ
    ท ๕.๑ (ป. ๔/๒)
เอกสารเสริม
กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ เลม ๑
เอกสารเสริมที่ ๑ (หนวยการเรียนรูที่ ๑ สองพี่นอง)
                                        
    เนื้อเรื่อง สองพี่นอง
          ฝนตกตั้งแตเชามืด ธันวาและกันยามองออกไปนอกหนาตางดวยแววตาเศรา ๆ
          “เมื่อไหรฝนจะหยุดตกนะ...” เสียงบนพึมพําดังขึ้นอยางตอเนื่อง พรอมกับทาทาง
กระสับกระสายของเจาของเสียง
          “ถาฝนไมหยุดตก พอจะพาไปเที่ยวพรุงนี้นะลูก” พอกลาวหลังจากที่น่งสังเกตอาการลูก
                                                                                ั
สาวอยูนาน
          “แตหนูกบพี่ธนวารีบตื่นแตเชา หวังจะไดไปเที่ยว” กันยาอางเหตุผลพลางกระแทกตัวลง
                     ั ั
นั่งบนเกาอี้ ดวงตาทั้งสองขางเริ่มแดงก่ําเหมือนจะรองไห
          “ไมเอานา คุณพอบอกแลวไงวาพรุงนี้กไปเที่ยวได เรายังหยุดอีกตั้งหนึ่งวันแนะ เด็กดี
                                                     ็
ตองไมทาใหคณพอคุณแมกลุมใจนะ หรืออยากเปนเหมือนแวนกับวุน” ธันวาเตือนนอง
          ํ ุ
          “แวนกับวุนเปนใครหรือคะ” กันยาถามดวยความสงสัย
          “เอา! กินขาวไดแลวจะเด็ก ๆ ” เสียงแมดังขึ้นมาจากในครัว
          “กินขาวเสร็จแลวพี่จะเลาใหฟง” ธันวากระซิบบอกนองสาวกอนจะเดินเขาไปในครัวตาม
กลิ่นอาหารที่สงกลิ่นหอมโชยออกมา
                 
          ทันทีที่กินขาวเสร็จ กันยารีบบอกธันวาใหเลาเรื่องแวนกับวุนใหฟง
          “เดี๋ยวกอนสิกันยา เรามาชวยคุณแมเก็บจานชามไปลางใหเรียบรอยกอนเถอะ ไวลางจาน
เสร็จพี่จะเลาใหฟง” ธันวาพูดพรอมกับเก็บจานบนโตะอาหาร สองพีนองชวยกันลางจานจนเสร็จ
                                                                       ่
เรียบรอยจึงชวนกันออกไปนั่งเลน บรรยากาศขางนอกยังมีเม็ดฝนโปรยปรายลงมาอยูไมขาดสาย
          “กันยาอยากรูใชไหมวาแวนกับวุนเปนใคร” ธันวาถามนองสาว
          “ใชคะ แตคงไมใชเพื่อนของพี่ธันวาแนนอน เพราะหนูไมเคยไดยินชือมากอนเลย”
                                                                              ่
กันยาตอบ
          “ถูกแลวละ สองคนนี้ไมใชเพื่อนของพีหรอก” พูดจบธันวาก็ยื่นหนังสือนิทานเลมหนึ่งสง
                                                 ่
ใหกันยาดู
          “กอ-อิ-งอ-กิง...กิง-เอก-กิ่ง...ผอ-ไอ-ไผ...ไผ-เอก-ไผ...กิ่ง-ไผ” กันยาสะกดชื่อเรืองที่
                                                                                           ่
หนาปกจบ มองหนาธันวาดวยความสงสัยแลวพูดวา
          “ไมเห็นจะเกียวกับแวนกับวุนเลยคะ”
                         ่
          ธันวาเปดหนังสือไปทีหนาแรกและอานนิทานเรื่อง กิ่งไผ ใหกันยาฟงวา
                                 ่
          ลุงมาเปนชาวชนบทในหมูบานแหงหนึง มีอาชีพปลูกผักสวนครัว ลุงมาเปนคนขยันและใจ
                                              ่
ดี มักจะแบงปนผักตาง ๆ ใหเพื่อนบานเสมอ
          ลุงมามีลูกชายสองคน ชื่อแวนกับวุน ทั้งสองมีนิสัยเกียจคราน ไมชวยทํางาน และชอบ
ทะเลาะเบาะแวง บางครั้งก็ถึงขั้นชกตอยกัน ลุงมาเสียใจที่ลูกชายทั้งสองคนไมรักกัน
เย็นวันหนึ่ง เมือลุงมากลับมาถึงบาน เห็นลูกชายทั้งสองคนกําลังทะเลาะกัน จึงรูสึกไม
                            ่
สบายใจมาก คิดหาวิธีที่จะทําใหลกชายทังสองคนรักใครกัน
                                         ู   ้
            รุงเชา ขณะเดินไปทําสวน ลุงมาเห็นกอไผริมทางเดิน จึงนึกอะไรบางอยางได ตอนเย็นจึง
หักกิ่งไผกลับบานไปดวย
            “หักกิ่งไผมาทําอะไรหรือคะ” กันยาถาม
            “ฟงตอไปสิแลวจะรู แตถาคอยถามอยูอยางนี้ก็ไมไดรสักที” ธันวาพูดเปนเชิงตอวา
                                                                  ู
นองสาวชางสงสัย
            “ไมถามแลวก็ได อานตอเลยคะ” กันยาพูดจบก็ทําตาคอนใส ธันวาอดขําทาทางของ
นองสาวไมไดจึงหัวเราะออกมา แลวอานไปตอวา
            หลังจากกินอาหารเย็นแลว ลุงมาเรียกแวนกับวุนใหมาหา แลวสงกิ่งไผใหหักคนละกิ่ง
ทั้งแวนและวุนสามารถหักกิ่งไผไดอยางงายดาย จากนั้นลุงมาก็สงกิ่งไผที่มัดรวมกันใหหักคนละ
มัด ลูกชายทั้งสองพยายามหักกิ่งไผทั้งมัดแตก็หักไมได แวนจึงสงกิ่งไผคืนใหพอ  
            “ผมหักกิ่งไผไมไดครับพอแข็งจริง ๆ”
            “เจารูไหม ทําไมจึงหักไมได” ลุงมาถามแวนและวุน
            “เพราะมีหลายกิ่งครับ” วุนชิงตอบกอน ลุงมาจึงอธิบายตอวา
            “ใชแลว กิ่งไผที่มัดรวมกันหลาย ๆ กิ่งนั้นหักไดยาก...”
            ธันวาหยุดอานแลวมองหนากันยาที่กําลังนังฟงอยางใจจดใจจอ “รูไหม ลุงมาเอาเรืองการ
                                                       ่                                     ่
หักกิ่งมาสอนแวนกับวุนอยางไร” ธันวาถามนองสาว
            “ไมทราบคะ” กันยาตอบทันที
            “ลุงมาสอนแวนกับวุนวากิ่งไผที่มัดรวมกันหลาย ๆ กิ่ง ก็เหมือนกับคนเราที่รวมเปนหมู
คณะ ใครจะมารังแกหรือทํารายก็ทําไดยาก เพราะฉะนันลูกทั้งสองคนจะตองสามัคคีกันเหมือน
                                                           ้
กิ่งไผที่มัดรวมกัน ไมทะเลาะเบาะแวงกันแลวจะไมมีใครมารังแกได” ธันวาอธิบาย
            “แลวแวนกับวุนเชื่อที่ลุงมาสอนรึเปลาคะ” กันยาถามดวยความสงสัย ธันวาจึงเปด
หนังสือไปหนาสุดทายและอานตอนจบใหฟงวา       
            แวนกับวุนขอโทษพอที่ทาใหไมสบายใจและใหสญญาวา ตอไปจะไมทะเลาะกันอีก จะรัก
                                       ํ                     ั
กัน ชวยเหลือกัน และใหอภัยกัน
            ตั้งแตวันนั้นเปนตนมา ลุงมาไมตองทํางานหนัก เพราะลูกชายทั้งสองคนตางชวยกัน
ทํางานในสวน แบงเบาภาระของลุงมาไดมาก ลุงมาดีใจที่ลูกทั้งสองเปนคนดี ครอบครัวของลุงมา
จึงอยูดวยกันอยางมีความสุข
          
            “ดีจงเลยนะคะที่พวกเขากลับตัวเปนเด็กดี เชื่อฟงและชวยลุงมาทํางาน ลุงมาจะไดไม
                   ั
เหนื่อย”
            “แลวกันยาอยากจะเปนเหมือนแวนกับวุนไหมละ” ธันวาถาม
             “หนูจะเปนเหมือนแวนกับวุนตอนที่กลับตัวเปนเด็กดีแลวคะ ถาใหเปนแวนกับวุนตอนที่
นิสัยเกเร ไมรกกันใครกัน หนูไมเอาหรอกคะเดี๋ยวคุณพอ
                     ั
คุณแมไมสบายใจ หนูไปชวยคุณแมทํางานบานดีกวา” พูดจบกันยาก็เดินตรงไปหาแม ธันวามอง
ตามนองสาวดวยความสุขใจ ธันวาไมรวากันยาจะเขาใจขอคิดของนิทานเรื่องนี้มากนอยแคไหน
                                   ู
แตทธันวารูกคือ การสรางความรัก ความสามัคคีในครอบครัวเปนพืนฐานสําคัญทีจะทําใหสงคม
    ี่         ็                                             ้              ่       ั
ของเรานาอยูมากขึ้น
             

เอกสารเสริมที่ ๒ (หนวยการเรียนรูท่ี ๑ สองพี่นอง)
                                 
   การอานคําที่ออกเสียง ร ล
       การอานคําที่ออกเสียง ร ล นักเรียนตองอานออกเสียงใหชัดเจน เพราะถาออกเสียงไม
ชัดเจน อาจทําใหเกิดความสับสนในการสือสารและเขาใจความหมายผิดไปได
                                       ่

      นารู นาจํา
            เวลาอานออกเสียง ร ใหมวนลิ้นมาก ๆ เวลาอานออกเสียง ล ใหมวนลิ้น
      เล็กนอยเทานัน
                    ้


เอกสารเสริมที่ ๓ (หนวยการเรียนรูท่ี ๑ สองพี่นอง)
                                     
    การพูด
         การพูดแนะนําตนเอง ตอบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือตอทีประชุม ควรเริ่มตนโดยกลาวคํา
                                                               ่
วา สวัสดี แลวบอกชื่อ นามสกุล อาจเพิ่มเติมใหชัดเจนยิ่งขึ้นวาเปนใคร อยูที่ไหน และบอกหนาที่
ที่ไดรบมอบหมายในการพูดครั้งนี้
       ั
         การพูดสนทนา เปนวิธีในการสื่อสารทีใชกันมากในชีวิตประจําวัน การสนทนาที่ถูกตอง
                                               ่
จะตองคํานึงถึงความเหมาะสมทั้งกาลเทศะและบุคคล
         ขอควรปฏิบตในการสนทนา มีดังนี้
                     ั ิ
         ๑. ยิ้มแยมแจมใส และสนทนาดวยไมตรีจต    ิ
         ๒. แสดงกิริยาทาทางที่สุภาพ
         ๓. ถาความคิดเห็นไมตรงกันควรใชเหตุผลประกอบการสนทนา
         ๔. รูจังหวะในการเปลี่ยนเรื่องเพื่อลดความขัดแยง
         ๕. พูดเรื่องสวนตัวของตนเองและผูอื่นใหนอยที่สุด
         ๖. มีมารยาทในการพูด

เอกสารเสริมที่ ๔ (หนวยการเรียนรูที่ ๑ สองพี่นอง)
                                 
    การผันอักษรสามหมู
        อักษร ๓ หมู หรือไตรยางศ คือ การจัดพยัญชนะไทย ๔๔ ตัว เปนหมวดหมูตามพื้น
เสียงของพยัญชนะ การผันอักษรใหถูกตอง ตองมีความรู ความเขาใจเรื่องอักษร ๓ หมู และคํา
เปนคําตาย
อักษร ๓ หมู หรือไตรยางศ ไดแก
       • อักษรสูง มี ๑๑ ตัว คือ ข (ฃ) ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
       • อักษรกลาง มี ๙ ตัว คือ ก จ ด ต ฎ ฏ บ ป อ
       • อักษรต่ํา มี ๒๔ ตัว คือ ค (ฅ) ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล
วฬฮ

          คําเปนคําตาย มีลักษณะดังนี้
                           คําเปน                                          คําตาย
• คําที่ประสมดวยสระเสียงยาว ไมมีตัวสะกด                  • คําที่ประสมดวยสระเสียงสั้น ไมมี
• คําที่มีตัวสะกดในแมกง กน กม เกย เกอว                      ตัวสะกด
• คําที่ประสมดวยสระอํา ไอ ใอ เอา เพราะมี                  • คําที่มตัวสะกดในแมกก กด กบ
                                                                    ี
  เสียงตัวสะกดในแมกม เกย เกอว

         การผันอักษร ๓ หมูทเปนคําเปนคําตาย
                               ี่
            ลักษณะพยางค                  สามัญ      เอก         โท         ตรี       จัตวา
อักษรสูง        คําเปน                     –       หาน        หาน         –        หาน
                คําตาย                      –       ฝาด         ฝาด         –
อักษรกลาง คําเปน                          ปน        ปน         ปน        ปน        ปน
                คําตาย                              กราบ        กราบ      กราบ      กราบ
อักษรต่ํา       คําเปน                    ชาง        –          ชาง       ชาง       –
                คําตายเสียงสัน
                             ้              –         –          ค่ํา       คะ         คะ
                คําตายเสียงยาว              –         –         ลาก        ลาก       ลาก


เอกสารเสริมที่ ๕ (หนวยการเรียนรูที่ ๒ เยี่ยมคุณยาย)
                                        
    เนื้อเรื่อง เยี่ยมคุณยาย
                     กอก...กอก...กอก
          “แตงตัวเสร็จรึยังจะกันยา ทุกคนรอหนูอยูนะ” แมเคาะประตูเรียกกันยาแตไมมเสียง
                                                                                     ี
ตอบกลับออกมา
          “กันยาทําอะไรอยูลูก” แมถามตอพรอมเคาะประตูเสียงดังขึ้น ไมนานนักประตูก็คอย ๆ
เปดออก พรอมกับใบหนาซีดเซียวของเจาของหองที่ยื่นออกมา
          “หนูทองเสียคะคุณแม คงเปนเพราะสมตําปูเค็มทีตลาดเมื่อวานนี้แน ๆ เลย” กันยาบอก
                                                         ่
อาการ
          “ใชแน ๆ เลยครับ ผมเห็นแมคาไมไดสวมหมวกคลุมผมและก็ไมไดสวมถุงมือเวลาหยิบ
จับเครื่องปรุง และที่สําคัญยังมีแมลงวันตอมขวดปูเค็มและถวยใสเครื่องปรุงเต็มไปหมดเลย
ครับ” ธันวาบอกแม
“คงเปนเพราะกินอาหารไมสะอาดเขาไปจึงทองเสีย ตอไปลูกตองเลือกกินอาหารให
มากกวานี้ ตองเลือกกินอาหารที่สะอาด ปรุงสุกใหม ๆ มีภาชนะปดมิดชิด ไมกินอาหารที่มี
แมลงวันตอม คนขายหรือรานคาก็เหมือนกัน ตองดูสะอาดสะอานถูกสุขลักษณะนะลูก
          ธันวาหยิบยาแกทองเสียมาใหนองหนอยสิลูก กินยานะแลวอาการลูกจะดีข้น” แมบอก
                                                                                  ึ
กันยา ธันวารีบไปหยิบยาแลวเดินกลับมาพรอมขวดยายื่นใหแม
          “ธันวาออกไปบอกคุณพอนะวานองไมสบาย เราอาจจะไมไดไปบานคุณยายลูกไมเสียใจ
นะจะ” แมพดปลอบใจธันวา
               ู
         “ไมหรอกครับ อาทิตยหนาก็ไปได ขอใหนองหายกอนเถอะครับ” พูดจบธันวาก็รบเดิน    ี
ไปบอกพอ พอเดินเขามาดูอาการโดยมีธนวาเดินตามหลังมา
                                        ั
         “ลูกเพิ่งจะนอนพักคะ คงจะเพลีย” พอไมไดพูดตอบแตกวักมือใหแมออกมาจากหอง
         ครูหนึ่งขณะทีทุกคนกําลังนังคุยกันอยูในหองนั่งเลนก็แววเสียงใครคนหนึ่งแทรกขึ้นมา
                       ่             ่
         “หนูหายแลวคะ คุณพอ คุณแม พีธันวา เราไปเทียวบานคุณยายกันเถอะคะ” ทุกคน
                                            ่               ่
มองไปตามตนเสียง เจาของเสียงเดินลงบันไดดวยใบหนายิ้มแยม ซึ่งตางจากใบหนาเมื่อตอนเชา
อยางสิ้นเชิง
         “งั้นทุกคนไปขึ้นรถ เราคงถึงบานคุณยายราว ๆ เที่ยงพอดี” พอพูดยังไมทันจบ กันยาก็
ออกวิ่งนําไปทีรถคนแรก
                 ่
         เมื่อถึงบานยาย พอ แม และธันวายกมือไหวพรอมกลาวสวัสดียายซึ่งยืนรอรับอยูหนา
บาน
         “แลวหายไปไหนคนหนึ่งละ” ยายพูดพรอมกับชะเงอมองหา
         “กันยาเขามาไหวคุณยายกอน เดี๋ยวคอยไปกินขนม” น้ําเสียงของแมทําใหกันยารีบเดิน
กลับมาหาทุก ๆ คน
         “สวัสดีคะคุณยาย เมื่อเชาหนูทองเสียคะ ตอนนี้ในทองไมมีอะไรเลย พอเห็นอาหารของ
คุณยายก็เลย...”
         “งั้นทุกคนไปลางไมลางมือกันซะกอนเถอะ จะไดมากินขาวกินปลากัน วันนี้มีขาวแชกับ
ลอดชองน้ํากะทิของโปรดของธันวาเขา”
         “ไชโย! วันนี้หนูจะกินใหอิ่มจนพุงกางเลยคะคุณยาย” กันยารีบความือธันวาเขาไปในครัว
เด็ก ๆ ลางมือเสร็จกอนจึงออกไปนั่งรอทีนอกชาน
                                          ่
         “พรอมแลวคะคุณยาย แตเอ...แลวหนูจะทองเสียอีกไหมคะ” กันยาพูดอยางกลัว ๆ
         “อาหารของยายไมทําใหหลานทองเสียแนนอน เพราะสวนผสมทุกอยางก็มาจากธรรมชาติ
ไมไดผสมสารสังเคราะห ที่สําคัญสะอาดแนนอนจะ”
         “ขาวแชของคุณยายเปนอาหารไทยที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ ถึงแมวาจะตองใชความ
                                                                            
พิถีพิถันในการทํามาก เพราะตองมีเครื่องประกอบหลายอยาง ไมวาจะเปนกะปทอด เนื้อเค็มฝอย
ผัดหวาน หัวไชโปผัดไข หอมแดงสอดไส พริกหยวกสอดไสชุบไขทอด หรือแมแตขาวก็ตองนําไป
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศthanakit553
 
เฉลยข้อสอบภาษาจีน
เฉลยข้อสอบภาษาจีนเฉลยข้อสอบภาษาจีน
เฉลยข้อสอบภาษาจีนKhun Aoy Sommana
 
บัญชีคำพื้นฐาน
บัญชีคำพื้นฐานบัญชีคำพื้นฐาน
บัญชีคำพื้นฐานPatcha Linsay
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๑ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๑Manas Panjai
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๒Manas Panjai
 
เตรียมสอบ O net 57 ศิลปะชุด2
เตรียมสอบ O net 57  ศิลปะชุด2เตรียมสอบ O net 57  ศิลปะชุด2
เตรียมสอบ O net 57 ศิลปะชุด2jutarattubtim
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๑ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๑Manas Panjai
 
งานนำเสนอคำสันธาน
งานนำเสนอคำสันธานงานนำเสนอคำสันธาน
งานนำเสนอคำสันธานKu'kab Ratthakiat
 
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2Anawat Supappornchai
 
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...Kruthai Kidsdee
 
เตรียมสอบ O net 57 ไทยชุด2
เตรียมสอบ O net 57 ไทยชุด2เตรียมสอบ O net 57 ไทยชุด2
เตรียมสอบ O net 57 ไทยชุด2jutarattubtim
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะprrimhuffy
 

La actualidad más candente (19)

ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศ
 
เฉลยข้อสอบภาษาจีน
เฉลยข้อสอบภาษาจีนเฉลยข้อสอบภาษาจีน
เฉลยข้อสอบภาษาจีน
 
บัญชีคำพื้นฐาน
บัญชีคำพื้นฐานบัญชีคำพื้นฐาน
บัญชีคำพื้นฐาน
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๑ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๑
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๒
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
เตรียมสอบ O net 57 ศิลปะชุด2
เตรียมสอบ O net 57  ศิลปะชุด2เตรียมสอบ O net 57  ศิลปะชุด2
เตรียมสอบ O net 57 ศิลปะชุด2
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๑ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๓ ชุด ๑
 
งานนำเสนอคำสันธาน
งานนำเสนอคำสันธานงานนำเสนอคำสันธาน
งานนำเสนอคำสันธาน
 
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
Tri91 29+สังยุตตนิกาย+สฬายตนวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๒
 
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
 
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
 
47 61
47 6147 61
47 61
 
คำอุทาน
คำอุทาน คำอุทาน
คำอุทาน
 
วิชา ฉันทลักษณ์
วิชา ฉันทลักษณ์วิชา ฉันทลักษณ์
วิชา ฉันทลักษณ์
 
เตรียมสอบ O net 57 ไทยชุด2
เตรียมสอบ O net 57 ไทยชุด2เตรียมสอบ O net 57 ไทยชุด2
เตรียมสอบ O net 57 ไทยชุด2
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 
คำสันธาน 2
คำสันธาน 2คำสันธาน 2
คำสันธาน 2
 

Similar a แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1

หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระKrujanppm2017
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2565
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2565รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2565
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2565PornnipaSingchanuson1
 
Course syllabus
Course syllabusCourse syllabus
Course syllabusAJ Give KA
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรีครูเย็นจิตร บุญศรี
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงdp130233
 
แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เซต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4
แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เซต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เซต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4
แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เซต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 cc1234
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
คำอธิบายรายวิชาค31101
คำอธิบายรายวิชาค31101คำอธิบายรายวิชาค31101
คำอธิบายรายวิชาค31101kroojaja
 

Similar a แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1 (20)

หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระ
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2565
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2565รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2565
รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2565
 
บทที่ ๓
บทที่ ๓บทที่ ๓
บทที่ ๓
 
Course syllabus
Course syllabusCourse syllabus
Course syllabus
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เซต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4
แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เซต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เซต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4
แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เซต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
คำอธิบายรายวิชาค31101
คำอธิบายรายวิชาค31101คำอธิบายรายวิชาค31101
คำอธิบายรายวิชาค31101
 

แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป.4 เล่ม 1

  • 1. ขอเสนอแนะ การใชคมือครู แผนการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนภาษาไทย ป. ๔ เลม ๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ู ้ เพื่อใชกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพนฐาน ชุดปฏิรูป: รูวิธีการเรียนรู ของ วพ. ตามหลักสูตรการศึกษาขันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ื้ ้ สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด ี่ ั แผนการจัดการเรียนรู วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551 ตามหลักสูตรฯ 2544 หนวย/หนา หนวย/บท/ตอน/หนา ๑ สองพี่นอง แผนฯ ที่ ๑ การจับใจความสําคัญจาก หนวยที่ ๑ การจับใจความสําคัญจาก การจับใจความสําคัญจากเรื่องที่อาน (ความรูเพิ่มเติม ตัวชี้วัด เรื่องที่อาน เรื่องที่อาน (ความรูเพิ่มเติมจากเนื้อ จากเนื้อเรื่อง) ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ตัวชี้วัด ท ๓.๑ (ป. ๔/๑), ท ๓.๑ เรื่อง) ไดถูกตอง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑) (ป. ๔/๒), ท ๓.๑ (ป. ๔/๖), ท ๓.๑ ๒. คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อานโดยระบุ (ป. ๔/๔), ท ๓.๑ (ป. ๔/๓) เหตุผลประกอบ ท ๑.๑ (ป. ๔/๕) แผนฯ ที่ ๒ การอานเรื่อง สองพี่นอง หนวยที่ ๑ เรื่อง สองพี่นอง หนา ๒–๕ หนวยที่ ๑ เรื่อง สองพี่นอง หนา ๒–๓ ๓. มีมารยาทในการอาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๘) ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑), ท ๑.๑ (ปรับเนื้อเรื่องใหมดูเอกสารเสริมที่ ๑) ๔. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ง (ป. ๔/๕), ท ๑.๑ (ป. ๔/๘), ท ๒.๑ บรรทัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๑) (ป. ๔/๔),ท ๔.๑ (ป. ๔/๓), ท ๔.๑ ๕. เขียนยอความจากเรื่องสั้น (ป. ๔/๕), ท ๕.๑ (ป. ๔/๑) , ท ๕.๑ ท ๒.๑ (ป. ๔/๒) (ป. ๔/๒) ๖. จําแนกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่ แผนฯ ที่ ๓ การอานคําที่มีตวสะกด แม ั หนวยที่ ๑ การอานคําที่มีตวสะกด (แม หนวยที่ ๑ การอาน (แม ก กา แมกด และแมกน) ั ฟงและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๑) ก กา แมกน และแมกด ก กา แมกน และแมกด) หนา ๙ หนา ๕, แมกด อยูในหนวยที่ ๖ เลนแบบไทย หนา ๗. พูดสรุปความจากการฟงและดู ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑), ท ๒.๑ ๘๒, , หนวยที่ ๑๐ สนุกสนานวันสงการนต หนา ท ๓.๑ (ป. ๔/๒) (ป. ๔/๑), ท ๔/๑ (ป. ๔/๑) ๑๓๕)
  • 2. สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด ี่ ั แผนการจัดการเรียนรู วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551 ตามหลักสูตรฯ 2544 หนวย/หนา หนวย/บท/ตอน/หนา ๘. พูดแสดงความรู ความคิดเห็น และ แผนฯ ที่ ๔ การอานคําที่ออกเสียง ร ล หนวยที่ ๑ การอานคําที่ออกเสียง ร ล ไมมี ความรูสึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑), ท ๔.๑ หนา ๑๑ (ดูเอกสารเสริมที่ ๒) ท ๓.๑ (ป. ๔/๓) (ป. ๔/๑) ๙. ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจาก แผนฯ ที่ ๕ การอานคําที่ออกเสียง อะ หนวยที่ ๑ การอานคําที่ออกเสียง อะ การอานคําที่ออกเสียง อะ อยูในหนวยที่ ๕ นักสะสม เรื่องที่ฟงและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๔) ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑), ท ๔.๑ (ป. หนา ๑๑ แสตมป หนา ๖๖, หนวยที่ ๑๓ รามเกียรติ์ ตอน ๑๐. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศกษาคนควา ึ ๔/๑) ทรพีฆาทรพา หนา ๑๗๖ จากการฟง การดู และการสนทนา แผนฯ ที่ ๖ การพูดแนะนําตนเองและ หนวยที่ ๑ การพูด หนา ๑๒–๑๓ ไมมี ท ๓.๑ (ป. ๔/๕) การพูดสนทนา (ดูเอกสารเสริมที่ ๓) ๑๑. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด ตัวชี้วัด ท ๓.๑ (ป. ๔/๓), ท ๓.๑ (ป. ๓.๑ (ป. ๔/๖) ๔/๕), ท ๓.๑ (ป. ๔/๖) ๑๒. สะกดคําและบอกความหมายของคําใน แผนฯ ที่ ๗ การผันอักษรสามหมู หนวยที่ ๑ การผันอักษร ๓ หมู ไมมี บริบทตาง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑) ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑), ท ๔.๑ หนา ๑๓–๑๔ (ดูเอกสารเสริมที่ ๓) ๑๓. ใชพจนานุกรมคนหาความหมายของคํา (ป. ๔/๑) ๔.๑ (ป. ๔/๓) ๑๔. แตงบทรอยกรองและคําขวัญ ๔.๑ (ป. ๔/๕)
  • 3. สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด ี่ ั แผนการจัดการเรียนรู วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551 ตามหลักสูตรฯ 2544 หนวย/หนา หนวย/บท/ตอน/หนา ๑๕. ระบุขอคิดจากนิทานพื้นบานหรือนิทานคติ ธรรม ๕.๑ (ป. ๔/๑) ๑๖. อธิบายขอคิดในการอานเพื่อนําไปใชใน ชีวิตจริง ๕.๑ (ป. ๔/๒) ๑ เยี่ยมคุณยาย แผนฯ ที่ ๘ การอานเรื่อง เยี่ยมคุณยาย หนวยที่ ๒ เรื่องเยี่ยมคุณยาย หนวยที่ ๒ เรื่องเยี่ยมคุณยาย หนา หนา ๒๐–๒๑ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๑.๑ หนา ๒๔–๒๙ (ปรับเนื้อเรื่องใหม ดู ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง (ป. ๔/๒), ท ๑.๑ (ป. ๔/๓), ท ๑.๑ เอกสารเสริมที่ ๕) ไดถูกตอง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑) (ป. ๔/๔), ท ๑.๑ (ป. ๔/๖), ท ๒.๑ ๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และ (ป. ๔/๑),ท ๔.๑ (ป. ๔/๗), ท ๕.๑ สํานวนจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๒) (ป. ๔/๒), ท ๕.๑ (ป. ๔/๓) ๓. อานเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กําหนดและตอบ แผนฯ ที่ ๙ การอานคําที่มีตัวสะกดแม หนวยที่ ๒ การอานคําที่มีตัวสะกด (แม หนวยที่ ๒ การอาน (แมเกย และแมเกอว) หนา ๒๓, คําถามจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๓) กง แมเกย และแมเกอว กง แมเกย และแมเกอว) หนา ๓๒ (แมกง ไมมีดูเอกสารเสริมที่ ๖) ๔. แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑), ท ๔/๑ อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๔) (ป. ๔/๑) ๕. สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อานเพื่อ แผนฯ ที่ ๑๐ การอานคํานาม สรรพ- หนวยที่ ๒ ชนิดของคํา(คํานาม สรรพ- คํานาม สรรพ-นาม คํากริยา อยูในหนวยที่ ๑ สองพี่ นําไปใชในชีวิตประจําวัน ท ๑.๑ (ป. ๔/๖) นาม คํากริยา และคํา นาม คํากริยา และคําวิเศษณ) นอง หนา ๗ (คําวิเศษณ ไมมีดูเอกสารเสริมที่ ๗) ๖. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ง วิเศษณ หนา ๓๓–๓๔ บรรทัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๑) ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๒), ท ๔/๑ (ป. ๔/๑), ท ๔/๑ (ป. ๔/๒), ท ๔/๑
  • 4. สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด ี่ ั แผนการจัดการเรียนรู วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551 ตามหลักสูตรฯ 2544 หนวย/หนา หนวย/บท/ตอน/หนา ๗. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ (ป. ๔/๔) ความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน ท ๒.๑ (ป. ๔/๒) แผนฯ ที่ ๑๑ การคัดลายมือตัวบรรจง หนวยที่ ๒ การคัดลายมือตัวบรรจง ไมมี ๘. มีมารยาทในการเขียน ท ๓.๑ (ป. ๔/๑) ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๑) หนา ๓๔–๓๕ (ดูเอกสารเสริมที่ ๘) ๙. สะกดคําและบอกความหมายของคําใน แผนฯ ที่ ๑๒ การเขียนแผนภาพ หนวยที่ ๒ การเขียนแผนภาพความคิด ไมมี บริบทตาง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑) ความคิด หนา ๓๕–๓๖ (ดูเอกสารเสริมที่ ๙) ๑๐. ระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๓), ท ๒/๑ ท ๔.๑ (ป. ๔/๒) (ป. ๔/๘) ๑๑. ใชพจนานุกรมใชคนหาความหมายของคํา ท ๔.๑ (ป. ๔/๓) แผนฯ ที่ ๑ การใชพจนานุกรม หนวยที่ ๒ พจนานุกรม หนา ๓๘–๓๙ หนวยที่ ๒ พจนานุกรม หนา ๒๙–๓๐ ๑๒. แตงประโยคไดถูกตองตามหลักภาษา ตัวชี้วด ท ๒.๑ (ป. ๔/๓) ั ท ๔.๑ (ป. ๔/๔) ๑๓. เปรียบเทียบภาษามาตราฐานกับภาษาถิ่น ท ๔.๑ (ป. ๔/๗) ๑๔. อธิบายขอคิดจากการอานเพื่อนําไปใชใน ชีวิตจริง ท ๕.๑ (ป. ๔/๒) ๑๕. รองเพลงพื้นบาน ท ๕.๑ (ป. ๔/๓)
  • 5. สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด ี่ ั แผนการจัดการเรียนรู วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551 ตามหลักสูตรฯ 2544 หนวย/หนา หนวย/บท/ตอน/หนา ๓ แมฟาหาแผนดิน  แผนฯ ที่ ๑๔ การอานเรื่อง แมฟาหา หนวยที่ ๓ แมฟาหาแผนดิน หนวยที่ ๓ สมเด็จยาของชาวไทย หนา ๓๕–๓๖ ตัวชี้วัด แผนดิน หนา ๕๐–๕๓ ( ปรับเนื้อเรื่องใหมดู ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๑.๑ เอกสารเสริมที่ ๑๐) ไดถูกตอง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑) (ป. ๔/๒), ท ๑.๑ (ป. ๔/๓), ท ๑.๑ ๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และ (ป. ๔/๔), ท ๑.๑ (ป. ๔/๖), ท ๒.๑ สํานวนจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๒) (ป. ๔/๑),ท ๔.๑ (ป. ๔/๗), ท ๕.๑ ๓. อานเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กําหนดและตอบ (ป. ๔/๒), ท ๕.๑ (ป. ๔/๓) คําถามจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๓) แผนฯ ที่ ๑๕ การอานคําที่มีอักษรนํา หนวยที่ ๓ การอานคําที่มีอกษรนํา ั หนวยที่ ๓ การอาน (อักษรนํา) หนา ๓๘, คําที่มี ๔. สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อานเพื่อ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๒.๑ (ป. หนา ๕๗ อักษรนํา อยูในหนวยที่ ๖ เลนแบบไทย หนา ๘๓, คํา นําไปใชในชีวิตประจําวัน ท ๑.๑ (ป. ๔/๖) ๔/๒), ท ๔/๑ (ป. ๔/๑) ที่มีอักษรนํา อยูในหนวยที่ ๑๒ ตะลุยตางดาว หนา ๕. อานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจอยาง ๑๖๔ สม่ําเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ แผนฯ ที่ ๑๖ คํายอและอักษรยอ หนวยที่ ๓ คํายอและอักษรยอ หนวยที่ ๓ คํายอและอักษรยอ หนา ๔๐ เรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป.๔/๓) ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑), ท ๔/๑ หนา ๕๘ ๖. มีมารยาทในการอาน ท ๑.๑ (ป.๔/๘) (ป. ๔/๑) ๗. เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน และเหมาะสม ท ๒.๑ (ป. ๔/๒) แผนฯ ที่ ๑๗ ประโยค หนวยที่ ๓ ประโยค หนา ๕๙–๖๑ หนวยที่ ๒ ประโยค หนา ๒๔–๒๕ ๘. เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษา ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๒), ท ๔/๑ คนควา ท ๒.๑ (ป. ๔/๖) (ป. ๔/๒), ท ๔/๑ (ป. ๔/๔) ๙. เขียนเรื่องตามจินตนาการ ท ๒.๑ (ป. ๔/๗)
  • 6. สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด ี่ ั แผนการจัดการเรียนรู วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551 ตามหลักสูตรฯ 2544 หนวย/หนา หนวย/บท/ตอน/หนา ๑๐. พูดแสดงความรู ความคิดเห็นและ แผนฯ ที่ ๑๘ การพูดนําเสนอผลงาน หนวยที่ ๓ การพูดนําเสนอผลงาน ไมมี ความรูสึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู ตัวชี้วัด ท ๓.๑ (ป. ๔/๓), ท ๓/๑ หนา ๖๒ (ดูเอกสารเสริมที่ ๑๑) ท ๓.๑ (ป.๔/๓) (ป. ๔/๕), ท ๓/๑ (ป. ๔/๖) ๑๑. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควา แผนฯ ที่ ๑๘ การเลือกหนังสืออาน หนวยที่ ๓ การเลือกหนังสืออาน หนวยที่ ๓ การเลือกหนังสืออาน หนา ๔๔ จากการฟง การดู และการสนทนา ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๓), ท ๑/๑ หนา ๖๔ ท ๓.๑ (ป. ๔/๕) (ป. ๔/๖), ท ๑.๑ (ป. ๔/๗), ท ๑/๑ ๑๒. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด (ป. ๔/๘), ท ๒.๑ (ป. ๔/๖) ท ๓.๑ (ป. ๔/๖) ๑๓. สะกดคําและบอกความหมายของคําใน บริบทตาง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑) ๑๔. ระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค ท ๔.๑ (ป. ๔/๒) ๑๔. แตงประโยคไดถูกตองหลักภาษา ท ๔.๑ (ป. ๔/๔) ๑๖. อธิบายขอคิดจากการอานเพื่อนําไปใชใน ชีวิตจริง ท ๕.๑ (ป. ๔/๒)
  • 7. สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด ี่ ั แผนการจัดการเรียนรู วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551 ตามหลักสูตรฯ 2544 หนวย/หนา หนวย/บท/ตอน/หนา ๔ นักสะสมแสตมป แผนฯ ที่ ๒๐ การอานเรื่อง นักสะสม หนวยที่ ๔ นักสะสมแสตมป หนวยที่ ๕ นักสะสมแสตมป หนา ๖๔–๖๕ ตัวชี้วัด แสตมป (ปรับเนื้อเรื่องใหมดูเอกสารเสริมที่ ๑๒) ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๑.๑ ไดถูกตอง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑) (ป. ๔/๒), ท ๑.๑ (ป. ๔/๖), ท ๒.๑ ๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และ (ป. ๔/๑), ท ๒.๑ (ป. ๔/๓), ท ๓.๑ สํานวนจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๒) (ป. ๔/๓), ท ๕.๑ (ป. ๔/๒), ท ๕.๑ ๓. สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อานเพื่อ (ป. ๔/๔) นําไปใชในชีวิตประจําวัน ท ๑.๑ (ป. ๔/๖) แผนฯ ที่ ๒๑ การเขียนยอหนาและเวน หนวยที่ ๔ การเขียนยอหนาและเวน การเขียนยอหนาและเวนวรรคตอน อยูในหนวยที่ ๕ ๔. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ง วรรคตอน วรรคตอน หนา ๘๒ นักสะสมแสตมป หนา ๖๘–๖๙, การเวนวรรคตอน บรรทัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๑) ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๒.๑ อยูในหนวยที่ ๑๖ รวมแรงรวมใจ หนา ๒๑๗ ๕. เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน (ป. ๔/๒) และเหมาะสม ท ๒.๑ (ป. ๔/๒) แผนฯ ที่ ๒๒ การเขียนจดหมายถึง หนวยที่ ๔ การเขียนจดหมายถึงเพื่อน ไมมี ๖. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ เพื่อน หนา ๘๔ (ดูเอกสารเสริมที่ ๑๓) ความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๕), ท ๒.๑ ท ๒.๑ (ป. ๔/๓) (ป. ๔/๘) ๗. เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา แผนฯ ที่ ๒๓ มารยาทในการเขียน หนวยที่ ๔ มารยาทในการเขียน ไมมี ท ๒.๑ (ป. ๔/๕) จดหมาย จดหมาย หนา ๓๕ (ดูเอกสารเสริมที่ ๑๓) ๘. มีมารยาทในการเขียน ท ๒.๑ (ป. ๔/๘) ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๘),ท ๓.๑ (ป. ๔/๓), ท ๓.๑ (ป. ๔/๔)
  • 8. สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด ี่ ั แผนการจัดการเรียนรู วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551 ตามหลักสูตรฯ 2544 หนวย/หนา หนวย/บท/ตอน/หนา ๙. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควา จากการฟง การดู และการสนทนา ท ๓.๑ (ป. ๔/๕) ๑๐. ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจาก เรื่องที่ฟงและดู ท ๔.๑ (ป. ๔/๔) ๑๑. อธิบายขอคิดจากการอานเพื่อนําไปใชใน ชีวิตจริง ท ๕.๑ (ป. ๔/๒) ๑๒. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบท รอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ ท ๕.๑ (ป. ๔/๒) ๕ พระอภัยมณี ตอน สุดสาครเขาเมือง แผนฯ ที่ ๒๔ การอานเรื่อง พระอภัย หนวยที่ ๕ พระอภัยมณี ตอน สุดสาคร หนวยที่ ๘ พระอภัยมณี ตอน สุดสาครเขาเมือง การะเวก มณี ตอน สุดสาครเขา เขาเมืองการะเวก หนา ๙๖–๑๐๔ การะเวก หนา ๑๐๕–๑๐๙ ตัวชี้วัด เมืองการะเวก (ปรับเนื้อเรื่องใหมดเอกสารเสริมที่ ๑๕) ู ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๑.๑ ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง (ป. ๔/๒), ท ๑.๑ (ป. ๔/๓), ท ๑.๑ ไดถูกตอง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑) (ป. ๔/๕), ท ๑.๑ (ป. ๔/๖), ท ๒.๑ ๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และ (ป. ๔/๔), ), ท ๔.๑ (ป. ๔/๖)ท ๕.๑ สํานวนจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๒) (ป. ๔/๑), ท ๕.๑ (ป. ๔/๒) ๓. อานเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กําหนดและตอบ คําถามจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๓)
  • 9. สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด ี่ ั แผนการจัดการเรียนรู วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551 ตามหลักสูตรฯ 2544 หนวย/หนา หนวย/บท/ตอน/หนา ๔. คาดคะเนเหตุการณจากเรืองราวที่อานโดย ่ แผนฯ ที่ ๒๕ การอานคําที่มีตัวการันต หนวยที่ ๕ การคําที่มีตัวการันต หนา การอานออกเสียงพยัญชนะ อยูในหนวยที่ ๔ ผึ้งนอย ระบุเหตุผลประกอบ ท ๑.๑ (ป. ๔/๕) และคําที่มี รร ๑๐๖, การอานคําที่มี รร หนา ๑๐๖ พาชม หนา ๕๔, การอาน (คําทีมีตัวการันต) หนา ่ ๕. สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อานเพื่อ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๒.๑ ๑๑๐–๑๑๑, คําที่มีตัวการันต อยูในหนวยที่ ๑๔ นําไปใชในชีวิตประจําวัน ท ๑.๑ (ป. ๔/๖) (ป. ๔/๑),ท ๔.๑ (ป. ๔/๑),ท ๔.๑ อินเทอรเน็ต ๑๙๐ ๖. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ง (ป. ๔/๔) บรรทัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๑) แผนฯ ที่ ๒๖ การอานออกเสียงหนักเบา หนวยที่ ๕ การอานออกเสียงหนักเบา ไมมี ๗. เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑,ท ๔.๑ หนา ๑๐๗ (ดูเอกสารเสริมที่ ๑๖) และเหมาะสม ท ๒.๑ (ป. ๔/๒) (ป. ๔/๑) ๘. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ แผนฯ ที่ ๒๗ การอานทํานองเสนาะ หนวยที่ ๕ การอานทํานองเสนาะ การอานทํานองเสนาะ อยูในหนวยที่ ๑๐ สนุกสนานวัน ความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๔.๑ หนา ๑๐๗–๑๐๘ สงกานต หนา ๑๓๖–๑๓๗ ท ๒.๑ (ป. ๔/๓) (ป. ๔/๕),ท ๕.๑ (ป. ๔/๔) ๙. เขียนยอความจากเรื่องสั้น ๆ แผนฯ ที่ ๒๘ การเขียนแผนภาพ หนวยที่ ๕ การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง ไมมี ท ๒.๑ (ป. ๔/๔ โครงเรื่อง หนา ๑๑๐ (ดูเอกสารเสริมที่ ๑๗) ๑๐. เขียนเรื่องตามจินตนาการ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๓),ท ๑.๑ ท ๓.๑ (ป. ๔/๗) (ป. ๔/๖),ท ๒.๑ (ป. ๔/๓), ท ๒.๑ ๑๑. จําแนกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่อง (ป. ๔/๗) ที่ฟงและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๑)
  • 10. สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด ี่ ั แผนการจัดการเรียนรู วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551 ตามหลักสูตรฯ 2544 หนวย/หนา หนวย/บท/ตอน/หนา แผนฯ ที่ ๒๙ การเขียนสรุปเรื่อง หนวยที่ ๕ การเขียนสรุปเรื่อง การเขียนสรุปเรื่อง อยูในหนวยที่ ๘ พระอภัยมณี ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๓),ท ๑.๑ หนา ๑๑๑ ตอน สุดสาครเขาเมืองการะเวก หนา ๑๑๔ (ป. ๔/๖),ท ๒.๑ (ป. ๔/๒), ท ๓.๑ (ป. ๔/๑), ท ๓.๑ (ป. ๔/๒) ๖ ดวงแกววิเศษ แผนฯ ที่ ๓๐ การอานเรื่อง ดวงแกว หนวยที่ ๖ ดวงแกววิเศษ หนา ๑๒๒– หนวยที่ ๗ ดวงแกววิเศษ หนา ๙๒–๙๓ ตัวชี้วัด วิเศษ ๑๒๗ (ปรับเนื้อเรื่องใหม ดูเอกสาร ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๑.๑ เสริมที่ ๑๘) ไดถูกตอง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑) (ป. ๔/๒), ท ๑.๑ (ป. ๔/๓), ท ๑.๑ ๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และ (ป. ๔/๔), ท ๑.๑ (ป. ๔/๕), ท ๑.๑ สํานวนจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๒) (ป. ๔/๗), ท ๕.๑ (ป. ๔/๑) ๓. อานเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กําหนดและตอบ แผนฯ ที่ ๓๑ อักษรควบ หนวยที่ ๖ อักษรควบ การอาน (อักษรควบ) อยูในหนวยที่ ๗ ดวงแกววิเศษ คําถามจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๓) ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๑.๑ หนา ๑๒๘–๑๒๙ หนา ๙๕–๙๖ , การอาน (อักษรควบไมแท อักษร ๔. แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่ (ป. ๔/๒), ท ๔.๑ (ป. ๔/๑) ควบแท) อยูในหนวยที่ ๑๕ เที่ยวงานองคพระปฐม อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๔) เจดีย หนา ๒๐๓–๒๐๘ ๕. คาดคะเนเหตุการณจากเรืองราวที่อานโดย แผนฯ ที่ ๓๒ เครื่องหมายวรรคตอน ่ หนวยที่ ๖ เครื่องหมายวรรคตอน เครื่องหมายวรรคตอน อยูในหนวยที่ ๗ ดวงแกว ระบุเหตุผลประกอบ ท ๑.๑ (ป. ๔/๕) ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๒.๑ หนา ๑๓๐–๑๓๑ วิเศษ หนา ๙๗–๙๘ (ป. ๔/๒)
  • 11. สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด ี่ ั แผนการจัดการเรียนรู วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551 ตามหลักสูตรฯ 2544 หนวย/หนา หนวย/บท/ตอน/หนา ๖. อานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจอยาง แผนฯ ที่ ๓๓ การเขียนและการพูด หนวยที่ ๖ การเขียนรายงาน การเขียนรายงาน อยูในหนวยที่ ๗ ดวงแกววิเศษ สม่ําเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ รายงาน หนา ๑๓๒–๑๓๓, การพูดรายงาน หนา ๙๘–๙๙ (การพูดรายงานไมมี ดูเอกสารเสริมที่ เรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป.๔/๗) ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๖),ท ๓.๑ หนา ๑๓๓ ๑๙) ๗. เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน (ป. ๔/๕),ท ๓.๑ (ป. ๔/๖) และเหมาะสม ท ๒.๑ (ป. ๔/๒) แผนฯ ที่ ๓๔ ภาษาพูดและภาษาเขียน หนวยที่ ๖ ภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาพูดและภาษาเขียน อยูในหนวยที่ ๗ ดวงแกว ๘. เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษา ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๒),ท ๒.๑ หนา ๑๓๔ วิเศษ หนา ๙๙–๑๐๐ คนควา ท ๒.๑ (ป. ๔/๖) (ป. ๔/๗),ท ๒.๑ (ป. ๔/๘),ท ๓.๑ ๙. เขียนเรื่องตามจินตนาการ (ป. ๔/๓),ท ๓.๑ (ป. ๔/๖) ท ๓.๑ (ป. ๔/๗) ๑๐. มีมารยาทในการเขียน ท ๓.๑ (ป. ๔/๘) ๑๑. พูดแสดงความรู ความคิดเห็นและ ความรูสึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู ท ๓.๑ (ป.๔/๓) ๑๒. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควา จากการฟง การดู และการสนทนา ท ๓.๑ (ป. ๔/๕) ๑๓. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด ท ๓.๑ (ป. ๔/๖) ๑๔. สะกดคําและบอกความหมายของคําใน บริบทตาง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑)
  • 12. สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด ี่ ั แผนการจัดการเรียนรู วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551 ตามหลักสูตรฯ 2544 หนวย/หนา หนวย/บท/ตอน/หนา ๑๕. ระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค ท ๔.๑ (ป. ๔/๒) ๗ เลนแบบไทย แผนฯ ที่ ๓๕ การอานเรื่อง เลนแบบ หนวยที่ ๗ เลนแบบไทย หนา ๑๔๖– หนวยที่ ๖ เลนแบบไทย หนา ๗๘–๘๑ ตัวชี้วัด ไทย ๑๔๙ (ปรับเนื้อเรื่องใหม ดูเอกสารเสริม ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๑.๑ ที่ ๑๘) ไดถูกตอง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑) (ป. ๔/๒), ท ๑.๑ (ป. ๔/๓), ท ๑.๑ ๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และ (ป. ๔/๖), ท ๑.๑ (ป. ๔/๘), ท ๔.๑ สํานวนจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๒) (ป. ๔/๓), ท ๕.๑ (ป. ๔/๒) ๓. อานเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กําหนดและตอบ แผนฯ ที่ ๓๖ การละเลนของไทย หนวยที่ ๗ การละเลนของไทย (ความรู ไมมี คําถามจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๓) ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๖),ท ๑.๑ เพิ่มเติมจากเนื้อเรื่อง) ๔. สรุปความรูขอคิดจากเรื่องที่อานเพื่อ (ป. ๔/๗), ท ๔.๑ (ป. ๔/๗), ท ๓.๑ นําไปใชในชีวิตประจําวัน ท ๑.๑ (ป.๔/๖) (ป. ๔/๕), ท ๕.๑ (ป. ๔/๓) ๕. อานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจอยาง แผนฯ ที่ ๓๗ ประโยคเพื่อการสื่อสาร หนวยที่ ๗ ประโยคเพื่อการสื่อสาร ประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธ ประโยคคําถาม อยู สม่ําเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๒),ท ๔.๑ หนา ๑๕๒–๑๕๓ ในหนวยที่ ๒ เยี่ยมคุณยาย หนา ๒๖, ประโยคคําสั่ง เรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป.๔/๗) (ป. ๔/๔) และแสดงความตองการ อยูในหนวยที่ ๓ สมเด็จยา ๖. มีมารยาทในการอาน ท ๑.๑ (ป.๔/๘) ของชาวไทย หนา ๔๓ (ประโยคขอรองไมมี ดูใน เอกสารเสริมที่ ๒๑)
  • 13. สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด ี่ ั แผนการจัดการเรียนรู วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551 ตามหลักสูตรฯ 2544 หนวย/หนา หนวย/บท/ตอน/หนา ๗. เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน แผนฯ ที่ ๓๘ การอภิปรายกลุม หนวยที่ ๗ การอภิปรายกลุม การอภิปรายกลุม อยูในหนวยที่ ๔ หนา ๕๖–๕๗ และเหมาะสม ท ๒.๑ (ป. ๔/๒) ตัวชี้วัด ท ๓.๑ (ป. ๔/๓),ท ๓.๑ หนา ๑๕๔–๑๕๕ ๘. พูดสรุปความจากการฟงและดู (ป. ๔/๕), ท ๓.๑ (ป. ๔/๖) ท ๓.๑ (ป. ๔/๒) แผนฯ ที่ ๓๙ มารยาทในการฟงและ หนวยที่ ๗ มารยาทในการฟงและการ มารยาทในการฟงและการพูด อยูในหนวยที่ ๑ สองพี่ ๙. พูดแสดงความรู ความคิดเห็นและ การพูด พูด หนา ๑๕๖ นอง หนา ๑๕ ความรูสึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู ตัวชี้วัด ท ๓.๑ (ป. ๔/๒),ท ๓.๑ ท ๓.๑ (ป.๔/๓) (ป. ๔/๔), ท ๓.๑ (ป. ๔/๖) ๑๐. ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจาก เรื่องที่ฟงและดู ท ๓.๑ (ป. ๔/๔) ๑๑. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควา จากการฟง การดู และการสนทนา ท ๓.๑ (ป. ๔/๕) ๑๒. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด ท ๓.๑ (ป. ๔/๖) ๑๓. ใชพจนานุกรมคนหาความหมายของคํา ท ๔.๑ (ป. ๔/๓) ๑๔. แตงประโยคไดถูกตองตามหลักภาษา ท ๔.๑ (ป. ๔/๔)
  • 14. สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด ี่ ั แผนการจัดการเรียนรู วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551 ตามหลักสูตรฯ 2544 หนวย/หนา หนวย/บท/ตอน/หนา ๑๕. เปรียบเทียบภาไทยมาตรฐานกับภาษา ถิ่นได ท ๔.๑ (ป. ๔/๗) ๑๖. อธิบายขอคิดจากการอานเพื่อนําไปใชใน ชีวิตจริง ท ๕.๑ (ป. ๔/๒) ๑๗. รองเพลงพื้นบาน ท ๕.๑ (ป. ๔/๓) ๘ รามเกียรต ตอน ทรพีฆาทรพา  แผนฯ ที่ ๔๐ การอานเรื่อง รามเกียรต หนวยที่ ๘ รามเกียรต ตอน ทรพีฆา หนวยที่ ๑๓ รามเกียรต ตอน ทรพีฆาทรพา หนา ตัวชี้วัด ตอน ทรพีฆาทรพา ทรพา หนา ๑๖๘–๑๗๒ (ปรับเนื้อเรื่อง ๑๗๑–๑๗๓ ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๑),ท ๑.๑ ใหมดูเอกสารเสริมที่ ๒๒ ไดถูกตอง ท ๑.๑ (ป. ๔/๑) (ป. ๔/๒), ท ๑.๑ (ป. ๔/๓), ท ๑.๑ ๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และ (ป. ๔/๖), ท ๓.๑ (ป. ๔/๒), ท ๔.๑ สํานวนจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๒) (ป. ๔/๖), ท ๕.๑ (ป. ๔/๑) , ท ๕.๑ ๓. อานเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กําหนดและตอบ (ป. ๔/๔) คําถามจากเรื่องที่อาน ท ๑.๑ (ป. ๔/๓) แผนฯ ที่ ๔๑ รูจักสํานวนภาษา หนวยที่ ๘ รูจักสํานวนภาษา (ความรู ไมมี ๔. คาดคะเนเหตุการณจากเรืองราวที่อานโดย ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๒),ท ๑.๑ ่  เพิ่มเติมจากเนื้อเรื่อง) ระบุเหตุผลประกอบ ท ๑.๑ (ป. ๔/๕) (ป. ๔/๖), ท ๔.๑ (ป. ๔/๖) ๕. สรุปความรูขอคิดจากเรื่องที่อานเพื่อ นําไปใชในชีวิตประจําวัน ท ๑.๑ (ป.๔/๖)
  • 15. สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด ี่ ั แผนการจัดการเรียนรู วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551 ตามหลักสูตรฯ 2544 หนวย/หนา หนวย/บท/ตอน/หนา ๖. มีมารยาทในการอาน ท ๑.๑ (ป.๔/๘) แผนฯ ที่ ๔๒ คําบอกจํานวน หนวยที่ ๘ คําบอกจํานวนลักษณะนาม คําบอกจํานวนลักษณะนาม อยูในหนวยที่ ๑๓ ๗. เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน ลักษณะนาม หนา ๑๗๕–๑๗๖ รามกียรติ์ ตอน ทรพีฆาทรพา หนา ๑๗๙–๑๘๑ และเหมาะสม ท ๒.๑ (ป. ๔/๒) ตัวชี้วัด ท ๒.๑ (ป. ๔/๒),ท ๒.๑ ๘. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ (ป. ๔/๖), ท ๓.๑ (ป.๔/๕) ท ๔.๑ ความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน ท ๒.๑ (ป. ๔/๓) (ป. ๔/๓) แผนฯ ที่ ๔๓ การอานจับใจความสําคัญ หนวยที่ ๘ การอานในใจ (การจับ ไมมี ๙. เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษา ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๓),ท ๑.๑ ใจความสําคัญ) หนา ๑๗๗–๑๗๘ (อานเอกสารเสริมที่ ๒๔) คนควา ท ๒.๑ (ป. ๔/๖) (ป. ๔/๕), ท ๑.๑ (ป.๔/๖) ท ๑.๑ ๑๐. มีมารยาทในการเขียน ท ๒.๑ (ป. ๔/๘) (ป. ๔/๘), ท ๒.๑ (ป. ๔/๒),ท ๒.๑ ๑๑. พูดสรุปความจากการฟงและดู (ป. ๔/๓), ท ๒.๑ (ป.๔/๘) ท ๓.๑ (ป. ๔/๒) แผนฯ ที่ ๔๔ มารยาทในการอาน หนวยที่ ๘ มารยาทในการอาน มารยาทในการอาน อยูในหนวยที่ ๗ ดวงแกววิเศษ ๑๒. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควา ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๖),ท ๑.๑ หนา ๑๗๙ หนา ๑๐๑, มารยาทในการอาน อยูในหนวยที่ ๑๓ จากการฟง การดู และการสนทนา (ป. ๔/๘), ท ๒.๑ (ป.๔/๓) ท ๓.๑ รามกียรติ์ ตอน ทรพีฆาทรพา หนา ๑๘๑ ท ๓.๑ (ป. ๔/๕) (ป. ๔/๕) ๑๓. สะกดคําและบอกความหมายของคําใน แผนฯ ที่ ๔๕ การประสมคํา หนวยที่ ๘ การประสมคํา หนา ๑๘๐ ไมมี บริบทตาง ๆ ท ๔.๑ (ป. ๔/๑) ตัวชี้วัด ท ๑.๑ (ป. ๔/๒),ท ๔.๑ (อานเอกสารเสริมที่ ๒๕) ๑๔. ระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค (ป. ๔/๑), ท ๔.๑ (ป.๔/๒) ท ๔.๑ (ป. ๔/๒)
  • 16. สื่อการเรียนรูสมบูรณแบบของ  หนังสือเรียนของวพ. ฉบับ ศธ. อนุญาต หนวยการเรียนรูท/ตัวชี้วด ี่ ั แผนการจัดการเรียนรู วพ. ตามหลักสูตรฯ 2551 ตามหลักสูตรฯ 2544 หนวย/หนา หนวย/บท/ตอน/หนา ๑๕. ใชพจนานุกรมคนหาความหมายของคํา แผนฯ ที่ ๔๖ คําพอง หนวยที่ ๘ คําพอง หนา ๑๘๐–๑๘๑ ไมมี ท ๔.๑ (ป. ๔/๓) ตัวชี้วด ท ๔.๑ (ป. ๔/๑),ท ๔.๑ ั (อานเอกสารเสริมที่ ๒๖) ๑๖. แตงประโยคไดถูกตองตามหลักภาษา (ป. ๔/๓), ท ๔.๑ (ป.๔/๔) ท ๔.๑ ท ๔.๑ (ป. ๔/๔) (ป. ๔/๕) ๑๗. แตงบทรอยกรองและคําขวัญ ท ๔.๑ (ป. ๔/๕) ๑๘. บอกความหมายของสํานวน ท ๔.๑ (ป. ๔/๖) ๑๙. ระบุขอคิดจากนิทานพื้นบานหรือนิทาน คติธรรม ท ๔.๑ (ป. ๔/๖) ๒๐. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบท รอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ ท ๕.๑ (ป. ๔/๒)
  • 18. เอกสารเสริมที่ ๑ (หนวยการเรียนรูที่ ๑ สองพี่นอง)  เนื้อเรื่อง สองพี่นอง ฝนตกตั้งแตเชามืด ธันวาและกันยามองออกไปนอกหนาตางดวยแววตาเศรา ๆ “เมื่อไหรฝนจะหยุดตกนะ...” เสียงบนพึมพําดังขึ้นอยางตอเนื่อง พรอมกับทาทาง กระสับกระสายของเจาของเสียง “ถาฝนไมหยุดตก พอจะพาไปเที่ยวพรุงนี้นะลูก” พอกลาวหลังจากที่น่งสังเกตอาการลูก  ั สาวอยูนาน “แตหนูกบพี่ธนวารีบตื่นแตเชา หวังจะไดไปเที่ยว” กันยาอางเหตุผลพลางกระแทกตัวลง ั ั นั่งบนเกาอี้ ดวงตาทั้งสองขางเริ่มแดงก่ําเหมือนจะรองไห “ไมเอานา คุณพอบอกแลวไงวาพรุงนี้กไปเที่ยวได เรายังหยุดอีกตั้งหนึ่งวันแนะ เด็กดี ็ ตองไมทาใหคณพอคุณแมกลุมใจนะ หรืออยากเปนเหมือนแวนกับวุน” ธันวาเตือนนอง ํ ุ “แวนกับวุนเปนใครหรือคะ” กันยาถามดวยความสงสัย “เอา! กินขาวไดแลวจะเด็ก ๆ ” เสียงแมดังขึ้นมาจากในครัว “กินขาวเสร็จแลวพี่จะเลาใหฟง” ธันวากระซิบบอกนองสาวกอนจะเดินเขาไปในครัวตาม กลิ่นอาหารที่สงกลิ่นหอมโชยออกมา  ทันทีที่กินขาวเสร็จ กันยารีบบอกธันวาใหเลาเรื่องแวนกับวุนใหฟง “เดี๋ยวกอนสิกันยา เรามาชวยคุณแมเก็บจานชามไปลางใหเรียบรอยกอนเถอะ ไวลางจาน เสร็จพี่จะเลาใหฟง” ธันวาพูดพรอมกับเก็บจานบนโตะอาหาร สองพีนองชวยกันลางจานจนเสร็จ ่ เรียบรอยจึงชวนกันออกไปนั่งเลน บรรยากาศขางนอกยังมีเม็ดฝนโปรยปรายลงมาอยูไมขาดสาย “กันยาอยากรูใชไหมวาแวนกับวุนเปนใคร” ธันวาถามนองสาว “ใชคะ แตคงไมใชเพื่อนของพี่ธันวาแนนอน เพราะหนูไมเคยไดยินชือมากอนเลย” ่ กันยาตอบ “ถูกแลวละ สองคนนี้ไมใชเพื่อนของพีหรอก” พูดจบธันวาก็ยื่นหนังสือนิทานเลมหนึ่งสง ่ ใหกันยาดู “กอ-อิ-งอ-กิง...กิง-เอก-กิ่ง...ผอ-ไอ-ไผ...ไผ-เอก-ไผ...กิ่ง-ไผ” กันยาสะกดชื่อเรืองที่ ่ หนาปกจบ มองหนาธันวาดวยความสงสัยแลวพูดวา “ไมเห็นจะเกียวกับแวนกับวุนเลยคะ” ่ ธันวาเปดหนังสือไปทีหนาแรกและอานนิทานเรื่อง กิ่งไผ ใหกันยาฟงวา ่ ลุงมาเปนชาวชนบทในหมูบานแหงหนึง มีอาชีพปลูกผักสวนครัว ลุงมาเปนคนขยันและใจ  ่ ดี มักจะแบงปนผักตาง ๆ ใหเพื่อนบานเสมอ ลุงมามีลูกชายสองคน ชื่อแวนกับวุน ทั้งสองมีนิสัยเกียจคราน ไมชวยทํางาน และชอบ ทะเลาะเบาะแวง บางครั้งก็ถึงขั้นชกตอยกัน ลุงมาเสียใจที่ลูกชายทั้งสองคนไมรักกัน
  • 19. เย็นวันหนึ่ง เมือลุงมากลับมาถึงบาน เห็นลูกชายทั้งสองคนกําลังทะเลาะกัน จึงรูสึกไม ่ สบายใจมาก คิดหาวิธีที่จะทําใหลกชายทังสองคนรักใครกัน ู ้ รุงเชา ขณะเดินไปทําสวน ลุงมาเห็นกอไผริมทางเดิน จึงนึกอะไรบางอยางได ตอนเย็นจึง หักกิ่งไผกลับบานไปดวย “หักกิ่งไผมาทําอะไรหรือคะ” กันยาถาม “ฟงตอไปสิแลวจะรู แตถาคอยถามอยูอยางนี้ก็ไมไดรสักที” ธันวาพูดเปนเชิงตอวา ู นองสาวชางสงสัย “ไมถามแลวก็ได อานตอเลยคะ” กันยาพูดจบก็ทําตาคอนใส ธันวาอดขําทาทางของ นองสาวไมไดจึงหัวเราะออกมา แลวอานไปตอวา หลังจากกินอาหารเย็นแลว ลุงมาเรียกแวนกับวุนใหมาหา แลวสงกิ่งไผใหหักคนละกิ่ง ทั้งแวนและวุนสามารถหักกิ่งไผไดอยางงายดาย จากนั้นลุงมาก็สงกิ่งไผที่มัดรวมกันใหหักคนละ มัด ลูกชายทั้งสองพยายามหักกิ่งไผทั้งมัดแตก็หักไมได แวนจึงสงกิ่งไผคืนใหพอ  “ผมหักกิ่งไผไมไดครับพอแข็งจริง ๆ” “เจารูไหม ทําไมจึงหักไมได” ลุงมาถามแวนและวุน “เพราะมีหลายกิ่งครับ” วุนชิงตอบกอน ลุงมาจึงอธิบายตอวา “ใชแลว กิ่งไผที่มัดรวมกันหลาย ๆ กิ่งนั้นหักไดยาก...” ธันวาหยุดอานแลวมองหนากันยาที่กําลังนังฟงอยางใจจดใจจอ “รูไหม ลุงมาเอาเรืองการ ่ ่ หักกิ่งมาสอนแวนกับวุนอยางไร” ธันวาถามนองสาว “ไมทราบคะ” กันยาตอบทันที “ลุงมาสอนแวนกับวุนวากิ่งไผที่มัดรวมกันหลาย ๆ กิ่ง ก็เหมือนกับคนเราที่รวมเปนหมู คณะ ใครจะมารังแกหรือทํารายก็ทําไดยาก เพราะฉะนันลูกทั้งสองคนจะตองสามัคคีกันเหมือน ้ กิ่งไผที่มัดรวมกัน ไมทะเลาะเบาะแวงกันแลวจะไมมีใครมารังแกได” ธันวาอธิบาย “แลวแวนกับวุนเชื่อที่ลุงมาสอนรึเปลาคะ” กันยาถามดวยความสงสัย ธันวาจึงเปด หนังสือไปหนาสุดทายและอานตอนจบใหฟงวา  แวนกับวุนขอโทษพอที่ทาใหไมสบายใจและใหสญญาวา ตอไปจะไมทะเลาะกันอีก จะรัก ํ ั กัน ชวยเหลือกัน และใหอภัยกัน ตั้งแตวันนั้นเปนตนมา ลุงมาไมตองทํางานหนัก เพราะลูกชายทั้งสองคนตางชวยกัน ทํางานในสวน แบงเบาภาระของลุงมาไดมาก ลุงมาดีใจที่ลูกทั้งสองเปนคนดี ครอบครัวของลุงมา จึงอยูดวยกันอยางมีความสุข  “ดีจงเลยนะคะที่พวกเขากลับตัวเปนเด็กดี เชื่อฟงและชวยลุงมาทํางาน ลุงมาจะไดไม ั เหนื่อย” “แลวกันยาอยากจะเปนเหมือนแวนกับวุนไหมละ” ธันวาถาม “หนูจะเปนเหมือนแวนกับวุนตอนที่กลับตัวเปนเด็กดีแลวคะ ถาใหเปนแวนกับวุนตอนที่ นิสัยเกเร ไมรกกันใครกัน หนูไมเอาหรอกคะเดี๋ยวคุณพอ ั
  • 20. คุณแมไมสบายใจ หนูไปชวยคุณแมทํางานบานดีกวา” พูดจบกันยาก็เดินตรงไปหาแม ธันวามอง ตามนองสาวดวยความสุขใจ ธันวาไมรวากันยาจะเขาใจขอคิดของนิทานเรื่องนี้มากนอยแคไหน ู แตทธันวารูกคือ การสรางความรัก ความสามัคคีในครอบครัวเปนพืนฐานสําคัญทีจะทําใหสงคม ี่ ็ ้ ่ ั ของเรานาอยูมากขึ้น  เอกสารเสริมที่ ๒ (หนวยการเรียนรูท่ี ๑ สองพี่นอง)  การอานคําที่ออกเสียง ร ล การอานคําที่ออกเสียง ร ล นักเรียนตองอานออกเสียงใหชัดเจน เพราะถาออกเสียงไม ชัดเจน อาจทําใหเกิดความสับสนในการสือสารและเขาใจความหมายผิดไปได ่ นารู นาจํา เวลาอานออกเสียง ร ใหมวนลิ้นมาก ๆ เวลาอานออกเสียง ล ใหมวนลิ้น เล็กนอยเทานัน ้ เอกสารเสริมที่ ๓ (หนวยการเรียนรูท่ี ๑ สองพี่นอง)  การพูด การพูดแนะนําตนเอง ตอบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือตอทีประชุม ควรเริ่มตนโดยกลาวคํา ่ วา สวัสดี แลวบอกชื่อ นามสกุล อาจเพิ่มเติมใหชัดเจนยิ่งขึ้นวาเปนใคร อยูที่ไหน และบอกหนาที่ ที่ไดรบมอบหมายในการพูดครั้งนี้ ั การพูดสนทนา เปนวิธีในการสื่อสารทีใชกันมากในชีวิตประจําวัน การสนทนาที่ถูกตอง ่ จะตองคํานึงถึงความเหมาะสมทั้งกาลเทศะและบุคคล ขอควรปฏิบตในการสนทนา มีดังนี้ ั ิ ๑. ยิ้มแยมแจมใส และสนทนาดวยไมตรีจต ิ ๒. แสดงกิริยาทาทางที่สุภาพ ๓. ถาความคิดเห็นไมตรงกันควรใชเหตุผลประกอบการสนทนา ๔. รูจังหวะในการเปลี่ยนเรื่องเพื่อลดความขัดแยง ๕. พูดเรื่องสวนตัวของตนเองและผูอื่นใหนอยที่สุด ๖. มีมารยาทในการพูด เอกสารเสริมที่ ๔ (หนวยการเรียนรูที่ ๑ สองพี่นอง)  การผันอักษรสามหมู อักษร ๓ หมู หรือไตรยางศ คือ การจัดพยัญชนะไทย ๔๔ ตัว เปนหมวดหมูตามพื้น เสียงของพยัญชนะ การผันอักษรใหถูกตอง ตองมีความรู ความเขาใจเรื่องอักษร ๓ หมู และคํา เปนคําตาย
  • 21. อักษร ๓ หมู หรือไตรยางศ ไดแก • อักษรสูง มี ๑๑ ตัว คือ ข (ฃ) ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห • อักษรกลาง มี ๙ ตัว คือ ก จ ด ต ฎ ฏ บ ป อ • อักษรต่ํา มี ๒๔ ตัว คือ ค (ฅ) ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล วฬฮ คําเปนคําตาย มีลักษณะดังนี้ คําเปน คําตาย • คําที่ประสมดวยสระเสียงยาว ไมมีตัวสะกด • คําที่ประสมดวยสระเสียงสั้น ไมมี • คําที่มีตัวสะกดในแมกง กน กม เกย เกอว ตัวสะกด • คําที่ประสมดวยสระอํา ไอ ใอ เอา เพราะมี • คําที่มตัวสะกดในแมกก กด กบ ี เสียงตัวสะกดในแมกม เกย เกอว การผันอักษร ๓ หมูทเปนคําเปนคําตาย ี่ ลักษณะพยางค สามัญ เอก โท ตรี จัตวา อักษรสูง คําเปน – หาน หาน – หาน คําตาย – ฝาด ฝาด – อักษรกลาง คําเปน ปน ปน ปน ปน ปน คําตาย กราบ กราบ กราบ กราบ อักษรต่ํา คําเปน ชาง – ชาง ชาง – คําตายเสียงสัน ้ – – ค่ํา คะ คะ คําตายเสียงยาว – – ลาก ลาก ลาก เอกสารเสริมที่ ๕ (หนวยการเรียนรูที่ ๒ เยี่ยมคุณยาย)  เนื้อเรื่อง เยี่ยมคุณยาย กอก...กอก...กอก “แตงตัวเสร็จรึยังจะกันยา ทุกคนรอหนูอยูนะ” แมเคาะประตูเรียกกันยาแตไมมเสียง ี ตอบกลับออกมา “กันยาทําอะไรอยูลูก” แมถามตอพรอมเคาะประตูเสียงดังขึ้น ไมนานนักประตูก็คอย ๆ เปดออก พรอมกับใบหนาซีดเซียวของเจาของหองที่ยื่นออกมา “หนูทองเสียคะคุณแม คงเปนเพราะสมตําปูเค็มทีตลาดเมื่อวานนี้แน ๆ เลย” กันยาบอก ่ อาการ “ใชแน ๆ เลยครับ ผมเห็นแมคาไมไดสวมหมวกคลุมผมและก็ไมไดสวมถุงมือเวลาหยิบ จับเครื่องปรุง และที่สําคัญยังมีแมลงวันตอมขวดปูเค็มและถวยใสเครื่องปรุงเต็มไปหมดเลย ครับ” ธันวาบอกแม
  • 22. “คงเปนเพราะกินอาหารไมสะอาดเขาไปจึงทองเสีย ตอไปลูกตองเลือกกินอาหารให มากกวานี้ ตองเลือกกินอาหารที่สะอาด ปรุงสุกใหม ๆ มีภาชนะปดมิดชิด ไมกินอาหารที่มี แมลงวันตอม คนขายหรือรานคาก็เหมือนกัน ตองดูสะอาดสะอานถูกสุขลักษณะนะลูก ธันวาหยิบยาแกทองเสียมาใหนองหนอยสิลูก กินยานะแลวอาการลูกจะดีข้น” แมบอก ึ กันยา ธันวารีบไปหยิบยาแลวเดินกลับมาพรอมขวดยายื่นใหแม “ธันวาออกไปบอกคุณพอนะวานองไมสบาย เราอาจจะไมไดไปบานคุณยายลูกไมเสียใจ นะจะ” แมพดปลอบใจธันวา ู “ไมหรอกครับ อาทิตยหนาก็ไปได ขอใหนองหายกอนเถอะครับ” พูดจบธันวาก็รบเดิน ี ไปบอกพอ พอเดินเขามาดูอาการโดยมีธนวาเดินตามหลังมา ั “ลูกเพิ่งจะนอนพักคะ คงจะเพลีย” พอไมไดพูดตอบแตกวักมือใหแมออกมาจากหอง ครูหนึ่งขณะทีทุกคนกําลังนังคุยกันอยูในหองนั่งเลนก็แววเสียงใครคนหนึ่งแทรกขึ้นมา ่ ่ “หนูหายแลวคะ คุณพอ คุณแม พีธันวา เราไปเทียวบานคุณยายกันเถอะคะ” ทุกคน ่ ่ มองไปตามตนเสียง เจาของเสียงเดินลงบันไดดวยใบหนายิ้มแยม ซึ่งตางจากใบหนาเมื่อตอนเชา อยางสิ้นเชิง “งั้นทุกคนไปขึ้นรถ เราคงถึงบานคุณยายราว ๆ เที่ยงพอดี” พอพูดยังไมทันจบ กันยาก็ ออกวิ่งนําไปทีรถคนแรก ่ เมื่อถึงบานยาย พอ แม และธันวายกมือไหวพรอมกลาวสวัสดียายซึ่งยืนรอรับอยูหนา บาน “แลวหายไปไหนคนหนึ่งละ” ยายพูดพรอมกับชะเงอมองหา “กันยาเขามาไหวคุณยายกอน เดี๋ยวคอยไปกินขนม” น้ําเสียงของแมทําใหกันยารีบเดิน กลับมาหาทุก ๆ คน “สวัสดีคะคุณยาย เมื่อเชาหนูทองเสียคะ ตอนนี้ในทองไมมีอะไรเลย พอเห็นอาหารของ คุณยายก็เลย...” “งั้นทุกคนไปลางไมลางมือกันซะกอนเถอะ จะไดมากินขาวกินปลากัน วันนี้มีขาวแชกับ ลอดชองน้ํากะทิของโปรดของธันวาเขา” “ไชโย! วันนี้หนูจะกินใหอิ่มจนพุงกางเลยคะคุณยาย” กันยารีบความือธันวาเขาไปในครัว เด็ก ๆ ลางมือเสร็จกอนจึงออกไปนั่งรอทีนอกชาน ่ “พรอมแลวคะคุณยาย แตเอ...แลวหนูจะทองเสียอีกไหมคะ” กันยาพูดอยางกลัว ๆ “อาหารของยายไมทําใหหลานทองเสียแนนอน เพราะสวนผสมทุกอยางก็มาจากธรรมชาติ ไมไดผสมสารสังเคราะห ที่สําคัญสะอาดแนนอนจะ” “ขาวแชของคุณยายเปนอาหารไทยที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ ถึงแมวาจะตองใชความ  พิถีพิถันในการทํามาก เพราะตองมีเครื่องประกอบหลายอยาง ไมวาจะเปนกะปทอด เนื้อเค็มฝอย ผัดหวาน หัวไชโปผัดไข หอมแดงสอดไส พริกหยวกสอดไสชุบไขทอด หรือแมแตขาวก็ตองนําไป