SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 38
Descargar para leer sin conexión
เรื่องกิจกรรม STEM กับมือกลเล่มที่ 5
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา (ว 32242)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ
โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่
ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับการเคลื่อนที่ของข้อต่อและกล้ามเนื้อมือ ผู้สอนได้
ดาเนินการจัดทาขึ้นเพื่อประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ รายวิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว 32242 สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเอง เรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ตามลาดับ
ขั้น ศักยภาพและความสามารถของตนเอง ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้
ทักษะความคิด สามารถดารงชีวิตในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรู้เท่าทัน
เมื่อผู้เรียนศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้แล้ว ผู้เรียนจะมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ เพราะนอกจากความรู้ คาถาม สื่อการเรียนรู้
ที่ถูกจัดทาอย่างเป็นระบบขั้นตอนแล้ว ยังเชื่อมโยงกับแหล่งข้อมูลวีดิทัศน์เพื่อช่วยขยายขอบเขต
ของการรับรู้ของผู้เรียนอีกด้วย
ผู้สอนหวังว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่ผู้เรียน ครูผู้สอน
และผู้ที่สนใจนาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และมีความปกติสุข
ในการดารงชีวิต
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
คานา
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล ก.
เรื่อง หน้า
คานา ................................................................................................................................
สารบัญ .............................................................................................................................
คาชี้แจงการใช้ชุดการเรียนรู้เรื่องเล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล........................
คาแนะนาสาหรับครู............................................................................................................
คาแนะนาสาหรับนักเรียน....................................................................................................
ขั้นตอนการใช้......................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู้............................................................................................................
ผลการเรียนรู้.......................................................................................................................
แบบทดสอบก่อนเรียน ........................................................................................................
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้......................................................................................
ชุดการเรียนรู้เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล………………………………………………….
บัตรเนื้อหา ................................................................................................................
บัตรกิจกรรม .............................................................................................................
บัตรเฉลย ...................................................................................................................
แบบทดสอบหลังเรียน .......................................................................................................
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน .......................................................................
บรรณานุกรม ....................................................................................................................
ภาคผนวก .............................................................................................................................
ก
ข
1
2
3
4
5
6
7
10
12
13
25
27
29
32
34
35
สารบัญ
ข.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีทั้งหมด 7 เล่ม ดังนี้
1. เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
2. เล่มที่ 2 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
3. เล่มที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
4. เล่มที่ 4 เรื่อง การเคลื่อนที่ของคน
5. เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
6. เล่มที่ 6 เรื่อง กิจกรรมวิทยาศาสตร์การกีฬากับการเคลื่อนที่
7. เล่มที่ 7 เรื่อง สิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยเหลือคนที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนที่
2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิต มีจุดประสงค์การเรียนรู้ และเนื้อหาที่สอดคล้องกับสาระและมาตรฐานกลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
3. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิต ในแต่ละชุดกิจกรรมจะเสร็จสมบูรณ์ในตัวเอง นักเรียนสามารถทบทวนได้ตามที่
ต้องการ นอกจากนี้ยังมีการเชื่อมโยงไปยังสื่อวีดิทัศน์เพื่อใช้ศึกษาและค้นคว้าเพิ่มเติม
4. นักเรียนสามารถประเมินตนเองได้โดยการตรวจคาตอบจากเฉลย
5. ควรศึกษาคาแนะนาในการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ก่อนใช้ทุกชุดกิจกรรม
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
คาชี้แจง
1.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
1.1 ศึกษารายละเอียดของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจก่อนสอน
1.2 จัดเตรียมสิ่งแวดล้อม ระบบสนับสนุน เครื่องมือวัดและประเมินผล
ให้พร้อมใช้
ครูให้คาแนะนาและเป็นผู้อานวยความสะดวกในการดาเนินกิจกรรม ทั้งนี้ควรกระตุ้น
และส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะการคิด
กล้าแสดงความคิดเห็น การทางานเป็นทีม และรับผิดชอบต่อหน้าที่
เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน ครูควรประเมินผลการเรียนรู้
ของผู้เรียนโดยใช้แบบทดสอบประจาชุดกิจกรรมการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
คาแนะนา
สาหรับครู
1. ขั้นตอนก่อนจัดการเรียนรู้
2. ขั้นการสอน
3. ขั้นสรุป
หากคุณครูมีข้อสงสัยในขั้นตอนใดของ
กิจกรรม สามารถสอบถามผ่านจากเพจ
“BioWow เทคนิคการเรียนการสอน
ชีววิทยา By Krupumbio
ได้ตลอดเวลาค่ะ
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน 2.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนด้วยความซื่อสัตย์และ
ตั้งใจ ดังนี้
1. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242
หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
3. ปฏิบัติกิจกรรมและศึกษาสื่อต่างๆตามคาแนะนาของชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ซึ่งสื่อวิดีทัศน์จะเชื่อมโยงได้ในรูปของ QR Code หรือการใช้ URL ไปยังวิดีทัศน์นั้น
4. ทาแบบฝึกเสริมทักษะเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจในบทเรียน
5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 4 เรื่องการเคลื่อนที่ของคน
6. หากมีข้อคาถามหรือข้อสงสัยสามารถสอบถามครูผู้สอนได้
7. เกณฑ์การผ่านการประเมินจะผ่านเมื่อนักเรียนทาคะแนนได้ คิดเป็นร้อยละ 80
หากนักเรียนไม่ผ่านการประเมิน ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา และทากิจกรรมอีกครั้ง แล้วทาการ
ประเมินผลใหม่ จนกว่าจะได้คะแนนผ่านเกณฑ์ เพื่อให้มั่นใจว่านักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ
ตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้และพร้อมที่จะเรียนรู้ในเล่มต่อไป
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
คาแนะนา
สาหรับ
นักเรียน
หากนักเรียนมีข้อสงสัยในขั้นตอนใด
ของกิจกรรม สามารถสอบถามผ่าน
จากเพจ “BioWow เทคนิคการเรียน
การสอนชีววิทยา By Krupumbio
ได้ตลอดเวลาค่ะ
3.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
ในการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ :
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล นักเรียนควรปฏิบัติดังนี้
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
ขั้นตอน
การใช้
1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความรู้เดิม
2. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้และเนื้อหาให้เข้าใจ
3. ทากิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบถ้วน
4. ทาแบบฝึกกิจกรรมให้ถูกต้อง
5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินผลความก้าวหน้าในการเรียนรู้
4.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
มาตรฐานสาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่
ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิต
ของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา
ความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มี
รูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและ
เครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงสั้นๆเข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ
สิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
5.
มาตรฐาน
การเรียนรู้
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
1. สืบค้น อภิปรายและอธิบายการสร้างเท้าเทียมของอะมีบา
2. สืบค้นอธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างและการทางานของแฟลเจลลัมกับซิเลีย
3. อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของแมงกะพรุน หมึก ดาวทะเลไส้เดือนดิน และแมลง
4. เปรียบเทียบลักษณะการเคลื่อนที่สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
5. อธิบายการทางานของกล้ามเนื้อแบบสภาวะตรงกันข้าม (antagonism)
6. สารวจตรวจสอบ สืบค้น อภิปรายและอธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสัตว์
มีกระดูกสันหลังที่อาศัยอยู่ในน้ากับสัตว์ที่อาศัยอยู่บนบก
7. สารวจตรวจสอบ สืบค้น อภิปรายและอธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
8. สารวจ ตรวจสอบ อภิปรายและอธิบายถึงการทางานของข้อต่อแบบต่างๆ
9. สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบและอธิบายลักษณะของกล้ามเนื้อประเภทต่างๆ
และกลไกการทางานของกล้ามเนื้อ
หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
6.
ผลการ
เรียนรู้
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
คาชี้แจง : จงใช้ข้อมูลที่กาหนดให้ในการตอบคาถาม
การเคลื่อนไหวของมือ
ข้อมือ (Wrist joint) ประกอบด้วยส่วนปลายของกระดูกปลายแขน คือ กระดูกเรเดียส
และอัลน่าร์ กระดูกข้อมือ 8 ชิ้น เรียงกันเป็น 2 แถว ต่อกับกระดูกฝ่ามือ 5 ชิ้นการเคลื่อนไหว
ของข้อมือผ่านการเคลื่อนไหวของกระดูกข้อมือแถวต้นและแถวปลาย กระดูกข้อมือและกระดูก
เรเดียสและการหมุนของกระดูกเรเดียสไปบนกระดูกอัลน่าร์ ทาให้การเคลื่อนของมือทาได้
กว้างขวางมาก ช่วยให้กระดกข้อมือและงอข้อมือเป็นมุมได้ 145 องศา (extension flexion)
เอียงมาทางนิ้วหัวแม่มือ – นิ้วก้อย 70 องศา คว่ามือและหงายมือ ผ่านกระดูกปลายแขนได้
120 องศา แกนการเคลื่อนไหวของมืออยู่ที่หัวกระดูกแคปปิเตท (Head of Capitated) ซึ่งเป็น
กระดูกข้อมือชิ้นใหญ่แถวล่างตรงกลางเป็นแนวเอียง ทาให้แนวการเคลื่อนไหวของมือจะเป็นการ
ผสมกัน คือ กระดูกข้อมือร่วมกับเอียงมาทางนิ้วหัวแม่มือและงอข้อมือร่วมกับเอียงไปทางนิ้วก้อย
ข้อนิ้วและข้อของฝ่ามือ มีความสาคัญมากในการจับอุปกรณ์ มีกล้ามเนื้อเล็กๆ อยู่เต็มฝ่ามือการ
เคลื่อนไหวที่วิเศษมาก ซึ่งทาให้มนุษย์แตกต่างจากลิงชั้นต่าคือ หัวมือแยกออกเป็นแนวตั้งฉากกับ
นิ้วทั้ง 4 ทาให้จับด้ามเครื่องมือกาได้แน่นมาก สามารถควบคุมกาลังการบีบมืออีกด้วย การดูแล
รักษานิ้ว ข้อมือและแขน จึงต้องมีการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และหากต้องมีการปะทะ
บริเวณข้อมีการป้องกัน เช่น การใส่ปลอกผ้ารัดข้อมือ
ภาพจาก
https://www.doctor.or.th/article/detail/5934
สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5
เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
แบบทดสอบ
ก่อนเรียน
7.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
คาถามข้อที่ 1 ข้อใดสรุปถูกต้อง
1. ข้อมือสามารถเบนออกจากหัวแม่มือได้มากกว่า 60 องศา
2. ข้อมือเสี่ยงต่อการหักได้ง่ายเพราะกระดูกบริเวณข้อมือมีขนาดเล็กเรียงกัน
3. กระดูกข้อมือ 3 ชิ้นที่สาคัญมาเชื่อมกันทาให้สามารถเคลื่อนที่ได้หลายทิศทาง
4. การหมุนข้อมือเป็นการเคลื่อนไหวพิเศษที่อาศัยกระดูก 8 ชิ้นที่ข้อมือ โดยไม่อาศัย
กระดูกแขน
คะแนนเต็ม 2 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน ตอบได้ถูก 2 คะแนน
ตอบผิดได้ 0 คะแนน
คาถามข้อที่ 2 จงวงกลมล้อมรอบคาว่า “ถูกต้อง” หรือไม่ถูกต้อง” และให้เหตุผลใน
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล “ ถูกต้อง ”หรือ
ไม่ถูกต้อง”
1. กระดูกท่อนแขนทาให้มือเคลื่อนไหวได้หลายทิศทาง ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง
2. กระดกข้อมือและงอข้อมือเป็นการเคลื่อนไหวแบบ
แอนตาโกนิซึม
ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง
3. การเล่นกีฬาหรือการออกกาลังกายจึงไม่ควรมีผ้ารัดข้อมือ
เพราะจะทาให้เลือดหมุนเวียนไม่สะดวก
ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง
คะแนนเต็ม 3 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกข้อละ 1 คะแนน
คาถามข้อที่ 3 หลังจากเล่นกีฬาเกิดอุบัติเหตุจนปวดข้อมือและข้อมือบวมอยู่หลายวัน การใช้
น้ามันนวดและบีบนวด เป็นวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ถูกต้องหรือไม่
1. ถูกต้อง
2. ไม่ถูกต้อง
3. ไม่แน่ใจ
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 8.
เหตุผล
1. เพราะเอ็นจะยิ่งอักเสบมากขึ้น
2. เพราะช่วยทาให้กระดูกกลับเข้าที่ได้เร็วขึ้น
3. เพราะอาจมีกระดูกหักจะทาให้อาการปวดรุนแรงขึ้น
4. เพราะการนวดจะช่วยบรรเทาการบวมของกล้ามเนื้อ
5. เพราะอาการปวดควรใช้เวลาอย่างน้อย 7 วันในการสังเกต
6. เพราะอาจเป็นเพียงการบวมกล้ามเนื้อหลังจากเล่นกีฬาตามปกติ
คะแนนเต็ม 6 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน เลือกคาตอบและเหตุผลถูกต้องได้ 3 คะแนน
คาถามข้อที่ 4 นักเรียนจะมีวิธีการดูแลรักษาข้อมือและมืออย่างไรในก่อน ระหว่างและหลังการ
เล่นกีฬาหรือทากิจกรรมที่ใช้ข้อมือหนักๆ
เขียนคาตอบ
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
คะแนนเต็ม 2 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน อธิบายวิธีการที่เหมาะสมและถูกต้องได้ 2 คะแนน
ระบุหรือบอกวิธีการ ได้ 1 คะแนน
เขียนไม่ถูกต้อง/วิธีการไม่เหมาะสม ไม่ได้คะแนน
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 9.
มาตรฐานสาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่
ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของ
ตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
ผลการเรียนรู้
1. สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบและอธิบายกระดูก เอ็นและกล้ามเนื้อมือ
เรื่องที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา
(ชั่วโมง)
1.การเคลื่อนที่
ของคน
สิ่งมีชีวิตมีการเคลื่อนที่เพื่อตอบสนอง
ต่อสิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน คนใช้การ
เคลื่อนที่ที่อาศัยการทางานของระบบ
โครงกระดูก และระบบกล้ามเนื้อ
กระดูกแต่ละชิ้นเชื่อมต่อกันด้วยข้อต่อ
กล้ามเนื้อแต่ละคู่ที่ยึดติดกับกระดูก
ทางานร่วมกันในสภาวะตรงกันข้าม
(Antagonism)
ด้านความรู้ (K)
1. สืบค้นข้อมูล สารวจ
ตรวจสอบอธิปรายและอธิบาย
ส่วนประกอบของกระดูกของ
คน เอ็น ชนิดของข้อต่อ และ
การทางานของข้อมือ
3
มาตรฐานการเรียนรู้
ตาราง
วิเคราะห์
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 10.
เรื่องที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา
(ชั่วโมง)
ด้านทักษะและกระบวนการ
(P)
1. ทักษะการวิเคราะห์
ข้อมูลเพื่อสร้างข้อสรุป
2. การสร้างประดิษฐ์
“มือกล”
3. ด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ (A)
3.1 ความมีวินัย
3.2 ความสนใจใฝ่รู้
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 11.
กิจกรรม STEM กับมือกลชุดกิจกรรม
การเรียนรู้ที่ 5
ให้นักเรียนสังเกตภาพ 1-4 สิ่งมีชีวิตชนิด
ใดบ้างที่สามารถหยิบจับสิ่งของได้ ดังลักษณะ
ในภาพ
ภาพจาก
https://www.slideshare.net/Farshidmokhberi/h
uman-evolution-by-farshid-mokhberi
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
....................................................................................
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 12.
1. 2.
3. 4.
วิวัฒนาการของ Homo habilis ที่เชื่อว่าเป็น
บรรพบุรุษของมนุษย์ในปัจจุบัน
นักวิทยาศาสตร์ค้นพบซากดึกดาบรรพ์ทาง
ตะวันตกของแอฟริกา มีอายุประมาณ 2-4
ล้านปี เป็นมนุษย์ที่รู้จักใช้หินมาเป็นเครื่องมือ
จากนั้น Homo erectus หรือมนุษย์ชวาและ
มนุษย์ปักกิ่งที่กระจายตั้งแต่แอฟริกาจนถึง
ตะวันออกเฉียงใต้ จีนและยุโรป ซึ่งมนุษย์กลุ่มนี้
รู้จักใช้ไฟและล่าสัตว์ด้วยหิน และวิวัฒนาการ
มาเป็น Homo sapiens หรือมนุษย์โครมายอง
ที่รู้จักวาดภาพ ซึ่งมีลักษณะพิเศษที่สาคัญของ
ความสามารถในการใช้มือคือการมีโครงสร้าง
ของมือแบบ 5 นิ้ว และหัวแม่มือ มนุษย์
สามารถเคลื่อนไหวหัวนิ้วมือได้มากกว่าไพรเมต
(ลิง ลีเมอร์ อุรังอุตัง) ทั่วไป แต่อย่างไรก็ตาม
อุรังอุตังมีนิ้วหัวแม่มือและหัวแม่เท้าที่ใหญ่
เช่นเดียวกับเราอุรังอุตังมีนิ้วหัวแม่มือและนิ้วหัว
แม่เท้าที่ใหญ่ เพื่อช่วยให้พวกมันแกว่งไกวได้
อย่างง่ายดายแม้บนต้นไม้ที่สูงที่สุดในป่าดงดิบ
โครงสร้างของมือจึงช่วยให้มนุษย์สามารปรับตัว
ได้ดี
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 13.
คาว่า “สะเต็ม” หรือ “STEM” เป็นคาย่อจากภาษาอังกฤษของศาสตร์ 4
สาขาวิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์
(Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) หมายถึงองค์ความรู้ วิชาการของ
ศาสตร์ทั้งสี่ที่มีความเชื่อมโยงกันในโลกของความเป็นจริงที่ต้องอาศัยองค์ความรู้ต่างๆ
มาบูรณาการเข้าด้วยกันในการดาเนินชีวิตและการทางาน คาว่า STEM ถูกใช้
ครั้งแรกโดยสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา (the National Science
Foundation: NSF) ซึ่งใช้คานี้เพื่ออ้างถึงโครงการหรือโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับ
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ อย่างไรก็ตามสถาบัน
วิทยาศาสตร์แห่งประเทศสหรัฐอเมริกาไม่ได้ให้นิยามที่ชัดเจนของคาว่า STEM มีผลให้
มีการใช้และให้ความหมายของคานี้แตกต่างกันไป (Hanover Research, 2011, p.5)
เช่น มีการใช้คาว่า STEM ในการอ้างอิงถึงกลุ่มอาชีพที่มีความเกี่ยวข้องกับ
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์
มารู้จักกิจกรรม
STEM ศึกษา
ความต้องการด้านอาชีพเกี่ยวข้องกับ
STEM เพิ่มมากขึ้น โดยแรงงานที่ไม่ใช้
ความรู้ขั้นสูงจะถูกแทนที่ด้วยหุ่นยนต์
สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการ
ความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์
วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนา
ความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนา
กระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการ
ดาเนินชีวิต และการทางาน ช่วยนักเรียนสร้างความ
เชื่อมโยงระหว่าง 4 สหวิทยาการ กับชีวิตจริงและการ
ทางาน การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาเป็นการ
จัดการเรียนรู้ที่ไม่เน้นเพียงการท่องจาทฤษฎีหรือกฎ
ทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ แต่เป็นการสร้าง
ความเข้าใจทฤษฎีหรือกฎเหล่านั้นผ่านการปฏิบัติให้
เห็นจริงควบคู่กับการพัฒนาทักษะการคิด ตั้งคาถาม
แก้ปัญหาและการหาข้อมูลและวิเคราะห์ข้อค้นพบ
ใหม่ๆ พร้อมทั้งสามารถนาข้อค้นพบนั้นไปใช้หรือบูรณา
การกับชีวิตประจาวันได้
ข้อมูลจาก
http://www.stemedthailand.org/?page_id=23
สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2559
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 14.
ภาพจาก
http://cnsmaryland.org/2012/10/11/g
olden-ring-middle-school-stem-day-
gets-girls-involved-in-tech-projects/
สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2559
อาชีพใหม่ๆที่ใช้ความรู้ด้านสะเต็ม
นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientists)
วิศวชีวการแพทย์ (Biomedical Engineering)
ผู้เชี่ยวชาญด้านการระดมทุน (Crowd Funding Specialist)
การยศาสตร์และชีวกลศาสตร์ (Ergonomics and Biomechanics)
มีเดียทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์ (Medical and Science Media)
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 15.
ในกิจกรรมนี้เราจะทาโปรเจคมือกลด้วยกัน
โดยใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ เพื่อสร้างมือกลในการถือแก้วน้า
หยิบแผ่นซีดีและจับปากกา ด้วยต้นทุนที่ต่าที่สุด
ดังนั้นเรามาเรียนรู้ความรู้พื้นฐานก่อนดีกว่าครับ
มือ
จากภาพ
http://eorthopod.com/sites/default/files/
images/hand_anatomy_muscles01.jpg
สืบค้นเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2559
มือมีโครงสร้างที่ละเอียดและซับซ้อน การเรียงตัว
ของข้อต่อและกล้ามเนื้อ โดยมีนิ้วมือ 5 นิ้วและ
ข้อต่อจานวนมาก มีเอ็นที่ยึดระหว่างกล้ามเนื้อ
และกระดูก เอ็นที่ยึดกระดูกและกระดูก การ
ทางานร่วมกับระบบประสาท ควบคุมการงอการ
กางนิ้ว ช่วยให้สามารถทางานได้อย่างหลากหลาย
เช่น การหยิบจับปากกา การกดรีโมทและ
แป้นพิมพ์ การจับและยกแก้ว การปีนเขา
มือและการทางาน
ความคล่องตัวของมือทาให้มนุษย์ใช้ทางานได้หลากหลาย แต่ก็เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายกับ
มือเช่นกัน นักวิทยาศาสตร์จึงศึกษาสรีระและกายวิภาคการทางานของมือ เพื่อสร้างมือ
โรบอทในการทางาน เช่น มือกลหยิบจับอุปกรณ์ในโรงงานสารเคมีและมือกลจับวัสดุในโรงงานที่
เครื่องกลมีอันตราย
โครงสร้างมือของมนุษย์
มือประกอบด้วย กระดูกทั้งหมด 27 ชิ้น กระดูกข้อมือ (Carpus) เป็นกระดูกข้อมือมี 8 ชิ้น
กระดูกฝ่ามือ (Metacarpus) 5 ชิ้น ต่อจากกระดูกข้อมือและกระดูกนิ้ว กระดูกนิ้วมือ
(Phalanges) 14 ชิ้น แต่ละนิ้วประกอบด้วย กระดูกนิ้วมือ 3 ชิ้น ได้แก่ proximal middle และ
distal ยกเว้น นิ้วหัวแม่มือประกอบด้วย กระดูกนิ้วมือ 2 ชิ้น ได้แก่ proximal และ distal
phalanges โดยเชื่อมต่อกันด้วยข้อต่อและเอ็น (Ligaments) ลักษณะข้อต่อที่พบบริเวณมือคือ
แบบ Hinge joint เป็นข้อต่อแบบบานพับ ลักษณะของกระดูกเป็นรูปเว้าและรูปนูนมาต่อกัน
สามารถเคลื่อนไหวได้ทิศทางเดียวคือการงอและเหยียด ได้แก่ ข้อต่อระหว่างนิ้ว Ellipsoidal
(condyloid) joint ข้อต่อนี้เคลื่อนไหวแบบการงอ เหยียด การกาง และหุบ เช่น กระดูกข้อมือ
และข้อต่อระหว่างกระดูกข้อฝ่ามือและกระดูกนิ้ว ดังภาพ
Science
ภาพ
http://www.clipartkid.com/h
and-fracture-cliparts/
สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 16.
โครงสร้างมือของมนุษย์S
การเชื่อมต่อของเนื้อเยื่อและกระดูกยึดกล้ามเนื้อ (Tendon) และตรงข้อมือมีเอ็น
ลิกกาเมนต์ยึดกระดูก และยังมีการทางานร่วมกันกับระบบประสาทอีกด้วย
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 17.
ภาพจาก
http://www.sciencebuddies.org/science-fair-
projects/project_ideas/HumBio_p042.shtml
สืบค้นเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2559
https://www.pinterest.
com/pin/150096600056733
300/
http://www.sciencebuddies.
org/sciencefairprojects/proje
ct_ideas/Robotics_p001.sht
ml
Prototype I นี้มีจุดอ่อนคือไม่
แข็งแรงเพียงพอต่อการหยิบจับ
อุปกรณ์
Prototype II นี้มีจุดอ่อนคือไม่มี
ระบบควบคุมการเคลื่อนไหวของ
มือ
Prototype III นี้มีจุดอ่อนคือไม่
สามารถหยิบซีดีได้
การออกแบบมือกล คือโจทย์ในการพัฒนา
เทคโนโลยีที่สร้างขึ้นเพื่อ ช่วยอานวยความ
สะดวกและความปลอดภัยในการทางาน
การสร้างเทคโนโลยีต้องอาศัยวัสดุ
อุปกรณ์และเทคโนโลยี
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 18.
Technology
อุปกรณ์ที่กาหนดให้
1. ลังกระดาษ 2. ฟิวเจอร์บอร์ด 3. กระดาษแข็ง 4. หลอด 5. เชือกไนลอน
6. ด้าย 7. เทปกาวย่น 8. กรรไกรและมีดคัตเตอร์ 9. ปากกา ไม้บรรทัด
10. ถุงมือ 11. ตะเกียบ 12. แก้ว 13. ไม้ไอศรีม 14. หนังยาง
15. ดินน้ามัน
ต้นแบบที่กาหนดให้ (Prototype)
มีจุดอ่อนที่ต้องปรับแก้ไขดังข้อมูลPrototype
ภาพจาก
http://www.stemedthailand.org/?knowstem=สะเต็มและการออกแบบ
สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม (NRC, 2012) ช่วยให้
นาเอาความรู้มาออกแบบวิธีการหรือกระบวนการเพื่อ
ตอบสนองความต้องการหรือแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับ
ชีวิตประจาวัน เพื่อให้ได้เทคโนโลยี กระบวนการออกแบบ
เชิงวิศวกรรมประกอบด้วยองค์ประกอบ 6 ขั้นตอน ได้แก่
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 19.
Engineering
ขั้นตอน กระบวนการ
1.ระบุปัญหา (Problem
Identification)
เป็นการทาความเข้าใจปัญหาหรือความท้าทาย วิเคราะห์เงื่อนไข
หรือข้อจากัดของสถานการณ์ปัญหา เพื่อกาหนดขอบเขตของปัญหา
ซึ่งจะนาไปสู่การสร้างชิ้นงานหรือวิธีการในการแก้ปัญหา
2.รวบรวมข้อมูลและ
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ
ปัญหา (Related
Information Search)
เป็นการรวบรวมข้อมูลและแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับแนวทางการแก้ปัญหาและประเมิน
ความเป็นไปได้ ข้อดีและข้อจากัด
3.ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา
(Solution Design)
เป็นการประยุกต์ใช้ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องเพื่อการออกแบบ
ชิ้นงานหรือวิธีการในการแก้ปัญหา โดยคานึงถึงทรัพยากร ข้อจากัด
และเงื่อนไขตามสถานการณ์ที่กาหนด
4.วางแผนและดาเนินการ
แก้ปัญหา (Planning and
Development)
เป็นการกาหนดลาดับขั้นตอนของการสร้างชิ้นงานหรือวิธีการ
แล้วลงมือสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการเพื่อใช้ในการแก้ปัญหา
5.ทดสอบ ประเมินผล และ
ปรับปรุงแก้ไขวิธีการ
แก้ปัญหาหรือชิ้นงาน
(Testing, Evaluation and
Design Improvement)
เป็นการทดสอบและประเมินการใช้งานของชิ้นงานหรือวิธีการ
โดยผลที่ได้อาจนามาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ
ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมที่สุด
6.นาเสนอวิธีการแก้ปัญหา
ผลการแก้ปัญหาหรือ
ชิ้นงาน (Presentation)
เป็นการนาเสนอแนวคิดและขั้นตอนการแก้ปัญหาของการสร้าง
ชิ้นงานหรือการพัฒนาวิธีการ ให้ผู้อื่นเข้าใจและได้ข้อเสนอแนะเพื่อ
การพัฒนาต่อไป
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 20.
ลาดับฟีโบนักชีและสัดส่วนร่างกายมนุษย์
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 21.
สัดส่วนของร่างกายมนุษย์มีความเกี่ยวข้อง
กับลาดับเลขฟีโบนักชี สามารถเขียนเป็นอนุกรมได้
ดังนี้คือ 1, 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, 34, 55, 89, x, y,
x+y, …ชุดตัวเลขนี้มีความสัมพันธ์กันอย่างชัดเจน
นั่นคือ ตัวเลขตัวถัดมา คือ ผลรวมของตัวเลขสองชุด
ก่อนหน้านี้ได้แก่
0+1 =1,
1+1 = 2,
1+2 = 3,
2+3 = 5,
3+5 = 8,
5+8 = 13,
8+13 = 21 ....
และเมื่อนาตัวเลขฟีโบนักชีและเมื่อนาผลของ
เลขฟีโบนักชีลาดับถัดไปมาหารจานวนก่อน
หน้าจะได้ค่าค่าหนึ่งดังนี้
1/1 = 1
2/1 = 2
3/2 = 1.5
5/3 = 1.666...
8/5 = 1.6
13/8= 1.625
21/13 = 1.61538…
ซึ่งเรียกค่านี้ว่าอัตราส่วนทองคา
(Golden Section) คือสัดส่วน 0.618:1
Math
ภาพจาก
https://www.goldennumber.net/human-hand-foot/
สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559
สารวจสัดส่วนมือของมนุษย์
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 22.
Math
สัดส่วนของมือมนุษย์ก็เป็นอัตราส่วนทองคา
เช่นกัน และความยาวของกระดูกนิ้วมือแต่ละข้อจะมี
อัตราส่วนเรียงตามลาดับเลขฟีโบนักชี
ภาพจาก
(https://group.dek-d.com/learning-
math/myboard/view.php?id=269)
สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559
ภาพจาก
(http://www.dolefin.com/technicalanal
ysis/technicalanalysisexplained04.php?
navanchor=2110010)
สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559
ภาพจาก
https://bvg8science.wikispaces.com/Elliot%27s+class+3+levers
สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 23.
คานอันดับที่ 3 คือ คานที่มีแรงความพยายาม (E) อยู่ระหว่างแรงความต้านทาน (W
หรือ L) และจุดหมุน (F) เครื่องใช้ที่จัดเป็นคานอันดับ 3 ได้แก่ แหนบ ตะเกียบ พลั่ว
คีมคีบถ่าน ปากกา ไม้กวาดด้ามยาว การผ่อนแรงของคานจะมีมากหรือน้อยให้
พิจารณาจากระยะทางจาก Eถึง F และ W ถึง F ว่าระยะทาง EF ยาวหรือสั้นกว่า WF
ถ้ายาวกว่า ก็จะผ่อนแรงถ้าสั้นกว่าจะไม่ผ่อนแรง
คณิตศาสตร์กับการคานวณ
จากสถานการณ์เพื่อสร้างมือกลในการถือแก้วน้า
หยิบแผ่นซีดีและจับปากกา นักเรียนจึงควร
ศึกษาเรื่องของคานและการคานวณไว้ด้วยค่ะ
Science
Math
คาชี้แจง : ออกแบบมือกล เลือกวัสดุอุปกรณ์ การประเมินผลคือสามารถทางานได้ตามสถานการณ์ที่กาหนด
และมีราคาต้นต่าในการผลิตต่าที่สุด
อุปกรณ์และราคา จานวนที่ใช้ ราคา
รายการ ราคาต่อ 1
หน่วย
1. หนังยาง 50
2. กาว 100
3. เทปใส เชือกไนลอน
ด้าย
300
4. ไม้ไอติม หลอด
ตะเกียบ เทปกาวย่น
500
5. ช้อนขนาดเล็ก 300
6. ช้อนขนาดใหญ่ 500
7. ถ้วย 500
8. ฟิวเจอร์บอร์ด 1,000
9. ถุงมือ 1,500
รวม
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 24.
ใบกิจกรรม
ภาพโมเดล
คาชี้แจง: จงเติมคาตอบให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. จากภาพจงอธิบายการเคลื่อนไหวของมือ
2. การออกกาลังกายในภาพอาศัยข้อต่อของแขนและข้อมืออย่างไร
3. จงอธิบายการทานของกล้ามเนื้อ Extensor และ Flexor
เสริมความรู้เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกลแบบฝึกหัด
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 25.
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
4. จากภาพ การบาดเจ็บจะส่งผลต่อการเคลื่อนไหวของนิ้วอย่างไร
5. ณเดชกาลังถือถุงผ้าหนัก 10 กิโลกรัม ดังภาพ ต้องออกแรงยกวัตถุด้วยแรงกี่นิวตัน
26.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
…………………………..…………………………..…………
เสริมความรู้เรื่องกิจกรรม STEM กับมือกล
คาชี้แจง: จงเติมคาตอบให้ถูกต้องสมบูรณ์
1. จากภาพจงอธิบายการเคลื่อนไหวของมือ
2. การออกกาลังกายในภาพอาศัยข้อต่อของแขนและข้อมืออย่างไร
3. จงอธิบายการทานของกล้ามเนื้อ Extensor และ Flexor
เฉลย
แบบฝึกหัด
27.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
การเคลื่อนไหวของข้อมือผ่านการเคลื่อนไหวของ
กระดูกข้อมือแถวต้นและแถวปลาย กระดูกข้อมือ
และกระดูกเรเดียสและการหมุนของกระดูก
เรเดียสไปบนกระดูกอัลน่าร์ ทาให้การเคลื่อนของ
มือทาได้กว้างขวางมาก ช่วยให้กระดกข้อมือและงอ
ข้อมือ เอียงมาทางนิ้วหัวแม่มือ – นิ้วก้อย และ
หมุนข้อมือได้
การยกเวทอาศัยข้อต่อแบบบานพับที่แขนและข้อมือ
มือแบออก/กางออกเกิดจาก extensor หดตัว
การกามือเกิดจาก flexor หดตัว
4. จากภาพ การบาดเจ็บจะส่งผลต่อการเคลื่อนไหวของนิ้วอย่างไร
5. ณเดชกาลังถือถุงผ้าหนัก 10 กิโลกรัม ดังภาพ ต้องออกแรงยกวัตถุด้วยแรงกี่นิวตัน
28.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
เมื่อเอ็นยึดกระดูกกับกล้ามเนื้อ (Tendon) ขาดหรือ
ได้รับบาดเจ็บ ทาให้ไม่สามารถควบคุมการ
เคลื่อนไหวของนิ้วมือได้
กล้ามเนื้อ biceps ที่ต้นแขนมีกลศาสตร์เป็นคาน
อันดับสาม หมายความว่าวัตถุหนักจริง 100 N
แต่เราต้องออกแรงมากกว่านั้น จึงต้องออกแรง
มากกว่า 100 นิวตัน
โดยอาศัยการทางานของกล้ามเนื้อดังนี้
กล้ามเนื้อ B หดตัว
กล้ามเนื้อ T คลายตัว
คาชี้แจง : จงใช้ข้อมูลที่กาหนดให้ในการตอบคาถาม
การเคลื่อนไหวของมือ
ข้อมือ (Wrist joint) ประกอบด้วยส่วนปลายของกระดูกปลายแขน คือ กระดูกเรเดียส
และอัลน่าร์ กระดูกข้อมือ 8 ชิ้น เรียงกันเป็น 2 แถว ต่อกับกระดูกฝ่ามือ 5 ชิ้นการเคลื่อนไหว
ของข้อมือผ่านการเคลื่อนไหวของกระดูกข้อมือแถวต้นและแถวปลาย กระดูกข้อมือและกระดูก
เรเดียสและการหมุนของกระดูกเรเดียสไปบนกระดูกอัลน่าร์ ทาให้การเคลื่อนของมือทาได้
กว้างขวางมาก ช่วยให้กระดกข้อมือและงอข้อมือเป็นมุมได้ 145 องศา (extension flexion)
เอียงมาทางนิ้วหัวแม่มือ – นิ้วก้อย 70 องศา คว่ามือและหงายมือ ผ่านกระดูกปลายแขนได้
120 องศา แกนการเคลื่อนไหวของมืออยู่ที่หัวกระดูกแคปปิเตท (Head of Capitated) ซึ่งเป็น
กระดูกข้อมือชิ้นใหญ่แถวล่างตรงกลางเป็นแนวเอียง ทาให้แนวการเคลื่อนไหวของมือจะเป็นการ
ผสมกัน คือ กระดูกข้อมือร่วมกับเอียงมาทางนิ้วหัวแม่มือและงอข้อมือร่วมกับเอียงไปทางนิ้วก้อย
ข้อนิ้วและข้อของฝ่ามือ มีความสาคัญมากในการจับอุปกรณ์ มีกล้ามเนื้อเล็กๆ อยู่เต็มฝ่ามือการ
เคลื่อนไหวที่วิเศษมาก ซึ่งทาให้มนุษย์แตกต่างจากลิงชั้นต่าคือ หัวมือแยกออกเป็นแนวตั้งฉากกับ
นิ้วทั้ง 4 ทาให้จับด้ามเครื่องมือกาได้แน่นมาก สามารถควบคุมกาลังการบีบมืออีกด้วย การดูแล
รักษานิ้ว ข้อมือและแขน จึงต้องมีการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และหากต้องมีการปะทะ
บริเวณข้อมีการป้องกัน เช่น การใส่ปลอกผ้ารัดข้อมือ
ภาพจาก
https://www.doctor.or.th/article/detail/5934
สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5
เรื่องกิจกรรม STEM กับมือกล
แบบทดสอบ
หลังเรียน
29.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
คาถามข้อที่ 1 ข้อใดสรุปถูกต้อง
1. ข้อมือสามารถเบนออกจากหัวแม่มือได้มากกว่า 60 องศา
2. ข้อมือเสี่ยงต่อการหักได้ง่ายเพราะกระดูกบริเวณข้อมือมีขนาดเล็กเรียงกัน
3. กระดูกข้อมือ 3 ชิ้นที่สาคัญมาเชื่อมกันทาให้สามารถเคลื่อนที่ได้หลายทิศทาง
4. การหมุนข้อมือเป็นการเคลื่อนไหวพิเศษที่อาศัยกระดูก 8 ชิ้นที่ข้อมือ โดยไม่อาศัย
กระดูกแขน
คะแนนเต็ม 2 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน ตอบได้ถูก 2 คะแนน
ตอบผิดได้ 0 คะแนน
คาถามข้อที่ 2 จงวงกลมล้อมรอบคาว่า “ถูกต้อง” หรือไม่ถูกต้อง” และให้เหตุผลใน
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล “ ถูกต้อง ”หรือ
ไม่ถูกต้อง”
1. กระดูกท่อนแขนทาให้มือเคลื่อนไหวได้หลายทิศทาง ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง
2. กระดกข้อมือและงอข้อมือเป็นการเคลื่อนไหวแบบ
แอนตาโกนิซึม
ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง
3. การเล่นกีฬาหรือการออกกาลังกายจึงไม่ควรมีผ้ารัดข้อมือ
เพราะจะทาให้เลือดหมุนเวียนไม่สะดวก
ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง
คะแนนเต็ม 3 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกข้อละ 1 คะแนน
คาถามข้อที่ 3 หลังจากเล่นกีฬาเกิดอุบัติเหตุจนปวดข้อมือและข้อมือบวมอยู่หลายวัน
การใช้น้ามันนวดและบีบนวด เป็นวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ถูกต้องหรือไม่
1. ถูกต้อง
2. ไม่ถูกต้อง
3. ไม่แน่ใจ
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 30.
เหตุผล
1. เพราะเอ็นจะยิ่งอักเสบมากขึ้น
2. เพราะช่วยทาให้กระดูกกลับเข้าที่ได้เร็วขึ้น
3. เพราะอาจมีกระดูกหักจะทาให้อาการปวดรุนแรงขึ้น
4. เพราะการนวดจะช่วยบรรเทาการบวมของกล้ามเนื้อ
5. เพราะอาการปวดควรใช้เวลาอย่างน้อย 7 วันในการสังเกต
6. เพราะอาจเป็นเพียงการบวมกล้ามเนื้อหลังจากเล่นกีฬาตามปกติ
คะแนนเต็ม 6 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน เลือกคาตอบและเหตุผลถูกต้องได้ 3 คะแนน
คาถามข้อที่ 4 นักเรียนจะมีวิธีการดูแลรักษาข้อมือและมืออย่างไรในก่อน ระหว่างและหลังการ
เล่นกีฬาหรือทากิจกรรมที่ใช้ข้อมือหนักๆ
เขียนคาตอบ
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
คะแนนเต็ม 2 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน อธิบายวิธีการที่เหมาะสมและถูกต้องได้ 2 คะแนน
ระบุหรือบอกวิธีการ ได้ 1 คะแนน
เขียนไม่ถูกต้อง/วิธีการไม่เหมาะสม ไม่ได้คะแนน
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 31.
คาถามข้อที่ 1 ข้อใดสรุปถูกต้อง
1. ข้อมือสามารถเบนออกจากหัวแม่มือได้มากกว่า 60 องศา
2. ข้อมือเสี่ยงต่อการหักได้ง่ายเพราะกระดูกบริเวณข้อมือมีขนาดเล็กเรียงกัน
3. กระดูกข้อมือ 3 ชิ้นที่สาคัญมาเชื่อมกันทาให้สามารถเคลื่อนที่ได้หลายทิศทาง
4. การหมุนข้อมือเป็นการเคลื่อนไหวพิเศษที่อาศัยกระดูก 8 ชิ้นที่ข้อมือ โดยไม่อาศัยกระดูกแขน
คะแนนเต็ม 2 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ตอบได้ถูก 2 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน
ข้อ 1 ผิด สามารถเบนได้ 45 องศา
ข้อ 2 ถูก เพราะข้อมือมีจานวน 8 ชิ้น ช่วยในการเคลื่อนไหวที่คล่องตัวแต่ก็เสี่ยงต่อ
การแตกหักที่ง่าย
ข้อ 3 ผิด กระดูกแขน 2 ชิ้นที่เชื่อมกันและกระดูกข้อมือ 8 ชิ้น
ข้อ 4 ผิด กระดูกข้อมือและกระดูกเรเดียสและการหมุนของกระดูกเรเดียสไปบน
กระดูกอัลน่าร์ ทาให้การเคลื่อนของมือทาได้กว้างขวางมาก
คาถามข้อที่ 2 จงวงกลมล้อมรอบคาว่า “ถูกต้อง” หรือไม่ถูกต้อง” และให้เหตุผลในการวิเคราะห์
ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล “ ถูกต้อง ”หรือ
ไม่ถูกต้อง”
1. กระดูกท่อนแขนทาให้มือเคลื่อนไหวได้หลายทิศทาง ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง
2. กระดกข้อมือและงอข้อมือเป็นการเคลื่อนไหวแบบ
แอนตาโกนิซึม
ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง
3. การเล่นกีฬาหรือการออกกาลังกายจึงไม่ควรมีผ้ารัดข้อมือ
เพราะจะทาให้เลือดหมุนเวียนไม่สะดวก
ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง
คะแนนเต็ม 3 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกข้อละ 1 คะแนน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5
เรื่องกิจกรรม STEM กับมือกล
เฉลย
แบบทดสอบ
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 32.
คาถามข้อที่ 3 หลังจากเล่นกีฬาเกิดอุบัติเหตุจนปวดข้อมือและข้อมือบวมอยู่หลายวัน
การใช้น้ามันนวดและบีบนวด เป็นวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ถูกต้องหรือไม่
1. ถูกต้อง
2. ไม่ถูกต้อง
3. ไม่แน่ใจ
เหตุผล
1. เพราะเอ็นจะยิ่งอักเสบมากขึ้น
2. เพราะช่วยทาให้กระดูกกลับเข้าที่ได้เร็วขึ้น
3. เพราะอาจมีกระดูกหักจะทาให้อาการปวดรุนแรงขึ้น
4. เพราะการนวดจะช่วยบรรเทาการบวมของกล้ามเนื้อ
5. เพราะอาการปวดควรใช้เวลาอย่างน้อย 7 วันในการสังเกต
6. เพราะอาจเป็นเพียงการบวมกล้ามเนื้อหลังจากเล่นกีฬาตามปกติ
คะแนนเต็ม 6 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน เลือกคาตอบและเหตุผลถูกต้องได้ 3 คะแนน
เหตุผลที่ถูกต้องคือ
3. เพราะอาจมีกระดูกหักจะทาให้อาการปวดรุนแรงขึ้น
คาถามข้อที่ 4 นักเรียนจะมีวิธีการดูแลรักษาข้อมือและมืออย่างไรในก่อน ระหว่างและหลังการ
เล่นกีฬาหรือทากิจกรรมที่ใช้ข้อมือหนักๆ
เขียนคาตอบ
1. ควรมีการบริหารข้อมือเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของนิ้ว ข้อมือ และกล้ามเนื้อส่วน
ปลายแขน
2. หากเป็นกีฬาที่มีการปะทะควรพันข้อมือ ใส่ปลอกผ้า หรือผ้ารัดข้อเพื่อป้องกัน
การบาดเจ็บ
คะแนนเต็ม 2 คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน อธิบายวิธีการที่เหมาะสมและถูกต้อง ได้ 2 คะแนน
ระบุหรือบอกวิธีการ ได้ 1 คะแนน
เขียนไม่ถูกต้อง/วิธีการไม่เหมาะสม ไม่ได้คะแนน
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 33.
กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์,
2545.
กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, 2551.
กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีพุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, 2551.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์และคณะ. ชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดเสริมสร้างสมรรถนะสาคัญและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จากัด, 2558.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา
เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
สกสค, 2554.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา
เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
สกสค, 2554.
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ. ใบงานที่ 1
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตชั้นต่า. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2559.
http://km.nmrtup.ac.th/files/12051811112536455_12072220203827.pdf
Reece, J. B., & Campbell, N. A. Campbell biology. (11th ed.). Boston:
Benjamin Cummings Pearson, 2011.
บรรณานุกรม
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 34.
ภาคผนวก
เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 35.
YouTube กิจกรรมมือกลในห้องเรียน
ครูกมลรัตน์ ฉิมพาลี
https://www.youtube.com/watch?v=7hIEOlRn
F7c&list=PLTEmdJNFmjRz_T5O-
mGOzDfpzKzAgeA7I&index=3
ภาพการออกแบบมือกล
การทดสอบความสามารถของมือกล การทดสอบความสามารถของมือกล
ผลงานมือกลที่หลากหลาย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....Z-class Puttichon
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 

La actualidad más candente (20)

8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 

Similar a เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล

6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคนกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะโรงเรียนเดชอุดม
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อNirut Uthatip
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคมtanakit pintong
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตkrunum11
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
GSprojectscience reprot2562_1_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_1_kruwichaiGSprojectscience reprot2562_1_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_1_kruwichaiWichai Likitponrak
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
4 MAT Leaning System DOC
4 MAT Leaning System DOC4 MAT Leaning System DOC
4 MAT Leaning System DOCPete Pitch
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56dockrupornpana55
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทssuser21a057
 

Similar a เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล (20)

6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
4mat
4mat4mat
4mat
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
GSprojectscience reprot2562_1_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_1_kruwichaiGSprojectscience reprot2562_1_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_1_kruwichai
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
4 MAT Leaning System DOC
4 MAT Leaning System DOC4 MAT Leaning System DOC
4 MAT Leaning System DOC
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 

Más de กมลรัตน์ ฉิมพาลี

Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษากมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดโครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมหลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศการออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆPoster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashนำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

Más de กมลรัตน์ ฉิมพาลี (20)

Classroom observation day1
Classroom observation day1Classroom observation day1
Classroom observation day1
 
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
 
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
 
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดโครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
 
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
 
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมหลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
 
เทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืชเทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืช
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1
 
เม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาวเม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาว
 
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศการออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
 
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆPoster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
 
Poster โรงเรียนสุจริต
Poster โรงเรียนสุจริตPoster โรงเรียนสุจริต
Poster โรงเรียนสุจริต
 
Mind mapping genetics
Mind mapping geneticsMind mapping genetics
Mind mapping genetics
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าMindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้า
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashนำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
 

เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล

  • 1. เรื่องกิจกรรม STEM กับมือกลเล่มที่ 5 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา (ว 32242) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาลี ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ โรงเรียนถนนหักพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับการเคลื่อนที่ของข้อต่อและกล้ามเนื้อมือ ผู้สอนได้ ดาเนินการจัดทาขึ้นเพื่อประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว 32242 สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเอง เรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ตามลาดับ ขั้น ศักยภาพและความสามารถของตนเอง ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ ทักษะความคิด สามารถดารงชีวิตในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรู้เท่าทัน เมื่อผู้เรียนศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้แล้ว ผู้เรียนจะมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ เพราะนอกจากความรู้ คาถาม สื่อการเรียนรู้ ที่ถูกจัดทาอย่างเป็นระบบขั้นตอนแล้ว ยังเชื่อมโยงกับแหล่งข้อมูลวีดิทัศน์เพื่อช่วยขยายขอบเขต ของการรับรู้ของผู้เรียนอีกด้วย ผู้สอนหวังว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่ผู้เรียน ครูผู้สอน และผู้ที่สนใจนาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และมีความปกติสุข ในการดารงชีวิต กมลรัตน์ ฉิมพาลี คานา เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล ก.
  • 3. เรื่อง หน้า คานา ................................................................................................................................ สารบัญ ............................................................................................................................. คาชี้แจงการใช้ชุดการเรียนรู้เรื่องเล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล........................ คาแนะนาสาหรับครู............................................................................................................ คาแนะนาสาหรับนักเรียน.................................................................................................... ขั้นตอนการใช้...................................................................................................................... มาตรฐานการเรียนรู้............................................................................................................ ผลการเรียนรู้....................................................................................................................... แบบทดสอบก่อนเรียน ........................................................................................................ ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้...................................................................................... ชุดการเรียนรู้เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล…………………………………………………. บัตรเนื้อหา ................................................................................................................ บัตรกิจกรรม ............................................................................................................. บัตรเฉลย ................................................................................................................... แบบทดสอบหลังเรียน ....................................................................................................... เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ....................................................................... บรรณานุกรม .................................................................................................................... ภาคผนวก ............................................................................................................................. ก ข 1 2 3 4 5 6 7 10 12 13 25 27 29 32 34 35 สารบัญ ข.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
  • 4. 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีทั้งหมด 7 เล่ม ดังนี้ 1. เล่มที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 2. เล่มที่ 2 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 3. เล่มที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง 4. เล่มที่ 4 เรื่อง การเคลื่อนที่ของคน 5. เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 6. เล่มที่ 6 เรื่อง กิจกรรมวิทยาศาสตร์การกีฬากับการเคลื่อนที่ 7. เล่มที่ 7 เรื่อง สิ่งประดิษฐ์เพื่อช่วยเหลือคนที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนที่ 2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิต มีจุดประสงค์การเรียนรู้ และเนื้อหาที่สอดคล้องกับสาระและมาตรฐานกลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 3. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิต ในแต่ละชุดกิจกรรมจะเสร็จสมบูรณ์ในตัวเอง นักเรียนสามารถทบทวนได้ตามที่ ต้องการ นอกจากนี้ยังมีการเชื่อมโยงไปยังสื่อวีดิทัศน์เพื่อใช้ศึกษาและค้นคว้าเพิ่มเติม 4. นักเรียนสามารถประเมินตนเองได้โดยการตรวจคาตอบจากเฉลย 5. ควรศึกษาคาแนะนาในการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ก่อนใช้ทุกชุดกิจกรรม หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล คาชี้แจง 1.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
  • 5. 1.1 ศึกษารายละเอียดของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจก่อนสอน 1.2 จัดเตรียมสิ่งแวดล้อม ระบบสนับสนุน เครื่องมือวัดและประเมินผล ให้พร้อมใช้ ครูให้คาแนะนาและเป็นผู้อานวยความสะดวกในการดาเนินกิจกรรม ทั้งนี้ควรกระตุ้น และส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะการคิด กล้าแสดงความคิดเห็น การทางานเป็นทีม และรับผิดชอบต่อหน้าที่ เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน ครูควรประเมินผลการเรียนรู้ ของผู้เรียนโดยใช้แบบทดสอบประจาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล คาแนะนา สาหรับครู 1. ขั้นตอนก่อนจัดการเรียนรู้ 2. ขั้นการสอน 3. ขั้นสรุป หากคุณครูมีข้อสงสัยในขั้นตอนใดของ กิจกรรม สามารถสอบถามผ่านจากเพจ “BioWow เทคนิคการเรียนการสอน ชีววิทยา By Krupumbio ได้ตลอดเวลาค่ะ เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน 2.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
  • 6. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้นักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนด้วยความซื่อสัตย์และ ตั้งใจ ดังนี้ 1. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 3. ปฏิบัติกิจกรรมและศึกษาสื่อต่างๆตามคาแนะนาของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งสื่อวิดีทัศน์จะเชื่อมโยงได้ในรูปของ QR Code หรือการใช้ URL ไปยังวิดีทัศน์นั้น 4. ทาแบบฝึกเสริมทักษะเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจในบทเรียน 5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 4 เรื่องการเคลื่อนที่ของคน 6. หากมีข้อคาถามหรือข้อสงสัยสามารถสอบถามครูผู้สอนได้ 7. เกณฑ์การผ่านการประเมินจะผ่านเมื่อนักเรียนทาคะแนนได้ คิดเป็นร้อยละ 80 หากนักเรียนไม่ผ่านการประเมิน ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา และทากิจกรรมอีกครั้ง แล้วทาการ ประเมินผลใหม่ จนกว่าจะได้คะแนนผ่านเกณฑ์ เพื่อให้มั่นใจว่านักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้และพร้อมที่จะเรียนรู้ในเล่มต่อไป หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล คาแนะนา สาหรับ นักเรียน หากนักเรียนมีข้อสงสัยในขั้นตอนใด ของกิจกรรม สามารถสอบถามผ่าน จากเพจ “BioWow เทคนิคการเรียน การสอนชีววิทยา By Krupumbio ได้ตลอดเวลาค่ะ 3.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
  • 7. ในการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยา รหัสวิชา ว 32242 หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล นักเรียนควรปฏิบัติดังนี้ หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล ขั้นตอน การใช้ 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความรู้เดิม 2. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้และเนื้อหาให้เข้าใจ 3. ทากิจกรรมในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบถ้วน 4. ทาแบบฝึกกิจกรรมให้ถูกต้อง 5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินผลความก้าวหน้าในการเรียนรู้ 4.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
  • 8. มาตรฐานสาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิต ของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา ความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มี รูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและ เครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงสั้นๆเข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ สิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5. มาตรฐาน การเรียนรู้ เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
  • 9. 1. สืบค้น อภิปรายและอธิบายการสร้างเท้าเทียมของอะมีบา 2. สืบค้นอธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างและการทางานของแฟลเจลลัมกับซิเลีย 3. อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของแมงกะพรุน หมึก ดาวทะเลไส้เดือนดิน และแมลง 4. เปรียบเทียบลักษณะการเคลื่อนที่สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 5. อธิบายการทางานของกล้ามเนื้อแบบสภาวะตรงกันข้าม (antagonism) 6. สารวจตรวจสอบ สืบค้น อภิปรายและอธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสัตว์ มีกระดูกสันหลังที่อาศัยอยู่ในน้ากับสัตว์ที่อาศัยอยู่บนบก 7. สารวจตรวจสอบ สืบค้น อภิปรายและอธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน 8. สารวจ ตรวจสอบ อภิปรายและอธิบายถึงการทางานของข้อต่อแบบต่างๆ 9. สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบและอธิบายลักษณะของกล้ามเนื้อประเภทต่างๆ และกลไกการทางานของกล้ามเนื้อ หน่วยการเรียนรู้ : การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 6. ผลการ เรียนรู้ เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
  • 10. คาชี้แจง : จงใช้ข้อมูลที่กาหนดให้ในการตอบคาถาม การเคลื่อนไหวของมือ ข้อมือ (Wrist joint) ประกอบด้วยส่วนปลายของกระดูกปลายแขน คือ กระดูกเรเดียส และอัลน่าร์ กระดูกข้อมือ 8 ชิ้น เรียงกันเป็น 2 แถว ต่อกับกระดูกฝ่ามือ 5 ชิ้นการเคลื่อนไหว ของข้อมือผ่านการเคลื่อนไหวของกระดูกข้อมือแถวต้นและแถวปลาย กระดูกข้อมือและกระดูก เรเดียสและการหมุนของกระดูกเรเดียสไปบนกระดูกอัลน่าร์ ทาให้การเคลื่อนของมือทาได้ กว้างขวางมาก ช่วยให้กระดกข้อมือและงอข้อมือเป็นมุมได้ 145 องศา (extension flexion) เอียงมาทางนิ้วหัวแม่มือ – นิ้วก้อย 70 องศา คว่ามือและหงายมือ ผ่านกระดูกปลายแขนได้ 120 องศา แกนการเคลื่อนไหวของมืออยู่ที่หัวกระดูกแคปปิเตท (Head of Capitated) ซึ่งเป็น กระดูกข้อมือชิ้นใหญ่แถวล่างตรงกลางเป็นแนวเอียง ทาให้แนวการเคลื่อนไหวของมือจะเป็นการ ผสมกัน คือ กระดูกข้อมือร่วมกับเอียงมาทางนิ้วหัวแม่มือและงอข้อมือร่วมกับเอียงไปทางนิ้วก้อย ข้อนิ้วและข้อของฝ่ามือ มีความสาคัญมากในการจับอุปกรณ์ มีกล้ามเนื้อเล็กๆ อยู่เต็มฝ่ามือการ เคลื่อนไหวที่วิเศษมาก ซึ่งทาให้มนุษย์แตกต่างจากลิงชั้นต่าคือ หัวมือแยกออกเป็นแนวตั้งฉากกับ นิ้วทั้ง 4 ทาให้จับด้ามเครื่องมือกาได้แน่นมาก สามารถควบคุมกาลังการบีบมืออีกด้วย การดูแล รักษานิ้ว ข้อมือและแขน จึงต้องมีการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และหากต้องมีการปะทะ บริเวณข้อมีการป้องกัน เช่น การใส่ปลอกผ้ารัดข้อมือ ภาพจาก https://www.doctor.or.th/article/detail/5934 สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล แบบทดสอบ ก่อนเรียน 7.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
  • 11. คาถามข้อที่ 1 ข้อใดสรุปถูกต้อง 1. ข้อมือสามารถเบนออกจากหัวแม่มือได้มากกว่า 60 องศา 2. ข้อมือเสี่ยงต่อการหักได้ง่ายเพราะกระดูกบริเวณข้อมือมีขนาดเล็กเรียงกัน 3. กระดูกข้อมือ 3 ชิ้นที่สาคัญมาเชื่อมกันทาให้สามารถเคลื่อนที่ได้หลายทิศทาง 4. การหมุนข้อมือเป็นการเคลื่อนไหวพิเศษที่อาศัยกระดูก 8 ชิ้นที่ข้อมือ โดยไม่อาศัย กระดูกแขน คะแนนเต็ม 2 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ตอบได้ถูก 2 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน คาถามข้อที่ 2 จงวงกลมล้อมรอบคาว่า “ถูกต้อง” หรือไม่ถูกต้อง” และให้เหตุผลใน การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล “ ถูกต้อง ”หรือ ไม่ถูกต้อง” 1. กระดูกท่อนแขนทาให้มือเคลื่อนไหวได้หลายทิศทาง ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง 2. กระดกข้อมือและงอข้อมือเป็นการเคลื่อนไหวแบบ แอนตาโกนิซึม ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง 3. การเล่นกีฬาหรือการออกกาลังกายจึงไม่ควรมีผ้ารัดข้อมือ เพราะจะทาให้เลือดหมุนเวียนไม่สะดวก ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง คะแนนเต็ม 3 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกข้อละ 1 คะแนน คาถามข้อที่ 3 หลังจากเล่นกีฬาเกิดอุบัติเหตุจนปวดข้อมือและข้อมือบวมอยู่หลายวัน การใช้ น้ามันนวดและบีบนวด เป็นวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ถูกต้องหรือไม่ 1. ถูกต้อง 2. ไม่ถูกต้อง 3. ไม่แน่ใจ เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 8.
  • 12. เหตุผล 1. เพราะเอ็นจะยิ่งอักเสบมากขึ้น 2. เพราะช่วยทาให้กระดูกกลับเข้าที่ได้เร็วขึ้น 3. เพราะอาจมีกระดูกหักจะทาให้อาการปวดรุนแรงขึ้น 4. เพราะการนวดจะช่วยบรรเทาการบวมของกล้ามเนื้อ 5. เพราะอาการปวดควรใช้เวลาอย่างน้อย 7 วันในการสังเกต 6. เพราะอาจเป็นเพียงการบวมกล้ามเนื้อหลังจากเล่นกีฬาตามปกติ คะแนนเต็ม 6 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน เลือกคาตอบและเหตุผลถูกต้องได้ 3 คะแนน คาถามข้อที่ 4 นักเรียนจะมีวิธีการดูแลรักษาข้อมือและมืออย่างไรในก่อน ระหว่างและหลังการ เล่นกีฬาหรือทากิจกรรมที่ใช้ข้อมือหนักๆ เขียนคาตอบ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... คะแนนเต็ม 2 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน อธิบายวิธีการที่เหมาะสมและถูกต้องได้ 2 คะแนน ระบุหรือบอกวิธีการ ได้ 1 คะแนน เขียนไม่ถูกต้อง/วิธีการไม่เหมาะสม ไม่ได้คะแนน เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 9.
  • 13. มาตรฐานสาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ ของระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบ เสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของ ตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ผลการเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบและอธิบายกระดูก เอ็นและกล้ามเนื้อมือ เรื่องที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) 1.การเคลื่อนที่ ของคน สิ่งมีชีวิตมีการเคลื่อนที่เพื่อตอบสนอง ต่อสิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน คนใช้การ เคลื่อนที่ที่อาศัยการทางานของระบบ โครงกระดูก และระบบกล้ามเนื้อ กระดูกแต่ละชิ้นเชื่อมต่อกันด้วยข้อต่อ กล้ามเนื้อแต่ละคู่ที่ยึดติดกับกระดูก ทางานร่วมกันในสภาวะตรงกันข้าม (Antagonism) ด้านความรู้ (K) 1. สืบค้นข้อมูล สารวจ ตรวจสอบอธิปรายและอธิบาย ส่วนประกอบของกระดูกของ คน เอ็น ชนิดของข้อต่อ และ การทางานของข้อมือ 3 มาตรฐานการเรียนรู้ ตาราง วิเคราะห์ เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 10.
  • 14. เรื่องที่ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1. ทักษะการวิเคราะห์ ข้อมูลเพื่อสร้างข้อสรุป 2. การสร้างประดิษฐ์ “มือกล” 3. ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ (A) 3.1 ความมีวินัย 3.2 ความสนใจใฝ่รู้ เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 11.
  • 15. กิจกรรม STEM กับมือกลชุดกิจกรรม การเรียนรู้ที่ 5 ให้นักเรียนสังเกตภาพ 1-4 สิ่งมีชีวิตชนิด ใดบ้างที่สามารถหยิบจับสิ่งของได้ ดังลักษณะ ในภาพ ภาพจาก https://www.slideshare.net/Farshidmokhberi/h uman-evolution-by-farshid-mokhberi .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 12. 1. 2. 3. 4. วิวัฒนาการของ Homo habilis ที่เชื่อว่าเป็น บรรพบุรุษของมนุษย์ในปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ค้นพบซากดึกดาบรรพ์ทาง ตะวันตกของแอฟริกา มีอายุประมาณ 2-4 ล้านปี เป็นมนุษย์ที่รู้จักใช้หินมาเป็นเครื่องมือ จากนั้น Homo erectus หรือมนุษย์ชวาและ มนุษย์ปักกิ่งที่กระจายตั้งแต่แอฟริกาจนถึง ตะวันออกเฉียงใต้ จีนและยุโรป ซึ่งมนุษย์กลุ่มนี้ รู้จักใช้ไฟและล่าสัตว์ด้วยหิน และวิวัฒนาการ มาเป็น Homo sapiens หรือมนุษย์โครมายอง ที่รู้จักวาดภาพ ซึ่งมีลักษณะพิเศษที่สาคัญของ ความสามารถในการใช้มือคือการมีโครงสร้าง ของมือแบบ 5 นิ้ว และหัวแม่มือ มนุษย์ สามารถเคลื่อนไหวหัวนิ้วมือได้มากกว่าไพรเมต (ลิง ลีเมอร์ อุรังอุตัง) ทั่วไป แต่อย่างไรก็ตาม อุรังอุตังมีนิ้วหัวแม่มือและหัวแม่เท้าที่ใหญ่ เช่นเดียวกับเราอุรังอุตังมีนิ้วหัวแม่มือและนิ้วหัว แม่เท้าที่ใหญ่ เพื่อช่วยให้พวกมันแกว่งไกวได้ อย่างง่ายดายแม้บนต้นไม้ที่สูงที่สุดในป่าดงดิบ โครงสร้างของมือจึงช่วยให้มนุษย์สามารปรับตัว ได้ดี
  • 16. เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 13. คาว่า “สะเต็ม” หรือ “STEM” เป็นคาย่อจากภาษาอังกฤษของศาสตร์ 4 สาขาวิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) หมายถึงองค์ความรู้ วิชาการของ ศาสตร์ทั้งสี่ที่มีความเชื่อมโยงกันในโลกของความเป็นจริงที่ต้องอาศัยองค์ความรู้ต่างๆ มาบูรณาการเข้าด้วยกันในการดาเนินชีวิตและการทางาน คาว่า STEM ถูกใช้ ครั้งแรกโดยสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา (the National Science Foundation: NSF) ซึ่งใช้คานี้เพื่ออ้างถึงโครงการหรือโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ อย่างไรก็ตามสถาบัน วิทยาศาสตร์แห่งประเทศสหรัฐอเมริกาไม่ได้ให้นิยามที่ชัดเจนของคาว่า STEM มีผลให้ มีการใช้และให้ความหมายของคานี้แตกต่างกันไป (Hanover Research, 2011, p.5) เช่น มีการใช้คาว่า STEM ในการอ้างอิงถึงกลุ่มอาชีพที่มีความเกี่ยวข้องกับ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ มารู้จักกิจกรรม STEM ศึกษา ความต้องการด้านอาชีพเกี่ยวข้องกับ STEM เพิ่มมากขึ้น โดยแรงงานที่ไม่ใช้ ความรู้ขั้นสูงจะถูกแทนที่ด้วยหุ่นยนต์
  • 17. สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการ ความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนา ความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนา กระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการ ดาเนินชีวิต และการทางาน ช่วยนักเรียนสร้างความ เชื่อมโยงระหว่าง 4 สหวิทยาการ กับชีวิตจริงและการ ทางาน การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาเป็นการ จัดการเรียนรู้ที่ไม่เน้นเพียงการท่องจาทฤษฎีหรือกฎ ทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ แต่เป็นการสร้าง ความเข้าใจทฤษฎีหรือกฎเหล่านั้นผ่านการปฏิบัติให้ เห็นจริงควบคู่กับการพัฒนาทักษะการคิด ตั้งคาถาม แก้ปัญหาและการหาข้อมูลและวิเคราะห์ข้อค้นพบ ใหม่ๆ พร้อมทั้งสามารถนาข้อค้นพบนั้นไปใช้หรือบูรณา การกับชีวิตประจาวันได้ ข้อมูลจาก http://www.stemedthailand.org/?page_id=23 สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2559 เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 14. ภาพจาก http://cnsmaryland.org/2012/10/11/g olden-ring-middle-school-stem-day- gets-girls-involved-in-tech-projects/ สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2559 อาชีพใหม่ๆที่ใช้ความรู้ด้านสะเต็ม นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientists) วิศวชีวการแพทย์ (Biomedical Engineering) ผู้เชี่ยวชาญด้านการระดมทุน (Crowd Funding Specialist) การยศาสตร์และชีวกลศาสตร์ (Ergonomics and Biomechanics) มีเดียทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์ (Medical and Science Media)
  • 18. เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 15. ในกิจกรรมนี้เราจะทาโปรเจคมือกลด้วยกัน โดยใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ เพื่อสร้างมือกลในการถือแก้วน้า หยิบแผ่นซีดีและจับปากกา ด้วยต้นทุนที่ต่าที่สุด ดังนั้นเรามาเรียนรู้ความรู้พื้นฐานก่อนดีกว่าครับ มือ จากภาพ http://eorthopod.com/sites/default/files/ images/hand_anatomy_muscles01.jpg สืบค้นเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2559 มือมีโครงสร้างที่ละเอียดและซับซ้อน การเรียงตัว ของข้อต่อและกล้ามเนื้อ โดยมีนิ้วมือ 5 นิ้วและ ข้อต่อจานวนมาก มีเอ็นที่ยึดระหว่างกล้ามเนื้อ และกระดูก เอ็นที่ยึดกระดูกและกระดูก การ ทางานร่วมกับระบบประสาท ควบคุมการงอการ กางนิ้ว ช่วยให้สามารถทางานได้อย่างหลากหลาย เช่น การหยิบจับปากกา การกดรีโมทและ แป้นพิมพ์ การจับและยกแก้ว การปีนเขา มือและการทางาน ความคล่องตัวของมือทาให้มนุษย์ใช้ทางานได้หลากหลาย แต่ก็เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายกับ มือเช่นกัน นักวิทยาศาสตร์จึงศึกษาสรีระและกายวิภาคการทางานของมือ เพื่อสร้างมือ โรบอทในการทางาน เช่น มือกลหยิบจับอุปกรณ์ในโรงงานสารเคมีและมือกลจับวัสดุในโรงงานที่ เครื่องกลมีอันตราย
  • 19. โครงสร้างมือของมนุษย์ มือประกอบด้วย กระดูกทั้งหมด 27 ชิ้น กระดูกข้อมือ (Carpus) เป็นกระดูกข้อมือมี 8 ชิ้น กระดูกฝ่ามือ (Metacarpus) 5 ชิ้น ต่อจากกระดูกข้อมือและกระดูกนิ้ว กระดูกนิ้วมือ (Phalanges) 14 ชิ้น แต่ละนิ้วประกอบด้วย กระดูกนิ้วมือ 3 ชิ้น ได้แก่ proximal middle และ distal ยกเว้น นิ้วหัวแม่มือประกอบด้วย กระดูกนิ้วมือ 2 ชิ้น ได้แก่ proximal และ distal phalanges โดยเชื่อมต่อกันด้วยข้อต่อและเอ็น (Ligaments) ลักษณะข้อต่อที่พบบริเวณมือคือ แบบ Hinge joint เป็นข้อต่อแบบบานพับ ลักษณะของกระดูกเป็นรูปเว้าและรูปนูนมาต่อกัน สามารถเคลื่อนไหวได้ทิศทางเดียวคือการงอและเหยียด ได้แก่ ข้อต่อระหว่างนิ้ว Ellipsoidal (condyloid) joint ข้อต่อนี้เคลื่อนไหวแบบการงอ เหยียด การกาง และหุบ เช่น กระดูกข้อมือ และข้อต่อระหว่างกระดูกข้อฝ่ามือและกระดูกนิ้ว ดังภาพ Science ภาพ http://www.clipartkid.com/h and-fracture-cliparts/ สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 16.
  • 20. โครงสร้างมือของมนุษย์S การเชื่อมต่อของเนื้อเยื่อและกระดูกยึดกล้ามเนื้อ (Tendon) และตรงข้อมือมีเอ็น ลิกกาเมนต์ยึดกระดูก และยังมีการทางานร่วมกันกับระบบประสาทอีกด้วย เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 17. ภาพจาก http://www.sciencebuddies.org/science-fair- projects/project_ideas/HumBio_p042.shtml สืบค้นเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2559
  • 21. https://www.pinterest. com/pin/150096600056733 300/ http://www.sciencebuddies. org/sciencefairprojects/proje ct_ideas/Robotics_p001.sht ml Prototype I นี้มีจุดอ่อนคือไม่ แข็งแรงเพียงพอต่อการหยิบจับ อุปกรณ์ Prototype II นี้มีจุดอ่อนคือไม่มี ระบบควบคุมการเคลื่อนไหวของ มือ Prototype III นี้มีจุดอ่อนคือไม่ สามารถหยิบซีดีได้ การออกแบบมือกล คือโจทย์ในการพัฒนา เทคโนโลยีที่สร้างขึ้นเพื่อ ช่วยอานวยความ สะดวกและความปลอดภัยในการทางาน การสร้างเทคโนโลยีต้องอาศัยวัสดุ อุปกรณ์และเทคโนโลยี เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 18. Technology อุปกรณ์ที่กาหนดให้ 1. ลังกระดาษ 2. ฟิวเจอร์บอร์ด 3. กระดาษแข็ง 4. หลอด 5. เชือกไนลอน 6. ด้าย 7. เทปกาวย่น 8. กรรไกรและมีดคัตเตอร์ 9. ปากกา ไม้บรรทัด 10. ถุงมือ 11. ตะเกียบ 12. แก้ว 13. ไม้ไอศรีม 14. หนังยาง 15. ดินน้ามัน ต้นแบบที่กาหนดให้ (Prototype) มีจุดอ่อนที่ต้องปรับแก้ไขดังข้อมูลPrototype
  • 22. ภาพจาก http://www.stemedthailand.org/?knowstem=สะเต็มและการออกแบบ สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม (NRC, 2012) ช่วยให้ นาเอาความรู้มาออกแบบวิธีการหรือกระบวนการเพื่อ ตอบสนองความต้องการหรือแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับ ชีวิตประจาวัน เพื่อให้ได้เทคโนโลยี กระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรมประกอบด้วยองค์ประกอบ 6 ขั้นตอน ได้แก่ เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 19. Engineering
  • 23. ขั้นตอน กระบวนการ 1.ระบุปัญหา (Problem Identification) เป็นการทาความเข้าใจปัญหาหรือความท้าทาย วิเคราะห์เงื่อนไข หรือข้อจากัดของสถานการณ์ปัญหา เพื่อกาหนดขอบเขตของปัญหา ซึ่งจะนาไปสู่การสร้างชิ้นงานหรือวิธีการในการแก้ปัญหา 2.รวบรวมข้อมูลและ แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ ปัญหา (Related Information Search) เป็นการรวบรวมข้อมูลและแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับแนวทางการแก้ปัญหาและประเมิน ความเป็นไปได้ ข้อดีและข้อจากัด 3.ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (Solution Design) เป็นการประยุกต์ใช้ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องเพื่อการออกแบบ ชิ้นงานหรือวิธีการในการแก้ปัญหา โดยคานึงถึงทรัพยากร ข้อจากัด และเงื่อนไขตามสถานการณ์ที่กาหนด 4.วางแผนและดาเนินการ แก้ปัญหา (Planning and Development) เป็นการกาหนดลาดับขั้นตอนของการสร้างชิ้นงานหรือวิธีการ แล้วลงมือสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการเพื่อใช้ในการแก้ปัญหา 5.ทดสอบ ประเมินผล และ ปรับปรุงแก้ไขวิธีการ แก้ปัญหาหรือชิ้นงาน (Testing, Evaluation and Design Improvement) เป็นการทดสอบและประเมินการใช้งานของชิ้นงานหรือวิธีการ โดยผลที่ได้อาจนามาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมที่สุด 6.นาเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือ ชิ้นงาน (Presentation) เป็นการนาเสนอแนวคิดและขั้นตอนการแก้ปัญหาของการสร้าง ชิ้นงานหรือการพัฒนาวิธีการ ให้ผู้อื่นเข้าใจและได้ข้อเสนอแนะเพื่อ การพัฒนาต่อไป เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 20.
  • 24. ลาดับฟีโบนักชีและสัดส่วนร่างกายมนุษย์ เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 21. สัดส่วนของร่างกายมนุษย์มีความเกี่ยวข้อง กับลาดับเลขฟีโบนักชี สามารถเขียนเป็นอนุกรมได้ ดังนี้คือ 1, 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, 34, 55, 89, x, y, x+y, …ชุดตัวเลขนี้มีความสัมพันธ์กันอย่างชัดเจน นั่นคือ ตัวเลขตัวถัดมา คือ ผลรวมของตัวเลขสองชุด ก่อนหน้านี้ได้แก่ 0+1 =1, 1+1 = 2, 1+2 = 3, 2+3 = 5, 3+5 = 8, 5+8 = 13, 8+13 = 21 .... และเมื่อนาตัวเลขฟีโบนักชีและเมื่อนาผลของ เลขฟีโบนักชีลาดับถัดไปมาหารจานวนก่อน หน้าจะได้ค่าค่าหนึ่งดังนี้ 1/1 = 1 2/1 = 2 3/2 = 1.5 5/3 = 1.666... 8/5 = 1.6 13/8= 1.625 21/13 = 1.61538… ซึ่งเรียกค่านี้ว่าอัตราส่วนทองคา (Golden Section) คือสัดส่วน 0.618:1 Math ภาพจาก https://www.goldennumber.net/human-hand-foot/ สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559
  • 25. สารวจสัดส่วนมือของมนุษย์ เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 22. Math สัดส่วนของมือมนุษย์ก็เป็นอัตราส่วนทองคา เช่นกัน และความยาวของกระดูกนิ้วมือแต่ละข้อจะมี อัตราส่วนเรียงตามลาดับเลขฟีโบนักชี ภาพจาก (https://group.dek-d.com/learning- math/myboard/view.php?id=269) สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559 ภาพจาก (http://www.dolefin.com/technicalanal ysis/technicalanalysisexplained04.php? navanchor=2110010) สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559
  • 26. ภาพจาก https://bvg8science.wikispaces.com/Elliot%27s+class+3+levers สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559 เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 23. คานอันดับที่ 3 คือ คานที่มีแรงความพยายาม (E) อยู่ระหว่างแรงความต้านทาน (W หรือ L) และจุดหมุน (F) เครื่องใช้ที่จัดเป็นคานอันดับ 3 ได้แก่ แหนบ ตะเกียบ พลั่ว คีมคีบถ่าน ปากกา ไม้กวาดด้ามยาว การผ่อนแรงของคานจะมีมากหรือน้อยให้ พิจารณาจากระยะทางจาก Eถึง F และ W ถึง F ว่าระยะทาง EF ยาวหรือสั้นกว่า WF ถ้ายาวกว่า ก็จะผ่อนแรงถ้าสั้นกว่าจะไม่ผ่อนแรง คณิตศาสตร์กับการคานวณ จากสถานการณ์เพื่อสร้างมือกลในการถือแก้วน้า หยิบแผ่นซีดีและจับปากกา นักเรียนจึงควร ศึกษาเรื่องของคานและการคานวณไว้ด้วยค่ะ Science Math
  • 27. คาชี้แจง : ออกแบบมือกล เลือกวัสดุอุปกรณ์ การประเมินผลคือสามารถทางานได้ตามสถานการณ์ที่กาหนด และมีราคาต้นต่าในการผลิตต่าที่สุด อุปกรณ์และราคา จานวนที่ใช้ ราคา รายการ ราคาต่อ 1 หน่วย 1. หนังยาง 50 2. กาว 100 3. เทปใส เชือกไนลอน ด้าย 300 4. ไม้ไอติม หลอด ตะเกียบ เทปกาวย่น 500 5. ช้อนขนาดเล็ก 300 6. ช้อนขนาดใหญ่ 500 7. ถ้วย 500 8. ฟิวเจอร์บอร์ด 1,000 9. ถุงมือ 1,500 รวม เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 24. ใบกิจกรรม ภาพโมเดล
  • 28. คาชี้แจง: จงเติมคาตอบให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. จากภาพจงอธิบายการเคลื่อนไหวของมือ 2. การออกกาลังกายในภาพอาศัยข้อต่อของแขนและข้อมืออย่างไร 3. จงอธิบายการทานของกล้ามเนื้อ Extensor และ Flexor เสริมความรู้เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกลแบบฝึกหัด เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 25. …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..…………
  • 29. 4. จากภาพ การบาดเจ็บจะส่งผลต่อการเคลื่อนไหวของนิ้วอย่างไร 5. ณเดชกาลังถือถุงผ้าหนัก 10 กิโลกรัม ดังภาพ ต้องออกแรงยกวัตถุด้วยแรงกี่นิวตัน 26.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..………… …………………………..…………………………..…………
  • 30. เสริมความรู้เรื่องกิจกรรม STEM กับมือกล คาชี้แจง: จงเติมคาตอบให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. จากภาพจงอธิบายการเคลื่อนไหวของมือ 2. การออกกาลังกายในภาพอาศัยข้อต่อของแขนและข้อมืออย่างไร 3. จงอธิบายการทานของกล้ามเนื้อ Extensor และ Flexor เฉลย แบบฝึกหัด 27.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล การเคลื่อนไหวของข้อมือผ่านการเคลื่อนไหวของ กระดูกข้อมือแถวต้นและแถวปลาย กระดูกข้อมือ และกระดูกเรเดียสและการหมุนของกระดูก เรเดียสไปบนกระดูกอัลน่าร์ ทาให้การเคลื่อนของ มือทาได้กว้างขวางมาก ช่วยให้กระดกข้อมือและงอ ข้อมือ เอียงมาทางนิ้วหัวแม่มือ – นิ้วก้อย และ หมุนข้อมือได้ การยกเวทอาศัยข้อต่อแบบบานพับที่แขนและข้อมือ มือแบออก/กางออกเกิดจาก extensor หดตัว การกามือเกิดจาก flexor หดตัว
  • 31. 4. จากภาพ การบาดเจ็บจะส่งผลต่อการเคลื่อนไหวของนิ้วอย่างไร 5. ณเดชกาลังถือถุงผ้าหนัก 10 กิโลกรัม ดังภาพ ต้องออกแรงยกวัตถุด้วยแรงกี่นิวตัน 28.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล เมื่อเอ็นยึดกระดูกกับกล้ามเนื้อ (Tendon) ขาดหรือ ได้รับบาดเจ็บ ทาให้ไม่สามารถควบคุมการ เคลื่อนไหวของนิ้วมือได้ กล้ามเนื้อ biceps ที่ต้นแขนมีกลศาสตร์เป็นคาน อันดับสาม หมายความว่าวัตถุหนักจริง 100 N แต่เราต้องออกแรงมากกว่านั้น จึงต้องออกแรง มากกว่า 100 นิวตัน โดยอาศัยการทางานของกล้ามเนื้อดังนี้ กล้ามเนื้อ B หดตัว กล้ามเนื้อ T คลายตัว
  • 32. คาชี้แจง : จงใช้ข้อมูลที่กาหนดให้ในการตอบคาถาม การเคลื่อนไหวของมือ ข้อมือ (Wrist joint) ประกอบด้วยส่วนปลายของกระดูกปลายแขน คือ กระดูกเรเดียส และอัลน่าร์ กระดูกข้อมือ 8 ชิ้น เรียงกันเป็น 2 แถว ต่อกับกระดูกฝ่ามือ 5 ชิ้นการเคลื่อนไหว ของข้อมือผ่านการเคลื่อนไหวของกระดูกข้อมือแถวต้นและแถวปลาย กระดูกข้อมือและกระดูก เรเดียสและการหมุนของกระดูกเรเดียสไปบนกระดูกอัลน่าร์ ทาให้การเคลื่อนของมือทาได้ กว้างขวางมาก ช่วยให้กระดกข้อมือและงอข้อมือเป็นมุมได้ 145 องศา (extension flexion) เอียงมาทางนิ้วหัวแม่มือ – นิ้วก้อย 70 องศา คว่ามือและหงายมือ ผ่านกระดูกปลายแขนได้ 120 องศา แกนการเคลื่อนไหวของมืออยู่ที่หัวกระดูกแคปปิเตท (Head of Capitated) ซึ่งเป็น กระดูกข้อมือชิ้นใหญ่แถวล่างตรงกลางเป็นแนวเอียง ทาให้แนวการเคลื่อนไหวของมือจะเป็นการ ผสมกัน คือ กระดูกข้อมือร่วมกับเอียงมาทางนิ้วหัวแม่มือและงอข้อมือร่วมกับเอียงไปทางนิ้วก้อย ข้อนิ้วและข้อของฝ่ามือ มีความสาคัญมากในการจับอุปกรณ์ มีกล้ามเนื้อเล็กๆ อยู่เต็มฝ่ามือการ เคลื่อนไหวที่วิเศษมาก ซึ่งทาให้มนุษย์แตกต่างจากลิงชั้นต่าคือ หัวมือแยกออกเป็นแนวตั้งฉากกับ นิ้วทั้ง 4 ทาให้จับด้ามเครื่องมือกาได้แน่นมาก สามารถควบคุมกาลังการบีบมืออีกด้วย การดูแล รักษานิ้ว ข้อมือและแขน จึงต้องมีการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และหากต้องมีการปะทะ บริเวณข้อมีการป้องกัน เช่น การใส่ปลอกผ้ารัดข้อมือ ภาพจาก https://www.doctor.or.th/article/detail/5934 สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 เรื่องกิจกรรม STEM กับมือกล แบบทดสอบ หลังเรียน 29.เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล
  • 33. คาถามข้อที่ 1 ข้อใดสรุปถูกต้อง 1. ข้อมือสามารถเบนออกจากหัวแม่มือได้มากกว่า 60 องศา 2. ข้อมือเสี่ยงต่อการหักได้ง่ายเพราะกระดูกบริเวณข้อมือมีขนาดเล็กเรียงกัน 3. กระดูกข้อมือ 3 ชิ้นที่สาคัญมาเชื่อมกันทาให้สามารถเคลื่อนที่ได้หลายทิศทาง 4. การหมุนข้อมือเป็นการเคลื่อนไหวพิเศษที่อาศัยกระดูก 8 ชิ้นที่ข้อมือ โดยไม่อาศัย กระดูกแขน คะแนนเต็ม 2 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ตอบได้ถูก 2 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน คาถามข้อที่ 2 จงวงกลมล้อมรอบคาว่า “ถูกต้อง” หรือไม่ถูกต้อง” และให้เหตุผลใน การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล “ ถูกต้อง ”หรือ ไม่ถูกต้อง” 1. กระดูกท่อนแขนทาให้มือเคลื่อนไหวได้หลายทิศทาง ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง 2. กระดกข้อมือและงอข้อมือเป็นการเคลื่อนไหวแบบ แอนตาโกนิซึม ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง 3. การเล่นกีฬาหรือการออกกาลังกายจึงไม่ควรมีผ้ารัดข้อมือ เพราะจะทาให้เลือดหมุนเวียนไม่สะดวก ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง คะแนนเต็ม 3 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกข้อละ 1 คะแนน คาถามข้อที่ 3 หลังจากเล่นกีฬาเกิดอุบัติเหตุจนปวดข้อมือและข้อมือบวมอยู่หลายวัน การใช้น้ามันนวดและบีบนวด เป็นวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ถูกต้องหรือไม่ 1. ถูกต้อง 2. ไม่ถูกต้อง 3. ไม่แน่ใจ เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 30.
  • 34. เหตุผล 1. เพราะเอ็นจะยิ่งอักเสบมากขึ้น 2. เพราะช่วยทาให้กระดูกกลับเข้าที่ได้เร็วขึ้น 3. เพราะอาจมีกระดูกหักจะทาให้อาการปวดรุนแรงขึ้น 4. เพราะการนวดจะช่วยบรรเทาการบวมของกล้ามเนื้อ 5. เพราะอาการปวดควรใช้เวลาอย่างน้อย 7 วันในการสังเกต 6. เพราะอาจเป็นเพียงการบวมกล้ามเนื้อหลังจากเล่นกีฬาตามปกติ คะแนนเต็ม 6 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน เลือกคาตอบและเหตุผลถูกต้องได้ 3 คะแนน คาถามข้อที่ 4 นักเรียนจะมีวิธีการดูแลรักษาข้อมือและมืออย่างไรในก่อน ระหว่างและหลังการ เล่นกีฬาหรือทากิจกรรมที่ใช้ข้อมือหนักๆ เขียนคาตอบ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... คะแนนเต็ม 2 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน อธิบายวิธีการที่เหมาะสมและถูกต้องได้ 2 คะแนน ระบุหรือบอกวิธีการ ได้ 1 คะแนน เขียนไม่ถูกต้อง/วิธีการไม่เหมาะสม ไม่ได้คะแนน เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 31.
  • 35. คาถามข้อที่ 1 ข้อใดสรุปถูกต้อง 1. ข้อมือสามารถเบนออกจากหัวแม่มือได้มากกว่า 60 องศา 2. ข้อมือเสี่ยงต่อการหักได้ง่ายเพราะกระดูกบริเวณข้อมือมีขนาดเล็กเรียงกัน 3. กระดูกข้อมือ 3 ชิ้นที่สาคัญมาเชื่อมกันทาให้สามารถเคลื่อนที่ได้หลายทิศทาง 4. การหมุนข้อมือเป็นการเคลื่อนไหวพิเศษที่อาศัยกระดูก 8 ชิ้นที่ข้อมือ โดยไม่อาศัยกระดูกแขน คะแนนเต็ม 2 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ตอบได้ถูก 2 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน ข้อ 1 ผิด สามารถเบนได้ 45 องศา ข้อ 2 ถูก เพราะข้อมือมีจานวน 8 ชิ้น ช่วยในการเคลื่อนไหวที่คล่องตัวแต่ก็เสี่ยงต่อ การแตกหักที่ง่าย ข้อ 3 ผิด กระดูกแขน 2 ชิ้นที่เชื่อมกันและกระดูกข้อมือ 8 ชิ้น ข้อ 4 ผิด กระดูกข้อมือและกระดูกเรเดียสและการหมุนของกระดูกเรเดียสไปบน กระดูกอัลน่าร์ ทาให้การเคลื่อนของมือทาได้กว้างขวางมาก คาถามข้อที่ 2 จงวงกลมล้อมรอบคาว่า “ถูกต้อง” หรือไม่ถูกต้อง” และให้เหตุผลในการวิเคราะห์ ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล “ ถูกต้อง ”หรือ ไม่ถูกต้อง” 1. กระดูกท่อนแขนทาให้มือเคลื่อนไหวได้หลายทิศทาง ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง 2. กระดกข้อมือและงอข้อมือเป็นการเคลื่อนไหวแบบ แอนตาโกนิซึม ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง 3. การเล่นกีฬาหรือการออกกาลังกายจึงไม่ควรมีผ้ารัดข้อมือ เพราะจะทาให้เลือดหมุนเวียนไม่สะดวก ถูกต้อง/ไม่ถูกต้อง คะแนนเต็ม 3 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกข้อละ 1 คะแนน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 เรื่องกิจกรรม STEM กับมือกล เฉลย แบบทดสอบ เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 32.
  • 36. คาถามข้อที่ 3 หลังจากเล่นกีฬาเกิดอุบัติเหตุจนปวดข้อมือและข้อมือบวมอยู่หลายวัน การใช้น้ามันนวดและบีบนวด เป็นวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ถูกต้องหรือไม่ 1. ถูกต้อง 2. ไม่ถูกต้อง 3. ไม่แน่ใจ เหตุผล 1. เพราะเอ็นจะยิ่งอักเสบมากขึ้น 2. เพราะช่วยทาให้กระดูกกลับเข้าที่ได้เร็วขึ้น 3. เพราะอาจมีกระดูกหักจะทาให้อาการปวดรุนแรงขึ้น 4. เพราะการนวดจะช่วยบรรเทาการบวมของกล้ามเนื้อ 5. เพราะอาการปวดควรใช้เวลาอย่างน้อย 7 วันในการสังเกต 6. เพราะอาจเป็นเพียงการบวมกล้ามเนื้อหลังจากเล่นกีฬาตามปกติ คะแนนเต็ม 6 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน เลือกคาตอบและเหตุผลถูกต้องได้ 3 คะแนน เหตุผลที่ถูกต้องคือ 3. เพราะอาจมีกระดูกหักจะทาให้อาการปวดรุนแรงขึ้น คาถามข้อที่ 4 นักเรียนจะมีวิธีการดูแลรักษาข้อมือและมืออย่างไรในก่อน ระหว่างและหลังการ เล่นกีฬาหรือทากิจกรรมที่ใช้ข้อมือหนักๆ เขียนคาตอบ 1. ควรมีการบริหารข้อมือเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของนิ้ว ข้อมือ และกล้ามเนื้อส่วน ปลายแขน 2. หากเป็นกีฬาที่มีการปะทะควรพันข้อมือ ใส่ปลอกผ้า หรือผ้ารัดข้อเพื่อป้องกัน การบาดเจ็บ คะแนนเต็ม 2 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน อธิบายวิธีการที่เหมาะสมและถูกต้อง ได้ 2 คะแนน ระบุหรือบอกวิธีการ ได้ 1 คะแนน เขียนไม่ถูกต้อง/วิธีการไม่เหมาะสม ไม่ได้คะแนน เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 33.
  • 37. กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์, 2545. กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, 2551. กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, 2551. พิมพันธ์ เดชะคุปต์และคณะ. ชุดกิจกรรมพัฒนาความคิดเสริมสร้างสมรรถนะสาคัญและ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จากัด, 2558. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค, 2554. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค, 2554. โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ. ใบงานที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตชั้นต่า. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2559. http://km.nmrtup.ac.th/files/12051811112536455_12072220203827.pdf Reece, J. B., & Campbell, N. A. Campbell biology. (11th ed.). Boston: Benjamin Cummings Pearson, 2011. บรรณานุกรม เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 34.
  • 38. ภาคผนวก เล่มที่ 5 เรื่อง กิจกรรม STEM กับมือกล 35. YouTube กิจกรรมมือกลในห้องเรียน ครูกมลรัตน์ ฉิมพาลี https://www.youtube.com/watch?v=7hIEOlRn F7c&list=PLTEmdJNFmjRz_T5O- mGOzDfpzKzAgeA7I&index=3 ภาพการออกแบบมือกล การทดสอบความสามารถของมือกล การทดสอบความสามารถของมือกล ผลงานมือกลที่หลากหลาย