SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 96
Descargar para leer sin conexión
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทการทดลอง
เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
จัดทาโดย
เด็กหญิงธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล เลขที่ 27
เด็กหญิงปณิดา ปานประเสริฐ เลขที่ 32
เด็กหญิงวรัญญา บุญก่อเกื้อ เลขที่ 35
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
คุณครูที่ปรึกษา
คุณครูณัฏฐ์ชุดา ทองมณี
คุณครูจานงค์ ภู่ศรีสลับ
โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา Independent Study รหัสวิชา I22201 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทการทดลอง
เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
จัดทาโดย
เด็กหญิงธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล เลขที่ 27
เด็กหญิงปณิดา ปานประเสริฐ เลขที่ 32
เด็กหญิงวรัญญา บุญก่อเกื้อ เลขที่ 35
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
คุณครูที่ปรึกษา
คุณครูณัฏฐ์ชุดา ทองมณี
คุณครูจานงค์ ภู่ศรีสลับ
โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา Independent Study รหัสวิชา I22201 กลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ก
เกี่ยวกับโครงงาน
โครงงานวิทยาศาสตร์
เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
ผู้จัดทา 1. เด็กหญิงธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล เลขที่ 27
2. เด็กหญิงปณิดา ปานประเสริฐ เลขที่ 32
3. เด็กหญิงวรัญญา บุญก่อเกื้อ เลขที่ 35
ระดับชั้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5
คุณครูที่ปรึกษา 1. คุณครูณัฏฐ์ชุดา ทองมณี
2. คุณครูจานงค์ ภู่ศรีสลับ
สถานศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ปีการศึกษา 2559
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่อง ขยะหอมไล่แมลง สาเร็จลุล่วงได้เนื่องจากคณะผู้จัดทาได้รับความช่วยเหลือในการให้
คาปรึกษา คาแนะนา ความคิดเห็น และกาลังใจจากบุคคลหลายท่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
คุณครูณัฏฐ์ชุดา ทองมณี ที่ได้สละเวลา ให้คาปรึกษา ข้อชี้แนะ ข้อเสนอแนะ และความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์
ต่อการทาโครงงานฉบับนี้ในทุกขั้นตอน ซึ่งทาให้การทาโครงงานนี้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณ คุณครูจานงค์ ภู่ศรีสลับ ที่ได้สละเวลาให้คาปรึกษา แนะนาการทดลอง
และได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทาน้าหมักชีวภาพ นอกจากนี้ทางคณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณ คณาจารย์ทุกท่านที่
ได้ถ่ายทอดความรู้ในวิชาต่าง ๆ ซึ่งผู้เขียนได้นามาใช้ประโยชน์ในการจัดทาโครงงานในครั้งนี้ ขอขอบคุณพี่ ๆ
เพื่อน ๆ น้อง ๆ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สาหรับกาลังใจและความช่วยเหลือที่มีให้มาตลอด
ท้ายสุด คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณ บิดา มารดา และครอบครัว ที่ได้ช่วยเหลือ ให้การส่งเสริม
สนับสนุน และเป็นกาลังใจที่สาคัญยิ่ง ตลอดจนทาให้การทาโครงงานครั้งนี้ประสบผลสาเร็จตามที่ต้องการ
คณะผู้จัดทา
กันยายน 2559
ค
ชื่อโครงงาน : ขยะหอมไล่แมลง
ผู้จัดทา : 1. เด็กหญิงธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล เลขที่ 27
2. เด็กหญิงปณิดา ปานประเสริฐ เลขที่ 32
3. เด็กหญิงวรัญญา บุญก่อเกื้อ เลขที่ 35
คุณครูที่ปรึกษา : 1. คุณครูณัฏฐ์ชุดา ทองมณี
2. คุณครูจานงค์ ภู่ศรีสลับ
บทคัดย่อ
การทดลองในโครงงานเรื่อง ขยะหอมไล่แมลง นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการไล่แมลง
ของยาไล่แมลงเปรียบเทียบกับน้าหมักชีวภาพ
การศึกษาในครั้งนี้ จะทาการศึกษากับต้นผักบุ้งจีนเป็นระยะเวลา 30 วัน โดยบันทึกผลสังเกต และฉีด
พ่นยาไล่แมลง และน้าหมักชีวภาพในทุก ๆ 2 วัน
จากการศึกษาทดลอง พบว่า ยาไล่แมลงมีประสิทธิภาพในการไล่แมลงดีที่สุด แต่จะไม่ช่วยให้ผักบุ้งจีน
เจริญเติบโตได้ดีขึ้น สาหรับน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ดนั้น มีประสิทธิภาพในการไล่แมลงเทียบเท่ากับยา
ไล่แมลง และยังช่วยให้ผักบุ้งจีนเจริญเติบโตได้ดีอีกด้วย ส่วนน้าหมักชีวภาพจากผลไม้ช่วยให้ผักบุ้งจีน
เจริญเติบโตได้ดีที่สุด รองลงมาเป็นน้าหมักชีวภาพจากเศษผัก และผักบุ้งจีนที่ฉีดพ่นด้วยน้าเปล่านั้น มีแมลงมา
ทาลายผักบุ้งจีนมากที่สุด
จากผลการทดลอง จะสรุปได้ว่า น้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ดสามารถนามาใช้แทนยาไล่แมลงได้
นอกจากนี้ น้าหมักชีวภาพจากผลไม้ยังสามารถนามาใช้เป็นปุ๋ยเพื่อเร่งการเจริญเติบโตให้กับต้นพืชได้อีกด้วย
ง
สารบัญ
หน้า
เกี่ยวกับโครงงาน ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทคัดย่อ ค
สารบัญ ง
สารบัญภาพ ช
สารบัญตาราง ฌ
สารบัญแผนภูมิ ญ
บทที่ 1 บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญ 1
1.2 ปัญหาวิจัย 1
1.3 วัตถุประสงค์ 1
1.4 สมมติฐาน 2
1.5 ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า 2
1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ 3
1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 น้าหมักชีวภาพ 4
2.1.1 ชนิดของน้าหมักชีวภาพ 5
2.1.2 วิธีการทาและใช้น้าหมักชีวภาพ 8
2.2 ศัตรูพืช 8
2.2.1 แมลงศัตรูพืช 9
2.2.2 โรคพืช 11
2.3 การใช้สารเคมีควบคุมศัตรูพืช 14
2.4 อะบาเม็กติน 16
2.5 ผักบุ้งจีน 17
2.5.1 ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ 17
จ
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการศึกษา
3.1 เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการทาน้าหมักชีวภาพ 19
3.2 วัสดุในการทาน้าหมักชีวภาพ
3.2.1 สูตรที่ 1 น้าหมักชีวภาพจากผักที่รสเผ็ด 21
3.2.2 สูตรที่ 2 น้าหมักชีวภาพจากเศษผัก 23
3.2.3 สูตรที่ 3 น้าหมักชีวภาพจากผลไม้ 24
3.3 เครื่องมือ และวัสดุอุปกรณ์ในการปลูกผักบุ้ง 25
3.4 ขั้นตอนในการทาน้าหมักชีวภาพ 27
3.5 ขั้นตอนในการปลูกผักบุ้ง 34
3.6 ขั้นตอนในการทดสอบประสิทธิภาพของยาไล่แมลงและน้าหมักชีวภาพ 35
บทที่ 4 ผลการทดลอง
4.1 ตารางบันทึกผลการสังเกตต้นผักบุ้งจีน 36
4.2 รูปภาพต้นผักบุ้งจีน 46
4.3 ผลการสังเกตต้นผักบุ้งจีน
4.3.1 จานวนแมลงที่มาทาลายต้นผักบุ้งจีน 51
4.3.2 การเจริญเติบโตของต้นผักบุ้งจีน 51
บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง
5.1 สรุปผลการทดลอง
5.1.1 ประสิทธิภาพในการไล่แมลง 53
5.1.2 การเจริญเติบโตของต้นผักบุ้งจีน 53
5.1.3 ผลการทดสอบสมมติฐาน 54
5.2 การอภิปรายผล 55
5.3 ปัญหาและอุปสรรคในการทดลอง 56
5.4 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค 56
5.5 แนวทางการพัฒนา 57
บรรณานุกรม 58
ฉ
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก แบบสอบถาม 60
ภาคผนวก ข รูปภาพ 67
ประวัติผู้เขียน 88
ช
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 ถังน้าหมักชีวภาพจากวัสดุธรรมชาติ 4
2.2 สมุนไพรที่มีคุณสมบัติในการไล่แมลง 6
2.3 แมลงศัตรูพืชที่มักพบบ่อย 9
2.4 โรคพืชที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต 11
2.5 ลักษณะการใช้ยาไล่แมลงฉีดพ่นในพืชไร่ 14
2.6 กอผักบุ้งจีนหลังเก็บเกี่ยว 17
บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการศึกษา
3.1 ถังน้าจานวน 3 ถัง 19
3.2 ถังน้าขนาด 50 ลิตร 19
3.3 ยาไล่แมลง ตรา องุ่น สูตรอะบาเม็กติน 20
3.4 พริกชี้ฟ้าแดง 3 กก. ขิง 1 กก. และตะไคร้ 1 กก. 21
3.5 กากน้าตาลโมลาสแท้ 100% 22
3.6 สารเร่งไบโอนิค - 2 ตรา ไมโครไบโอเทค 22
3.7 เศษผักใบเขียว 6 กก. 23
3.8 ผลไม้ 3 กก. 24
3.9 เมล็ดพันธุ์ผักบุ้งจีน ตรา เจียไต๋ 25
3.10 กระถางปลูกขนาด 8 นิ้ว จานวน 10 กระถาง 25
3.11 ดินผสมขุยไผ่ ตรา น้องเบียร์ 91 26
3.12 บัวรดน้า 27
3.14 การหั่นเศษผักเพื่อนาไปทาน้าหมักชีวภาพ สูตรเศษผัก 28
3.15 การหั่นขิงเพื่อนาไปทาน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด 28
3.16 การละลายกากน้าตาลกับน้าเปล่าเพื่อให้ง่าย 29
ต่อการใช้ผสมกับเศษผัก
3.17 การแบ่งผสมเศษผักกับกากน้าตาล 29
3.18 การคลุกเคล้าส่วนผสมทั้งหมดในการทาน้าหมักชีวภาพจากเศษผัก 30
3.19 การคลุกเคล้าส่วนผสมทั้งหมดในการทาน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด 30
ซ
สารบัญภาพ (ต่อ)
หน้า
3.20 การคลุกเคล้าส่วนผสมทั้งหมดในการทาน้าหมักชีวภาพจากผลไม้ 31
3.21 น้าหมักชีวภาพจากเศษผักที่ผสมเสร็จแล้ว 32
3.22 น้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ดที่ผสมเสร็จแล้ว 32
3.23 น้าหมักชีวภาพจากผลไม้ที่ผสมเสร็จแล้ว 33
3.24 เมล็ดผักบุ้งจีน 34
3.25 หยอดเมล็ดผักบุ้งจีน หลุมละ 2 – 3 เมล็ด 34
3.26 กลบดินบาง ๆ 35
บทที่ 4 ผลการทดลอง
4.1 ผักบุ้งจีนในวันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน 2559 46
4.2 ผักบุ้งจีนในวันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน 2559 46
4.3 ผักบุ้งจีนในวันเสาร์ที่ 26 พฤศจิกายน 2559 47
4.4 ผักบุ้งจีนในวันพฤหัสบดีที่ 1 ธัยวาคม 2559 48
4.5 ผักบุ้งจีนในวันอังคารที่ 6 ธันวาคม 2559 48
4.6 ผักบุ้งจีนในวันอาทิตย์ที่ 11 ธันวาคม 2559 49
4.7 ผักบุ้งจีนในวันศุกร์ที่ 16 ธันวาคม 2559 50
4.8 ผักบุ้งจีนในวันจันทร์ที่ 19 ธันวาคม 2559 50
ฌ
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
บทที่ 4 ผลการทดลอง
4.1 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 36
ของน้าเปล่า กระถางที่ 1
4.2 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 37
ของน้าเปล่า กระถางที่ 2
4.3 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 38
ของยาไล่แมลง กระถางที่ 1
4.4 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 39
ของยาไล่แมลง กระถางที่ 2
4.5 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 40
ของน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด กระถางที่ 1
4.6 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 41
ของน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด กระถางที่ 2
4.7 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 42
ของน้าหมักชีวภาพจากผลไม้ กระถางที่ 1
4.8 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 43
ของน้าหมักชีวภาพจากผลไม้ กระถางที่ 2
4.9 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 44
ของน้าหมักชีวภาพจากเศษผัก กระถางที่ 1
4.10 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 45
ของน้าหมักชีวภาพจากเศษผักกระถางที่ 2
4.11 จานวนและร้อยละของแมลงที่มาทาลายต้นผักบุ้งจีน 51
4.12 จานวนและร้อยละของการเจริญเติบโตของต้นผักบุ้งจีน 52
บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง
5.1 เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการไล่แมลงของสารเคมีและ 54
น้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด
ญ
สารบัญแผนภูมิ
แผนภูมิที่ หน้า
บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง
5.1 เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการไล่แมลงของยาไล่แมลง 55
น้าหมักชีวภาพ และน้าเปล่า
5.2 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักบุ้งจีนที่ฉีดพ่นด้วยยาไล่แมลง 56
น้าหมักชีวภาพ และน้าเปล่า
1
บทที่ 1
บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญ
การปลูกพืชผักสวนครัว ไม่ว่าจะอยู่ในช่วงเวลาใดของปี หรือของการปลูกพืชนั้น ๆ จะมีปัญหาที่
เกิดขึ้นเสมอ ๆ คือ ต้นพืชมีความเสียหาย หรือบางครั้งพืชที่ปลูกก็ตาย ซึ่งความเสียหายของต้นพืชนั้น มี
แมลงและสัตว์เป็นสาเหตุหลัก ทาให้ส่วนประกอบของต้นพืชโดนกัดกินเป็นจานวนมาก เช่น ใบเป็นรู, ลา
ต้นและรากถูกชอนไช, ใบม้วนเหี่ยว, ลาต้นแคระเกร็น, พืชให้ผลผลิตต่า ไม่มีคุณภาพ เป็นต้น นอกจากนี้
แมลงและสัตว์บางชนิดก็เป็นสาเหตุที่ทาให้พืชเป็นโรค จนต้องถอนทิ้งไปบางต้น หรือต้องถอนทิ้งทั้งแปลง
ในที่นี้บางครั้งจาเป็นต้องเปลี่ยนชนิดพืชที่ปลูก หรือย้ายสถานที่ปลูกพืชใหม่
ในการใช้สารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการไล่แมลง แม้จะช่วยไล่แมลงได้จริงแต่ก็ทาให้เกิดปัญหาดิน
เสื่อมจนไม่สามารถปลูกพืชต่อ ๆ ไปได้อีก และยังทาให้เกษตรกรที่ใช้สารเคมีไล่แมลงเสี่ยงอันตรายในการ
เกิดปัญหาด้านสุขภาพ จากการสัมผัส สูดดมสารเคมีเป็นประจา ตลอดจนพืชผักที่จะนาไปบริโภคมีการ
ปนเปื้อนสารเคมีมากเกินไปจนอาจทาให้ผู้บริโภคเกิดปัญหาด้านสุขภาพได้เช่นกัน
ทางคณะผู้จัดทาจึงได้เลือกใช้น้าหมักชีวภาพแทนการใช้สารเคมี เนื่องจากคณะผู้จัดทาได้รับทราบ
ข้อมูลว่า น้าหมักชีวภาพสามารถนามาใช้ไล่แมลงได้เช่นเดียวกับการใช้สารเคมีไล่แมลงโดยที่ไม่ทาให้เกิด
อันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และวัสดุที่ใช้ทาน้าหมักก็เป็นวัสดุจากธรรมชาติ อีกทั้งน้าหมักชีวภาพในปริมาณ
เล็กน้อยก็สามารถใช้ได้กับพืชในจานวนมาก
1.2 ปัญหาวิจัย
1. น้าหมักชีวภาพมีประสิทธิภาพในการไล่แมลงเทียบเท่าการใช้สารเคมีหรือไม่
2. น้าหมักชีวภาพสูตรใดมีประสิทธิภาพในการไล่แมลงดีที่สุด
1.3 วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาทดลอง ประสิทธิภาพในการไล่แมลงของน้าหมักชีวภาพเปรียบเทียบกับการใช้สารเคมี
2. เพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของพืชที่ใช้สารเคมีและน้าหมักชีวภาพ
3. เพื่อหาแนวทางการลดการใช้สารเคมีในการไล่แมลง
1.4 สมมติฐาน
น้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ดน่าจะมีประสิทธิภาพในการไล่แมลงเทียบเท่ากับการใช้สารเคมีในการ
ไล่แมลง
2
1.5 ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า
1. ขอบเขตด้านประชากร
ผักบุ้งจีน ยี่ห้อ เจียไต๋ จานวน 10 กระถาง กระถางละ 10 ต้น ที่ปลูกบริเวณบ้านของเด็กหญิงธณัชช์
ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล ในหมู่บ้านโมเดิร์นซิตี้ ถนนราชชุมพล ค.2 ตาบลเนินพระ อาเภอเมือง จังหวัดระยอง
2. ขอบเขตด้านตัวแปร
ตัวแปรต้น คือ น้าหมักชีวภาพ
ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิภาพในการไล่แมลงของน้าหมักชีวภาพ
ตัวแปรควาบคุม คือ ชนิดผักบุ้ง, จานวนและขนาดผักบุ้ง, สภาพดิน, ระยะเวลาที่หมักน้าหมักชีวภาพ,
ความถี่ของการรดน้าหมักชีวภาพและใช้สารเคมี, ปริมาณน้าหมักชีวภาพที่ใช้, ความถี่ในการบันทึกผลการ
สังเกต, ระยะเวลาที่บันทึกผลการสังเกต, เวลาที่ฉีดพ่นน้าหมักชีวภาพและยาไล่แมลง
3. ขอบเขตด้านพื้นที่
3.1 น้าหมักชีวภาพทั้ง 3 สูตร หมักที่บริเวณบ้านของเด็กหญิงธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล ใน
ตาบลเนินพระ อาเภอเมือง จังหวัดระยอง
3.2 สถานที่ทาการทดลอง และทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลง คือ บริเวณบ้านของ
เด็กหญิงธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล ในตาบลเนินพระ อาเภอเมือง จังหวัดระยอง
4. ขอบเขตด้านเวลา
คณะผู้จัดทาใช้ระยะเวลาในการศึกษา ทดลอง ตั้งแต่กรกฎาคม 2559 – ธันวาคม 2559
5. ขอบเขตด้านงบประมาณ
คณะผู้จัดทาใช้งบประมาณในการทาโครงงานชิ้นนี้เป็นจานวนเงินทั้งสิ้น 1,000 บาท
1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ
1. ขยะหอม คือ ชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งของน้าหมักชีวภาพ
2. น้าหมักชีวภาพ คือ การหมักเศษซากพืช ซากสัตว์ หรือสารอินทรีย์ชนิดต่าง ๆ ที่หมักด้วยจุลินท
รียจาเพาะ และอาจหมักร่วมกับกากน้าตาล
3. ศัตรูพืช คือ ปัจจัยชีวภาพในการกสิกรรมที่ก่อความเสียหายต่อพืชปลูก และทาให้ศักยภาพของ
การกสิกรรมลดลง
4. สารเคมี คือ สารไล่แมลงที่ส่วนประกอบของอนินทรีย์สารเป็นหลัก
5. น้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด เป็นน้าหมักชีวภาพที่ประกอบด้วยส่วนผสมหลัก ดังนี้ พริกชี้ฟ้า
แดง, ขิง, ตะไคร้ และใบขี้เหล็ก
3
1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รู้สูตรต่าง ๆ เกี่ยวกับการทาน้าหมักชีวภาพ
2. ทาให้มีแนวทางลดการใช้สารเคมีในการไล่แมลง
4
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
น้าหมักชีวภาพ
ภาพที่ 2.1 ถังน้าหมักชีวภาพจากวัสดุธรรมชาติ
แหล่งที่มา : http://www.thaiarcheep.com/น้าหมักชีวภาพจากวัสดุธรรมชาติ/ (สืบค้นวันที่ 1 ตุลาคม 2559)
น้าหมักชีวภาพ คือ น้าหมักชีวภาพที่ได้จากการหมักเศษซากพืช ซากสัตว์ หรือสารอินทรีย์ชนิดต่าง ๆ ที่
หาได้ในท้องถิ่นด้วยจุลินทรีย์จาเพาะ ซึ่งอาจหมักร่วมกับกากน้าตาล
กระบวนการหมักของน้าหมักชีวภาพจะเกิดจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ด้วยจุลินทรีย์ โดยใช้
กากน้าตาล และน้าตาลจากสารอินทรีย์เป็นแหล่งพลังงาน แบ่งเป็น 2 แบบ คือ
1. การหมักแบบต้องการออกซิเจนเป็นการหมักด้วยจุลินทรีย์ชนิดที่ต้องการออกซิเจนสาหรับ
กระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ เพื่อสร้างเป็นพลังงาน และอาหารให้แก่เซลล์ การหมักชนิดนี้จะ
เกิดน้อยในกระบวนการหมักน้าหมักชีวภาพ และมักเกิดในช่วงแรกของการหมัก แต่เมื่อออกซิเจนใน
น้า และอากาศหมด จุลินทรีย์แบบใช้ออกซิเจนจะลดน้อยลง และหมดไปจนเหลือเฉพาะการหมัก
จากจุลินทรีย์แบบไม่ใช้ออกซิเจน
5
2. การหมักแบบไม่ต้องการออกซิเจน เป็นการหมักด้วยจุลินทรีย์ชนิดที่ไม่ต้องการออกซิเจนสาหรับ
กระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ เพื่อสร้างเป็นพลังงาน และอาหารให้แก่เซลล์ การหมักชนิดนี้จะ
เกิดเป็นส่วนใหญ่ในกระบวนการหมักน้าหมักชีวภาพผลิตภัณฑ์ที่ได้คือ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน
ส่วนพวกเมอเคปเทนและก๊าซซัลไฟด์จะปล่อยออกมาเล็กน้อย
ชนิดของน้าหมักชีวภาพ
น้าหมักชีวภาพแบ่งตามประเภทวัตถุดิบที่ใช้หมัก 3 ชนิด คือ
1. น้าหมักชีวภาพจากพืช แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
– ชนิดที่ใช้ผัก และเศษพืช เป็นน้าหมักที่ได้จากเศษพืช เศษผักจากแปลงเกษตรหลังการเก็บ และคัด
แยกผลผลิต น้าหมักที่ได้มีลักษณะเป็นน้าข้นสีน้าตาล มีกลิ่นหอม ประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรต
โปรตีน กรดอะมิโน กรดแลคติค และฮอร์โมนเอนไซม์
– ชนิดที่ใช้ขยะเปียก เป็นน้าหมักที่ได้จากขยะในครัวเรือน เช่น เศษอาหาร เศษผักผลไม้ น้าหมักที่
ได้ มีลักษณะข้นสีน้าตาลจางกว่าชนิดแรก และมีกลิ่นหอมน้อยกว่า บางครั้งอาจมีกลิ่นเหม็นบ้าง
เล็กน้อย ต้องใช้กากน้าตาลเป็นส่วนผสม
2. น้าหมักชีวภาพจากสัตว์ เป็นน้าหมักที่ได้จากเศษเนื้อต่าง ๆ เช่น เนื้อปลา เนื้อหอย เป็นต้น น้าหมักที่
ได้จะมีสีน้าตาลเข้ม มักมีกลิ่นเหม็นมากกว่าน้าหมักที่ได้จากวัตถุหมักอื่น ต้องใช้กากน้าตาลเป็น
ส่วนผสม
3. น้าหมักชีวภาพผสม เป็นน้าหมักที่ได้จาการหมักพืช และเนื้อสัตว์รวมกัน ส่วนมากมักเป็นแหล่งที่ได้
จากเศษอาหารในครัวเรือนเป็นหลัก
6
น้าหมักชีวภาพ 7 รส
ภาพที่ 2.2 สมุนไพรที่มีคุณสมบัติในการไล่แมลง
แหล่งที่มา : http://siammushroom.com/สมุนไรพไล่แมลง/ (สืบค้นวันที่ 1 ตุลาคม 2559)
น้าหมักชีวภาพ 7 รส เป็นการเลือกเอาสมุนไพรต่าง ๆ มาทาน้าหมักชีวภาพ เพื่อประโยชน์ทางการเกษตร
ซึ่งน้าหมักสมุนไพร 7 รสประกอบด้วย
1. น้าหมักชีวภาพสมุนไพรรสจืด ได้แก่ ใบตอง ผักบุ้ง รางจืด และสมุนไพรทุกชนิดที่มีรสจืดสรรพคุณ :
เป็นปุ๋ยบารุงดิน ให้ดินมีความร่วนซุย โปร่ง และทาให้ดินไม่แข็ง อีกทั้งยังสามารถนาไปบาบัดน้าเสีย
ได้อีกด้วย
7
2. น้าหมักชีวภาพสมุนไพรรสขม ได้แก่ ใบสะเดา บอระเพ็ด ใบขี้เหล็ก และพืชสมุนไพรที่มีรสขมทุก
ชนิด
สรรพคุณ : สร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ต้นพืช
3. น้าหมักชีวภาพสมุนไพรรสฝาด ได้แก่ เปลือกมังคุด ปลีกล้วย เปลือกฝรั่ง มะยมหวาน และสมุนไพร
ที่มีรสฝาดทุกชนิด
สรรพคุณ : ฆ่าเชื้อราในโรคพืช
4. น้าหมักชีวภาพสมุนไพรรสเบื่อเมา ได้แก่ หัวกลอย ใบเมล็ดสบู่ดา ใบน้อยหน่า และพืชสมุนไพรที่มี
รสเบื่อเมาทุกชนิด
สรรพคุณ : ฆ่าเพลี้ย หนอน และแมลงในพืชผักทุกชนิด
5. น้าหมักชีวภาพสมุนไพรรสเปรี้ยว ได้แก่ มะกรูด มะนาว กระเจี๊ยบ และพืชสมุนไพรที่มีรสเปรี้ยวทุก
ชนิด
สรรพคุณ : ไล่แมลงโดยเฉพาะ
6. น้าหมักชีวภาพสมุนไพรรสหอมระเหย ได้แก่ ตะไคร้หอม ใบกะเพรา ใบเตย และพืชสมุนไพรที่รส
หอมระเหยทุกชนิด
สรรพพคุณ : เปลี่ยนกลิ่นของต้นพืชเพื่อป้องกันแมลงเข้าไปกัดกิน
7. น้าหมักชีวภาพสมุนไพรรสเผ็ด ได้แก่ พริก ขิง ข่า และพืชสมุนไพรทุกชนิดที่มีรสเผ็ดทุกชนิด
สรรพคุณ : ไล่แมลง และทาให้แมลงแสบร้อน
8
การทาและวิธีการใช้น้าหมักชีวภาพ
ส่วนผสม เศษพืช ผลไม้ หรือเศษอาหาร 3 ส่วน : กากน้าตาล 1 ส่วน : สารเร่งพด.2 0.4 ส่วน : น้าอี
เอ็ม 0.4 ส่วน วิธีทา หั่นเศษพืช ผลไม้ หรือเศษอาหาร ให้มีขนาดเล็ก ๆ เพื่อให้การหมักมีประสิทธิภาพมากขึ้น
แล้วนาส่วนผสมทั้งหมดมาคลุกให้เข้ากัน ใส่ลงถังที่มีฝาปิดมิดชิด เว้นที่ว่างของถังไว้ 1 ใน 5 ของถัง หมักทิ้งไว้
ประมาณ 7 – 15 วัน หรืออาจประมาณ 1 เดือน ในที่ร่มและไม่ให้ถังหมักโดนแดด หมั่นเปิดเพื่อระบายอากาศ
ออกแล้วปิดฝาทันที
วิธีการนาน้าหมักชีวภาพไปใช้
พืชไร่
1. ช่วงการเจริญเติบโต
อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร : น้า 50 ลิตร
วิธีใช้: ฉีดพ่นบนต้นพืชทั้งระยะแตกกิ่ง แตกใบ ออกดอก และติดผล
2. การแช่ท่อนพันธุ์อ้อย และมันสาปะหลัง
อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 2 ลิตร : น้า 30 ลิตร
วิธีใช้: เจืองจางน้าหมักด้วยน้าในอัตรา พร้อมนาท่อนพันธุ์ แช่นาน 6-12 ชั่วโมง ก่อนปลูก
พืชผัก และไม้ดอก
อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร : น้า 50 ลิตร
วิธีใช้: เจือจางน้าหมัก และฉีดพ่นบนต้นพืชในทุกระยะ
ไม้ผล
อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร : น้า 50 ลิตร
วิธีใช้: เจือจางน้าหมัก และฉีดพ่นบนต้นพืชในทุกระยะ โดยเฉพาช่วงออกดอก และติดผล
ศัตรูพืช
ศัตรูพืช (pest) หมายถึง ปัจจัยชีวภาพในการกสิกรรมที่ก่อความเสียหายต่อพืชปลูก และทาให้
ศักยภาพของการกสิกรรมลดลง หรืออาจหมายถึงสิ่งมีชีวิตซึ่งทาให้ผลผลิตของพืชปลูกลดลง
9
แมลงศัตรูพืช
ภาพที่ 2.3 แมลงศัตรูพืชที่มักพบบ่อย
แหล่งที่มา : http://www.kasetcenter.com/article/topic-62504.html (สืบค้นวันที่ 1 ตุลาคม 2559)
แมลงศัตรูพืช หมายถึง สัตว์ที่มีลาตัวเป็นปล้อง ไม่มีกระดูกสันหลัง ลาตัวแบ่งออกเป็นสามส่วน คือ ส่วน
ศรีษะ อก และท้อง จัดอยู่ในชั้น Insecta ซึ่งสัตว์เหล่านี้ก่อความเสียหายแก่พืชเพาะปลูก การจาแนกชนิดของ
แมลงที่ถูกต้องจะแบ่งตามหลักการอนุกรมวิธานโดยนักกีฎวิทยา แต่ในที่นี้จะขอแบ่งชนิดของแมลงศัตรูพืชออก
ตามลักษณะของการทาลาย ดังนี้
1) แมลงจาพวกกัดกินใบ (leaf feeder) ได้แก่ หนอนผีเสื้อ ตั๊กแตน ด้วงปีกแข็ง แมลงพวกนี้มีปาก
แบบกัดกิน สามารถกัดกินใบทั้งหมด หรือกัดกินเฉพาะตัวใบแล้วเหลือเส้นใบไว้ ทาให้พืชขาดส่วนสังเคราะห์
แสง หรือขาดที่สะสมอาหาร หรือขาดยอดอ่อนสาหรับการเจริญเติบโตต่อไป
2) แมลงจาพวกดูดกินน้าเลี้ยง (juice sucker) ได้แก่ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยกระโดด เพลี้ยจั๊กจั่น และมวน
ต่าง ๆ แมลงจาพวกนี้มีปากแบบดูด สามารถแทงและดูดน้าเลี้ยงจากใบ ยอดอ่อน กิ่ง ลาต้น ดอก หรือ ผล ทา
ให้ส่วนต่าง ๆ ของพืชที่ถูกดูดกินน้าเลี้ยงมีรอยไหม้ ใบม้วนเหี่ยว ไม่เจริญเติบโต หรือแคระแกร็น และ
นอกจากนี้แมลงจาพวกนี้ยังเป็นสาเหตุสาคัญของการถ่ายทอดและแพร่กระจายโรคพืชที่มีเชื้อไวรัสเป็นสาเหตุ
อีกด้วย
3) แมลงจาพวกหนอนชอนใบ (leaf minor) ได้แก่ หนอนผีเสื้อ หนอนแมลงวันบางชนิด แมลง
จาพวกนี้มักมีขนาดเล็ก กัดกินเนื้อเยื่ออยู่ระหว่างผิวใบพืช ทาให้พืชขาดส่วนสังเคราะห์แสงหรือขาดส่วนสะสม
อาหาร
4) แมลงจาพวกหนอนเจาะลาต้น (stem borer) ได้แก่ หนอนด้วง หนอนผีเสื้อ และปลวก แมลง
จาพวกนี้มักวางไข่ตามใบหรือเปลือกไม้ เมื่อไข่ฟักออกเป็นตัวหนอนก็จะชอนไชเข้าไปอยู่ในกิ่ง ลาต้น หรือผล
ทาให้ต้นพืชขาดน้าและอาหารแล้วแห้งตายไป หรือทาให้ผลไม้เน่าหล่น เสียหาย
10
5) แมลงจาพวกกัดกินราก (root feeder) ได้แก่ ด้วงดีด จิ้งหรีด แมลงกระชอน ด้วงดิน ด้วงงวง
แมลงจาพวกนี้มีปากแบบกัดกิน มักมีชีวิตหรือวางไข่ตามพื้นดิน ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะเข้าทาลายรากพืช ทั้ง
ทาให้พืชยืนต้นแห้งตาย เนื่องจากขาดน้าและอาหาร
6) แมลงจาพวกที่ทาให้เกิดปุ่มปม (gall maker) ได้แก่ ต่อ แตน และเพลี้ย แมลงจาพวกนี้เมื่อกัดกิน
หรือดูดน้าเลี้ยงหรือวางไข่บนพืชแล้ว มักจะปลดปล่อยสารบางชนิดลงบนพืช ทาให้เกิดอาการปุ่มปมผิดปกติ
บนส่วนต่าง ๆ ของพืช เช่น ดอก ใบ ยอดอ่อน ราก และลาต้น
แมลงศัตรูพืชทั้ง 6 จาพวก ถ้าจัดแบ่งตามระยะเวลาการเข้าทาลายพืชปลูกแล้วแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
1) แมลงศัตรูพืชประเภทที่เข้าทาลายตั้งแต่ระยะปลูกจนถึงระยะเก็บเกี่ยว การทาลายของแมลงศัตรูพืช
ประเภทนี้เกิดโดยการกัดกินใบ ยอดอ่อน ตาดอก ดอก และลาต้น หรือการดูดกินน้าเลี้ยงของยอดอ่อน ตาดอก
และกิ่งอ่อน หรือการเจาะไชลาต้น หรือการเป็นพาหะที่ทาให้เกิดการระบาดหรือแพร่กระจายของโรคพืช ซึ่ง
การทาลายของแมลงประเภทนี้ ทาให้ศักยภาพการให้ผลผลิตของพืชปลูกลดลง
2) แมลงศัตรูพืชประเภททาลายผลผลิตในโรงเก็บเกี่ยว (stored insect pest) แมลงศัตรูประเภทนี้
อาจจะวางไข่บนดอกหรือผลของพืชปลูกขณะอยู่ในแปลง แล้วตัวแมลงไปเจริญเติบโตทาลายผลผลิตขณะที่อยู่
ในโรงเก็บ หรือหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตมาแล้ว เช่น ด้วงงวงข้าวสาร ด้วงถั่ว มอด แมลงวันผลไม้ หรืออาจจะ
เป็นพวกที่อาศัยอยู่ในโรงเก็บ เช่น แมลงสาบ มด เป็นต้น
11
โรคพืช
ภาพที่ 2.4 โรคพืชที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต
แหล่งที่มา : http://www.chawanpich.com/ (สืบค้นวันที่ 1 ตุลาคม 2559)
โรคพืช หมายถึง ลักษณะอาการของพืชที่ผิดไปจากปกติ ซึ่งอาจเกิดขึ้นบนส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นพืช
หรือตลอดทั้งต้น และรวมไปจนถึงการแห้งตายไปทั้งต้น สาเหตุที่ทาให้เกิดโรคพืชแบ่งได้ 2 สาเหตุคือ
1) เกิดจากสิ่งมีชีวิต (pathogenic disease) เช่น โรคพืชที่เกิดจากเชื้อไวรัส, เชื้อไมโคพลาสมา, เชื้อ
แบคทีเรีย, เชื้อรา, และไส้เดือนฝอย โรคพืชจะเกิดขึ้นและสามารถแพร่กระจายระบาดออกไปได้ถ้าหากมีเชื้อ
สาเหตุเหล่านี้ ตลอดจนมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเกิดและการแพร่กระจายของโรคพืชนั้น ๆ การ
แพร่กระจายของโรคพืชอาศัย น้า ฝน ความชื้น ลม ดิน หรือโดยการถ่ายทอดผ่านทางเมล็ดพันธุ์ ส่วน
ขยายพันธุ์ หรือโดยแมลง
ลักษณะอาการของโรคพืชซึ่งเกิดจากเชื้อสาเหตุที่แตกต่างกัน จะแตกต่างกันดังต่อไปนี้
1.1) ลักษณะอาการของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อไวรัส มักมีอาการโรคใบหด ใบหงิก ใบสีเหลืองส้ม ใบด่าง
เหลือง ใบม้วน
1.2) ลักษณะอาการของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อไมโคพลาสมา มักมีอาการโรคใบขาว ลาต้นแคระแกรน
แตกกอเป็นพุ่ม หรือใบเหลืองซีด กิ่งแห้งตาย ลาต้นทรุดโทรมและไม่ให้ผลผลิต
1.3) ลักษณะอาการของโรคพืชจากเชื้อแบคทีเรีย มีลักษณะอาการแตกต่างกัน 5 แบบ คือ
1.3.1) เหี่ยว (wilt) อาการเหี่ยวเฉา เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไปเจริญในท่อน้า ท่ออาหารของต้น
พืช ทาให้เกิดการอุดตันของท่อน้าและท่ออาหาร จึงเป็นเหตุให้พืชได้รับน้าและอาหารไม่เพียงพอ เกิดอาการ
เหี่ยวเฉา หรือเจริญเติบโตผิดปกติและจะตายไปในที่สุด
12
1.3.2) เน่าเละ (soft rot) อาการเน่าและมีกลิ่นเหม็น ทั้งนี้เพราะแบคทีเรียเข้าทาลายเซลล์พืช
และมีเชื้อจุลินทรีย์อื่น ๆ ร่วมเข้าทาลายซ้าเติม โรคพืชแบบนี้มักเกิดกับส่วนของพืชที่อวบน้า เช่น โรคเน่าเละ
ของพืชผัก มันฝรั่ง มะเขือเทศ แตงกวา กะหล่า พริก
1.3.3) แผลเป็นจุด (spot หรือ local lesion) อาการจุดแห้งตาย เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไป
เจริญอยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์หรือในเซลล์ ทาให้เซลล์บริเวณนั้นตายเป็นแผลแห้งมีขอบเขตจากัด เช่น โรค
ใบจุดของฝ้าย โรคใบจุดของถั่วเหลือง โรคขอบใบแห้งของข้าว โรคแคงเคอร์ของส้ม โรคใบจุดของยาสูบ
1.3.4) ไหม้ (blight) อาการใบไหม้ตาย เริ่มจากจุดเล็ก ๆ ก่อน แล้วแผ่ขยายไปเรื่อย ๆ โดยไม่มี
ขอบเขตจากัด เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไปเจริญอยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์ แต่ไม่ทาลายเนื้อเยื่อเซลล์
เพียงแต่ทาให้การเคลื่อนย้ายน้าและอาหารในพืชไม่สะดวก ทาให้ใบและลาต้นมีสีซีด (necrosis) และอาจแห้ง
ตายไปในที่สุด เช่น โรคใบไหม้ของถั่ว ยางพารา แอปเปิ้ล
1.3.5) ปุ่มปม (gall หรือ tumer) อาการเป็นปุ่มปมเกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไปเจริญอยู่ในเซลล์
พืช แล้วสร้างสารบางชนิดออกมากระตุ้นให้เซลล์บริเวณนั้นมีการแบ่งตัวมากขึ้น เช่น โรค crown gall ของ
มะเขือเทศ โรค gall ของหัวบีท
1.4) ลักษณะอาการของโรคพืชจากเชื้อรา ลักษณะอาการของโรคพืชจากเชื้อรามีมากหลายแบบ เช่น
ใบเป็นแผล ใบไหม้ ใบบิด ต้นเหี่ยว รากเน่า โคนต้นเน่า ผลเน่า เมล็ดเน่า ต้นกล้าเน่า หรือต้นแห้งตายไปทั้งต้น
ลักษณะอาการของโรคพืชจากเชื้อรามักจะสังเกตเห็นเส้นใย สปอร์ส่วนสืบพันธุ์ต่าง ๆ มีสีขาว หรือสีดา หรือสี
น้าตาล ปรากฏตามรอยแผลอาการของโรค หรือตรงส่วนที่เชื้อสาเหตุเข้าสู่ต้นพืช ตัวอย่างของโรคพืชที่เกิดจาก
เชื้อราได้แก่ โรคโคนเน่าคอดินของต้นกล้า โรครากและโคนต้นเน่า โรคราน้าค้าง โรคเน่าของผลไม้และผัก โรค
ราแป้งขาว โรคราสนิมเหล็ก โรคเขม่าดา โรคแส้ดาของอ้อย โรคไหม้ของข้าว โรคใบจุดของข้าวโพด โรคใบจุด
ตานกของยางพารา โรคแอนแทรคโนส โรคเหี่ยวของมะเขือเทศ
1.5) ลักษณะอาการของโรคพืชจากไส้เดือนฝอย มักทาให้เกิดโรครากปม รากขอด และลาต้นพืชเหี่ยว
เฉาตายไปในที่สุด
2) เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต (nonpathogenic disease) อาการของโรคพืชอาจเกิดจากสาเหตุ
เนื่องจากสิ่งไม่มีชีวิต เช่น การขาดธาตุอาหาร ธาตุอาหารเป็นพิษ ดินเป็นกรด ดินเค็มจัด ดินเป็นด่าง หรือพิษ
จากสารเคมีบางชนิด สาเหตุต่างๆ เหล่านี้ทาให้การเจริญเติบโตของต้นพืชผิดปกติ ลาต้นแคระแกร็น มีสีซีด
หรือสีผิดปกติ ไม่ให้ผลผลิต โรคพืชซึ่งมีสาเหตุเกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต จะเกิดเฉพาะบริเวณ ไม่สามารถ
แพร่กระจายหรือระบาดไปยังแหล่งอื่น ๆ ได้
13
การใช้สารเคมีควบคุมศัตรูพืช
ภาพที่ 2.5 ลักษณะการใช้ยาไล่แมลงฉีดพ่นในพืชไร่
แหล่งที่มา : http://www.atomic-oil.com/ประเภทของสารเคมีกาจัดแมลง/
วิธีการใช้สารเคมีควบคุมศัตรูพืช (chemical method) เป็นวิธีการใช้สารเคมีเพื่อกาจัด ทาลาย หรือ
ป้องกันศัตรูพืชโดยตรง วิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมเพราะสะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูง สามารถแก้ปัญหา
เฉพาะหน้าได้ดี แต่ก็เป็นวิธีการที่มีอันตรายต่อผู้ใช้ และต่อสิ่งแวดล้อมมากถ้าหากใช้อย่างไม่ถูกต้อง ใช้ผิดวิธี
หรือขาดความรู้ความเข้าใจในสารเคมีและวิธีการใช้ ตลอดจนการขาดความระมัดระวังในการใช้สารเคมี
นอกจากนี้ยังพบว่า แมลงศัตรูพืชหลายชนิดมีความสามารถปรับตัวให้ทนทานต่อสารเคมีบางชนิดได้อย่าง
รวดเร็ว สารเคมีกาจัดศัตรูพืชแบ่งออกตามลักษณะทางเคมีได้ 2 ประเภท คือ
1) สารเคมีพวกอนินทรีย์สาร (inorganic pesticide) ส่วนใหญ่เป็นสารประกอบเกลือของปรอท
ทองแดง กามะถัน สังกะสี และเหล็ก สารเคมีประเภทนี้บางชนิดมีพิษต่อมนุษย์และสัตว์รุนแรงมาก ปัจจุบันไม่
ค่อยนิยมใช้ และถูกห้ามใช้ในบางประเทศ โดยเฉพาะเกลือของปรอทและสังกะสี
2) สารเคมีพวกอินทรีย์สาร (organic pesticide) อาจเป็นสารเคมีที่สกัดจากพืช เช่น โล่ติ้น ไพรีทรัม
ยาสูบ สะเดา ตะไคร้หอม ข่า หรือเป็นสารที่สังเคราะห์ขึ้นมาโดยวิธีการทางเคมี
สารเคมีควบคุมศัตรูพืชเมื่อแบ่งตามชนิดของการใช้ควบคุมศัตรูพืชอาจแบ่งได้ 7 ประเภท คือ
ยาฆ่าแมลง, ยาโรคพืช หรือยาฆ่าเชื้อรา, ยาฆ่าหญ้า, ยาฆ่าไส้เดือนฝอย, ยาฆ่าหนู, ยาฆ่าหอยทาก และ
ยาฆ่าไรแดง
วิธีการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชขึ้นอยู่กับรูปแบบของสารผลิตภัณฑ์ ชนิดของศัตรูพืช และส่วนที่ถูกทาลาย
โดยสรุปสามารถจาแนกวิธีการใช้สารเคมีได้ 7 วิธี คือ
การพ่นยาน้า หรือสารละลายยา ,การพ่นผง, การรมหรือ, การพ่นหมอก, การโรยหรือหว่าน, การป้าย
ทา และ วิธีการจัดการแบบผสมผสาน ซึ่งเป็นการนาเอาวิธีการต่างๆ ข้างต้นมาใช้ร่วมกัน มีการวางแผนที่ดี
เพื่อให้การควบคุมกาจัดศัตรูพืชมีประสิทธิภาพสูง ลงทุนต่า และไม่เป็นผลเสียต่อสภาพแวดล้อม
14
อะบาเม็กติน
อะบาเม็กติน (Abamectin) หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อการค้าเอ.จี.บา, ไดเมทิน, แอ็กโกรติน, อบามา,
เจ๊คเก็ต เป็นต้น อะบาเม็กตินเป็นสารกาจัดแมลง (Insecticide) ที่เกิดจากกระบวนการหมักแบคทีเรียที่อาศัย
อยู่ในดินชื่อ Streptimyces avermitilis สารที่สกัดได้คือ avermectin B1a และavermectin B1b
ผลิตภัณฑ์อะบาเม็กตินส่วนใหญ่มีความเป็นพิษต่าต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จากการทดลองในสัตว์ทดลอง
สารพิษทาให้เกิดการระคายเคือง ต่อตาและผิวหนังเล็กน้อยและจะเกิดอาการขยายของรูม่านตา อาเจียน
กล้ามเนื้อหดเกร็ง ตัวสั่นและหมดสติได้
ในแมลงอะบาเม็กตินจะออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทรวมถึงเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ เป้าหมายการออก
ฤทธิ์เจาะจงต่อตาแหน่งไซแนป (syna) ในสมองและยับยั้งการนาเลือดไปเลี้ยงสมอง ทาให้แมลงตายในที่สุด
ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม หากใช้สารพิษในปริมาณมาก เมื่อเข้าสู่กระแสเลือดที่นาเลือดไปเลี้ยงสมองจะ
เป็นสาเหตุของอาการ CNS depressing เช่น การทางานของอวัยวะไม่ประสานกัน การสั่นของร่างกาย ความ
เฉื่อยชา การขยายของรูม่านตาและทาให้เสียชีวิตเนื่องจากระบบหัวใจล้มเหลว
อะบาเม็กตินไม่ซึมผ่านเข้าสู่ผิวหนังโดยตรง การซึมซับของอะบาเม็กตินจากผิวหนังเข้าสู่กระแสเลือดน้อยกว่า
1% จึงไม่ทาให้ผิวหนังแสดงอาการในลักษณะของภูมิแพ้
คุณสมบัติอีกประการของอะบาเม็กตินคือละลายน้าได้ดี และยึดเกาะกับอนุภาคของดิน ฉะนั้นจึงไม่มี
การเคลื่อนย้ายจากดินไปปนเปื้อนในน้า นอกจากนี้ยังสลายตัวเร็วเมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อม มีรายงานว่าเมื่อผิว
ดินกระทบแสงแดด อะบาเม็กตินจะสลายตัวภายใน 8 - 12 ชั่วโมง หรือภายใน 1 วัน สาหรับในพืชนั้นอะบา
เม็กตินจะลดปริมาณลงเหลือครึ่งหนึ่ง คือ ทุกๆ 4 - 6 ชั่วโมง จึงนับเป็นสารที่ปลอดภัยสูงสาหรับผู้ใช้และ
สิ่งแวดล้อม
ในด้านประสิทธิภาพการป้องกันกาจัดแมลงศัตรูพืชนั้น ทางกองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตรได้
แนะนาให้ใช้อะบาเม็กตินในการป้องกันกาจัดหนอนชอนใบมะนาว, เพลี้ยไฟพริก, ไรแดงมะม่วง,ไรสองจุด,
หนอนใยผัก, หนอนแมลงวันชอนใบกะหล่า, ไรขาวพริก,เพลี้ยไฟฝ้าย และหนอนเจาะดอกมะลิ โดยใช้ได้ใน
อัตรา 5 – 10 ซีซี ต่อน้าจานวน 20 ลิตร
15
ผักบุ้งจีน
ภาพที่ 2.6 กอผักบุ้งจีนหลังเก็บเกี่ยว
แหล่งที่มา : http://herbsbotany.blogspot.com/2014/10/blog-post_41.html (สืบค้นวันที่ 1 ตุลาคม 2559)
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Ipomoea aquatica Forsk. Var. reptan
ชื่อสามัญ : ผักบุ้งจีน
ชื่อภาษาอังกฤษ : water convolvulus, kang-kong
วงศ์ : ผักบุ้ง (Convolvulaceae)
ผักบุ้งจีนเป็นพืชที่พบทั่วไปในเขตร้อน และเป็นผักที่คนไทยนิยมนามาประกอบอาหารเช่นเดียวกับผักบุ้ง
ไทย ผักบุ้งจีนมีใบสีเขียว ก้านใบมีสีเหลืองหรือขาว ก้านดอกและดอกมีสีขาว โดยทั่วไปแล้วผักบุ้งจีนจะนิยม
นามาประกอบอาหารมากกว่าผักบุ้งไทย จึงมีการปลูกอย่างแพร่หลายในประเทศไทย สาหรับเกษตรกรปลูก
เพื่อนาลาต้นไปขาย และบริษัทปลูกเพื่อพัฒนาและขายเมล็ดพันธุ์ ตลาดที่สาคัญในการส่งออกผักบุ้งจีน คือ
ฮ่องกง มาเลเซีย และสิงคโปร์
ลักษณะทางพฤกศาสตร์
ผักบุ้งจีนมีชื่อเรียกที่หลากหลาย ชาวตะวันตกเรียกผักบุ้งจีนว่า water convolvulus และ kang-kong
ขึ้นอยู่กับบุคคล ถิ่นกาเนิดของผักบุ้งจีนอยู่ในเขตร้อน พบได้ทั่วไปในทวีปแอฟริกา เขตร้อนในทวีปเอเชีย และ
ในทวีปออสเตรเลีย รากของผักบุ้งจีนเป็นรากแก้ว และมีรากแขนงแตกออกล้อมรอบรากแก้ว เมล็ดพันธุ์มีสี
น้าตาลลักษณะสามเหลี่ยมฐานมน ความกว้างโดยเฉลี่ย 0.4 เซนติเมตร และยาว 0.5 เซนติเมตร ใบมีลักษณะ
16
เป็นใบเดี่ยว ขอบใบเรียบ รูปใบคล้ายหอกเรียวยาว โคนใบมีลักษณะเป็นรูปหัวใจ ใบมีความยาวประมาณ 7-
15 เซนติเมตร และก้านใบยาว 3-8 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกสมบูรณ์มีลักษณะเป็นช่อดอก ดอกตรงกลาง 1
ดอกและดอกทางด้านข้างอีก 2 ดอก ดอกเป็นรูปกรวยต่างจากผักบุ้งไทยที่เป็นรูปแตร แต่ด้านนอกของดอกมีสี
ม่วงและด้านในเป็นสีขาวเหมือนกัน การขยายพันธุ์นิยมใช้เมล็ดพันธุ์มากกว่าวิธีการอื่น
19
บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีดาเนินการศึกษา
เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์
เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทาน้าหมักชีวภาพ
1. ถังดา มีฝาปิด ขนาด 50 ลิตร จานวน 3 ใบ
ภาพที่ 3.1 ถังน้าจานวน 3 ถัง ภาพที่ 3.2 ถังน้าขนาด 50 ลิตร
2. มีด
3. ตาชั่งสปริง
4. กะละมัง
5. ไม้คน
6. ถุงมือ
20
7. ยาไล่แมลง
ภาพที่ 3.3 ยาไล่แมลง ตรา องุ่น สูตรอะบาเม็กติน
วัสดุในการทาน้าหมักชีวภาพ
- สูตรที่ 1 (น้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด)
1. พริกชี้ฟ้าแดง 3 กิโลกรัม
2. ขิง, ตะไคร้, ใบขี้เหล็ก อย่างละ 1กิโลกรัม
ภาพที่ 3.4 พริกชี้ฟ้าแดง 3 กก. ขิง 1 กก. และตะไคร้ 1 กก.
21
3. น้าอีเอ็ม จานวน 40 มิลลิลิตร
4. กากน้าตาล จานวน 3 กิโลกรัม
ภาพที่ 3.5 กากน้าตาลโมลาสแท้ 100 %
5. สารเร่ง จานวน 40 กรัม
ภาพที่ 3.6 สารเร่งไบโอนิค-2 ตรา ไมโครไบโอเทค
22
- สูตรที่ 2 (น้าหมักชีวภาพจากเศษผัก)
1. เศษผักใบเขียว จานวน 6 กิโลกรัม
ภาพที่ 3.7 เศษผักใบเขียว 6 กก.
2. กากน้าตาล จานวน 3 กิโลกรัม
3. สารเร่ง จานวน 40 กรัม
4. น้าอีเอ็ม จานวน 40 มิลลิลิตร
23
- สูตรที่ 3 (น้าหมักชีวภาพจากผลไม้)
1. ผลไม้ (รวมเปลือกและผล) 3 กิโลกรัม
ภาพที่ 3.8 ผลไม้ 3 กก.
2. กากน้าตาล จานวน 2 กิโลกรัม
3. สารเร่ง จานวน 20 กรัม
4. น้าอีเอ็ม จานวน 20 มิลลิลิตร
24
เครื่อมือ วัสดุ อุปกรณ์ ในการปลูกผักบุ้ง
1. เมล็ดพันธุ์ผักบุ้ง จานวน 1 ถุง
ภาพที่ 3.9 เมล็ดพันธุ์ผักบุ้งจีน ตรา เจียไต๋
2. กระถางปลูก ขนาด 8 นิ้ว จานวน 10 กระถาง
ภาพที่ 3.10 เมล็ดพันธุ์ผักบุ้งจีน ตรา เจียไต๋
25
3. ดินผสมขุยไผ่ จานวน 1 กระสอบ
ภาพที่ 3.11 ดินผสมขุยไผ่ ตรา น้องเบียร์ 91
4. บัวรดน้า
ภาพที่ 3.12 บัวรดน้า
26
ขั้นตอนในการทดลอง /วิธีการทา
-ขั้นตอนในการทาน้าหมักชีวภาพ
1. เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการทาน้าหมักชีวภาพ
2. หั่นผักที่เตรียมมา เป็นชิ้นเล็กๆ
ภาพที่ 3.13 การหั่นผลไม้เพื่อนาไปทาน้า หมักชีวภาพ สูตรผลไม้
ภาพที่ 3.14 การหั่นเศษผักเพื่อนาไปทาน้าหมักชีวภาพ สูตร เศษผัก
27
ภาพที่ 3.15 การหั่นขิงเพื่อนาไปทาน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด
3. นาข้อที่ 2 มาผสมคลุกเคล้ากับกากน้าตาลในกะละมังก่อน โดยแบ่งผสมคลุกเคล้าทีละนิด ซึ่งอาจจะนา
น้าเปล่าผสมกับกากน้าตาลก่อนเพื่อให้ละลายง่ายไม่เหนียวหนืดจนเกินไป
ภาพที่ 3.16 การละลายกากน้าตาลกับ น้าเปล่าเพื่อให้ง่ายต่อการใช้ผสมกับเศษผัก
28
ภาพที่ 3.17 การแบ่งผสมเศษผักกับกากน้าตาล
4. ใส่สารเร่งและอีเอ็มลงไป จากนั้นคลุกเคล้าให้ทั่ว
ภาพที่ 3.18 การคลุกเคล้าส่วนผสมทั้งหมดในการทาน้าหมักชีวภาพจากเศษผัก
29
ภาพที่ 3.19 การคลุกเคล้าส่วนผสมทั้งหมดในการทาน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด
ภาพที่ 3.20 การคลุกเคล้าส่วนผสมทั้งหมดในการทาน้าหมักชีวภาพจากผลไม้
30
5. นาส่วนผสมทั้งหมดใส่ในถังดา แล้วปิดฝาให้สนิท เก็บไว้ในที่ร่ม ห้ามโดนแสงแดด และหมั่นเปิดฝาระบาย
อากาศออกเป็นประจา
ภาพที่ 3.21 น้าหมักชีวภาพจากเศษผักที่ผสมเสร็จแล้ว
ภาพที่ 3.22 น้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ดที่ผสมเสร็จแล้ว
31
ภาพที่ 3.23 น้าหมักชีวภาพจากผลไม้ที่ผสมเสร็จแล้ว
6. หมักไว้ประมาณ 1 เดือนแล้วนาน้าหมักในถังมากรอง เพื่อเอาแต่น้าใส ๆ แล้วนาน้าหมักชีวภาพนั้นไปใช้
*ทาตามขั้นตอนเหล่านี้ในน้าหมักชีวภาพทั้ง 3 สูตร
32
ขั้นตอนการปลูกผักบุ้งจีน
1. เตรียมอุปกรณ์ในการปลูกผักบุ้งจีน
2. เทดินใส่กระถางประมาณ 3 ใน 4 ของกระถาง
3. กดหลุมตื้น ๆ ประมาณ 5 หลุม หยอดเมล็ดผักบุ้งจีน หลุมละ 2 – 3 เมล็ด
ภาพที่ 3.24 เมล็ดผักบุ้งจีน
ภาพที่ 3.25 หยอดเมล็ดผักบุ้งจีน หลุมละ 2 – 3 เมล็ด
33
4. กลบดินอีกชั้นบาง ๆ จากนั้นรดน้าให้ชุ่ม
ภาพที่ 3.26 กลบดินบาง ๆ
5. รดน้าต้นผักบุ้งจีนด้วยน้าเปล่าทุก ๆ วัน วันละ 2 ครั้ง คือ เวลา 10:00 น. และเวลา 17:00 น.
6. เมื่อแทงยอดอ่อนขึ้นแล้วจึงเริ่มฉีดพ่นน้าหมักชีวภาพและยาไล่แมลง
ขั้นตอนในการทาการทดลองเพื่อทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลง
1. นาน้าหมักชีวภาพแต่ละสูตรผสมกับน้าเปล่าในอัตราส่วนของน้าเปล่าต่อน้าหมักชีวภาพ 50: 1
2. รดน้าเปล่าที่ต้นผักบุ้งจีน
3. ฉีดพ่นที่ต้นผักบุ้งจีนด้วยน้าหมักชีวภาพที่เจือจางแล้วฉีดพ่นน้าหมักชีวภาพสูตรละ 2 กระถาง
สารเคมี 2 กระถาง และน้าเปล่าอย่างเดียวอีก 2 กระถาง
4. ฉีดพ่นน้าหมักชีวภาพและสารเคมี ในทุก ๆ 2 วัน คอยสังเกตและบันทึกผล นับจากวันที่เริ่มฉีดพ่นทุก ๆ 2
วัน เป็นเวาลา 30 วัน รวมทั้งหมด 15 ครั้ง
36
บทที่ 4
ผลการทดลอง
จากการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงของน้าหมักชีวภาพและยาไล่แมลงในการจัดทาโครงงาน
ครั้งนี้ ผู้จัดทาได้สังเกตและบันทึกผลการทดลองจากต้นผักบุ้งจีนจานวน 10 กระถางที่ฉีดพ่นด้วย น้าเปล่าเพียง
อย่างเดียว, ยาไล่แมลง, น้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด, น้าหมักชีวภาพจากเศษผัก และน้าหมักชีวภาพจาก
ผลไม้ โดยทาการสังเกตและบันทึกผลในทุก ๆ 2 วัน จานวน 15 ครั้ง (ระยะเวลา 30 วัน)
4.1 ตารางบันทึกผลการสังเกตต้นผักบุ้งจีน
ตารางที่ 4.1 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าเปล่า กระถางที่ 1
ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าเปล่า กระถางที่ 1
ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ
1. 21 พฤศจิกายน 2559 1 1 มีฝนตก
2. 23 พฤศจิกายน 2559 3 2 มีฝนตก
3. 25 พฤศจิกายน 2559 2 3 มีฝนตก
4. 27 พฤศจิกายน 2559 4 4 มีฝนตก
5. 29 พฤศจิกายน 2559 1 4
6. 1 ธันวาคม 2559 5 4
7. 3 ธันวาคม 2559 2 5
8. 5 ธันวาคม 2559 3 6
9. 7 ธันวาคม 2559 5 6
10. 9 ธันวาคม 2559 4 6
11. 11 ธันวาคม 2559 3 7
12. 13 ธันวาคม 2559 1 8
13. 15 ธันวาคม 2559 6 8
14. 17 ธันวาคม 2559 2 9
15. 19 ธันวาคม 2559 4 9
รวม 46 9
37
ตารางที่ 4.2 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าเปล่า กระถางที่ 2
ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าเปล่า กระถางที่ 2
ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ
1. 21 พฤศจิกายน 2559 2 0 มีฝนตก
2. 23 พฤศจิกายน 2559 4 1 มีฝนตก
3. 25 พฤศจิกายน 2559 1 1 มีฝนตก
4. 27 พฤศจิกายน 2559 3 2 มีฝนตก
5. 29 พฤศจิกายน 2559 0 2
6. 1 ธันวาคม 2559 4 3
7. 3 ธันวาคม 2559 1 3
8. 5 ธันวาคม 2559 2 3
9. 7 ธันวาคม 2559 5 3
10. 9 ธันวาคม 2559 3 4
11. 11 ธันวาคม 2559 3 4
12. 13 ธันวาคม 2559 2 4
13. 15 ธันวาคม 2559 4 5
14. 17 ธันวาคม 2559 6 5
15. 19 ธันวาคม 2559 3 5
รวม 43 5
38
ตารางที่ 4.3 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของยาไล่แมลง กระถางที่ 1
ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของยาไล่แมลง กระถางที่ 1
ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ
1. 21 พฤศจิกายน 2559 2 0 มีฝนตก
2. 23 พฤศจิกายน 2559 1 1 มีฝนตก
3. 25 พฤศจิกายน 2559 3 2 มีฝนตก
4. 27 พฤศจิกายน 2559 2 3 มีฝนตก
5. 29 พฤศจิกายน 2559 0 3
6. 1 ธันวาคม 2559 1 4
7. 3 ธันวาคม 2559 2 5
8. 5 ธันวาคม 2559 2 5
9. 7 ธันวาคม 2559 0 6
10. 9 ธันวาคม 2559 1 7
11. 11 ธันวาคม 2559 1 8
12. 13 ธันวาคม 2559 0 8
13. 15 ธันวาคม 2559 0 8
14. 17 ธันวาคม 2559 0 9
15. 19 ธันวาคม 2559 0 9
รวม 15 9
39
ตารางที่ 4.4 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของยาไล่แมลง กระถางที่ 2
ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของยาไล่แมลง กระถางที่ 2
ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ
1. 21 พฤศจิกายน 2559 1 0 มีฝนตก
2. 23 พฤศจิกายน 2559 3 0 มีฝนตก
3. 25 พฤศจิกายน 2559 2 1 มีฝนตก
4. 27 พฤศจิกายน 2559 0 2 มีฝนตก
5. 29 พฤศจิกายน 2559 1 2
6. 1 ธันวาคม 2559 2 3
7. 3 ธันวาคม 2559 0 3
8. 5 ธันวาคม 2559 0 4
9. 7 ธันวาคม 2559 1 5
10. 9 ธันวาคม 2559 1 6
11. 11 ธันวาคม 2559 0 7
12. 13 ธันวาคม 2559 0 7
13. 15 ธันวาคม 2559 0 8
14. 17 ธันวาคม 2559 0 8
15. 19 ธันวาคม 2559 0 9
รวม 16 9
40
ตารางที่ 4.5 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด
กระถางที่ 1
ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน
ของน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด กระถางที่ 1
ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ
1. 21 พฤศจิกายน 2559 2 1 มีฝนตก
2. 23 พฤศจิกายน 2559 1 2 มีฝนตก
3. 25 พฤศจิกายน 2559 3 3 มีฝนตก
4. 27 พฤศจิกายน 2559 1 3 มีฝนตก
5. 29 พฤศจิกายน 2559 0 4
6. 1 ธันวาคม 2559 1 5
7. 3 ธันวาคม 2559 1 6
8. 5 ธันวาคม 2559 2 6
9. 7 ธันวาคม 2559 1 7
10. 9 ธันวาคม 2559 2 8
11. 11 ธันวาคม 2559 0 9
12. 13 ธันวาคม 2559 1 9
13. 15 ธันวาคม 2559 0 10
14. 17 ธันวาคม 2559 0 10
15. 19 ธันวาคม 2559 0 11
รวม 15 11
41
ตารางที่ 4.6 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด
กระถางที่ 2
ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน
ของน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด กระถางที่ 2
ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ
1. 21 พฤศจิกายน 2559 4 2 มีฝนตก
2. 23 พฤศจิกายน 2559 2 2 มีฝนตก
3. 25 พฤศจิกายน 2559 1 3 มีฝนตก
4. 27 พฤศจิกายน 2559 0 4 มีฝนตก
5. 29 พฤศจิกายน 2559 1 5
6. 1 ธันวาคม 2559 3 6
7. 3 ธันวาคม 2559 1 6
8. 5 ธันวาคม 2559 1 7
9. 7 ธันวาคม 2559 2 8
10. 9 ธันวาคม 2559 0 9
11. 11 ธันวาคม 2559 0 9
12. 13 ธันวาคม 2559 1 10
13. 15 ธันวาคม 2559 0 11
14. 17 ธันวาคม 2559 0 12
15. 19 ธันวาคม 2559 0 13
รวม 16 13
42
ตารางที่ 4.7 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าหมักชีวภาพจากผลไม้ กระถางที่ 1
ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน
ของน้าหมักชีวภาพจากผลไม้ กระถางที่ 1
ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ
1. 21 พฤศจิกายน 2559 3 3 มีฝนตก
2. 23 พฤศจิกายน 2559 2 4 มีฝนตก
3. 25 พฤศจิกายน 2559 4 4 มีฝนตก
4. 27 พฤศจิกายน 2559 3 4 มีฝนตก
5. 29 พฤศจิกายน 2559 2 5
6. 1 ธันวาคม 2559 2 5
7. 3 ธันวาคม 2559 3 6
8. 5 ธันวาคม 2559 1 7
9. 7 ธันวาคม 2559 2 8
10. 9 ธันวาคม 2559 0 9
11. 11 ธันวาคม 2559 0 10
12. 13 ธันวาคม 2559 1 11
13. 15 ธันวาคม 2559 0 12
14. 17 ธันวาคม 2559 2 13
15. 19 ธันวาคม 2559 1 14
รวม 26 14
43
ตารางที่ 4.8 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าหมักชีวภาพจากผลไม้ กระถางที่ 2
ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน
ของน้าหมักชีวภาพจากผลไม้ กระถางที่ 2
ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ
1. 21 พฤศจิกายน 2559 2 2 มีฝนตก
2. 23 พฤศจิกายน 2559 1 2 มีฝนตก
3. 25 พฤศจิกายน 2559 3 3 มีฝนตก
4. 27 พฤศจิกายน 2559 1 3 มีฝนตก
5. 29 พฤศจิกายน 2559 0 4
6. 1 ธันวาคม 2559 3 5
7. 3 ธันวาคม 2559 2 6
8. 5 ธันวาคม 2559 0 8
9. 7 ธันวาคม 2559 1 9
10. 9 ธันวาคม 2559 1 10
11. 11 ธันวาคม 2559 2 11
12. 13 ธันวาคม 2559 3 12
13. 15 ธันวาคม 2559 0 13
14. 17 ธันวาคม 2559 1 14
15. 19 ธันวาคม 2559 0 15
รวม 20 15
44
ตารางที่ 4.9 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าหมักชีวภาพจากเศษผัก กระถางที่ 1
ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน
ของน้าหมักชีวภาพจากเศษผัก กระถางที่ 1
ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ
1. 21 พฤศจิกายน 2559 3 1 มีฝนตก
2. 23 พฤศจิกายน 2559 2 1 มีฝนตก
3. 25 พฤศจิกายน 2559 4 2 มีฝนตก
4. 27 พฤศจิกายน 2559 1 2 มีฝนตก
5. 29 พฤศจิกายน 2559 0 3
6. 1 ธันวาคม 2559 2 4
7. 3 ธันวาคม 2559 4 5
8. 5 ธันวาคม 2559 3 7
9. 7 ธันวาคม 2559 0 8
10. 9 ธันวาคม 2559 1 8
11. 11 ธันวาคม 2559 2 9
12. 13 ธันวาคม 2559 0 10
13. 15 ธันวาคม 2559 3 11
14. 17 ธันวาคม 2559 2 11
15. 19 ธันวาคม 2559 1 12
รวม 28 12
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
kessara61977
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
pink2543
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
พัน พัน
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
พัน พัน
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
Kanistha Chudchum
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
Bangk Thitisak
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
Nick Nook
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
พัน พัน
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
amixdouble
 

La actualidad más candente (20)

โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 

Similar a โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง

M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
Wichai Likitponrak
 
รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5
Tewit Chotchang
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
Wichai Likitponrak
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
duckbellonly
 

Similar a โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง (20)

M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
 
รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
341 pre2
341 pre2 341 pre2
341 pre2
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22
Herbarium 334 Group 1 No.16,17,19,21,22
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
Mango 341-2563
Mango 341-2563Mango 341-2563
Mango 341-2563
 
PCM IS สมุนไพรไล่ยุง
PCM IS สมุนไพรไล่ยุงPCM IS สมุนไพรไล่ยุง
PCM IS สมุนไพรไล่ยุง
 
Random 140310050606-phpapp01
Random 140310050606-phpapp01Random 140310050606-phpapp01
Random 140310050606-phpapp01
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
 
Frog embryo development
Frog embryo developmentFrog embryo development
Frog embryo development
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
โครงงานคอมเรื่อง กล้วยบวชชี
โครงงานคอมเรื่อง กล้วยบวชชีโครงงานคอมเรื่อง กล้วยบวชชี
โครงงานคอมเรื่อง กล้วยบวชชี
 

Más de ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล

Más de ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล (8)

แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
 
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
 
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวางโครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLโครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
 

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง

  • 1. โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทการทดลอง เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง จัดทาโดย เด็กหญิงธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล เลขที่ 27 เด็กหญิงปณิดา ปานประเสริฐ เลขที่ 32 เด็กหญิงวรัญญา บุญก่อเกื้อ เลขที่ 35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คุณครูที่ปรึกษา คุณครูณัฏฐ์ชุดา ทองมณี คุณครูจานงค์ ภู่ศรีสลับ โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา Independent Study รหัสวิชา I22201 กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  • 2. โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทการทดลอง เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง จัดทาโดย เด็กหญิงธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล เลขที่ 27 เด็กหญิงปณิดา ปานประเสริฐ เลขที่ 32 เด็กหญิงวรัญญา บุญก่อเกื้อ เลขที่ 35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คุณครูที่ปรึกษา คุณครูณัฏฐ์ชุดา ทองมณี คุณครูจานงค์ ภู่ศรีสลับ โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา Independent Study รหัสวิชา I22201 กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  • 3. ก เกี่ยวกับโครงงาน โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ผู้จัดทา 1. เด็กหญิงธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล เลขที่ 27 2. เด็กหญิงปณิดา ปานประเสริฐ เลขที่ 32 3. เด็กหญิงวรัญญา บุญก่อเกื้อ เลขที่ 35 ระดับชั้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 คุณครูที่ปรึกษา 1. คุณครูณัฏฐ์ชุดา ทองมณี 2. คุณครูจานงค์ ภู่ศรีสลับ สถานศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปีการศึกษา 2559
  • 4. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง ขยะหอมไล่แมลง สาเร็จลุล่วงได้เนื่องจากคณะผู้จัดทาได้รับความช่วยเหลือในการให้ คาปรึกษา คาแนะนา ความคิดเห็น และกาลังใจจากบุคคลหลายท่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คุณครูณัฏฐ์ชุดา ทองมณี ที่ได้สละเวลา ให้คาปรึกษา ข้อชี้แนะ ข้อเสนอแนะ และความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ ต่อการทาโครงงานฉบับนี้ในทุกขั้นตอน ซึ่งทาให้การทาโครงงานนี้มีประสิทธิภาพมากขึ้น คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณ คุณครูจานงค์ ภู่ศรีสลับ ที่ได้สละเวลาให้คาปรึกษา แนะนาการทดลอง และได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทาน้าหมักชีวภาพ นอกจากนี้ทางคณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณ คณาจารย์ทุกท่านที่ ได้ถ่ายทอดความรู้ในวิชาต่าง ๆ ซึ่งผู้เขียนได้นามาใช้ประโยชน์ในการจัดทาโครงงานในครั้งนี้ ขอขอบคุณพี่ ๆ เพื่อน ๆ น้อง ๆ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สาหรับกาลังใจและความช่วยเหลือที่มีให้มาตลอด ท้ายสุด คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณ บิดา มารดา และครอบครัว ที่ได้ช่วยเหลือ ให้การส่งเสริม สนับสนุน และเป็นกาลังใจที่สาคัญยิ่ง ตลอดจนทาให้การทาโครงงานครั้งนี้ประสบผลสาเร็จตามที่ต้องการ คณะผู้จัดทา กันยายน 2559
  • 5. ค ชื่อโครงงาน : ขยะหอมไล่แมลง ผู้จัดทา : 1. เด็กหญิงธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล เลขที่ 27 2. เด็กหญิงปณิดา ปานประเสริฐ เลขที่ 32 3. เด็กหญิงวรัญญา บุญก่อเกื้อ เลขที่ 35 คุณครูที่ปรึกษา : 1. คุณครูณัฏฐ์ชุดา ทองมณี 2. คุณครูจานงค์ ภู่ศรีสลับ บทคัดย่อ การทดลองในโครงงานเรื่อง ขยะหอมไล่แมลง นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการไล่แมลง ของยาไล่แมลงเปรียบเทียบกับน้าหมักชีวภาพ การศึกษาในครั้งนี้ จะทาการศึกษากับต้นผักบุ้งจีนเป็นระยะเวลา 30 วัน โดยบันทึกผลสังเกต และฉีด พ่นยาไล่แมลง และน้าหมักชีวภาพในทุก ๆ 2 วัน จากการศึกษาทดลอง พบว่า ยาไล่แมลงมีประสิทธิภาพในการไล่แมลงดีที่สุด แต่จะไม่ช่วยให้ผักบุ้งจีน เจริญเติบโตได้ดีขึ้น สาหรับน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ดนั้น มีประสิทธิภาพในการไล่แมลงเทียบเท่ากับยา ไล่แมลง และยังช่วยให้ผักบุ้งจีนเจริญเติบโตได้ดีอีกด้วย ส่วนน้าหมักชีวภาพจากผลไม้ช่วยให้ผักบุ้งจีน เจริญเติบโตได้ดีที่สุด รองลงมาเป็นน้าหมักชีวภาพจากเศษผัก และผักบุ้งจีนที่ฉีดพ่นด้วยน้าเปล่านั้น มีแมลงมา ทาลายผักบุ้งจีนมากที่สุด จากผลการทดลอง จะสรุปได้ว่า น้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ดสามารถนามาใช้แทนยาไล่แมลงได้ นอกจากนี้ น้าหมักชีวภาพจากผลไม้ยังสามารถนามาใช้เป็นปุ๋ยเพื่อเร่งการเจริญเติบโตให้กับต้นพืชได้อีกด้วย
  • 6. ง สารบัญ หน้า เกี่ยวกับโครงงาน ก กิตติกรรมประกาศ ข บทคัดย่อ ค สารบัญ ง สารบัญภาพ ช สารบัญตาราง ฌ สารบัญแผนภูมิ ญ บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญ 1 1.2 ปัญหาวิจัย 1 1.3 วัตถุประสงค์ 1 1.4 สมมติฐาน 2 1.5 ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า 2 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ 3 1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 น้าหมักชีวภาพ 4 2.1.1 ชนิดของน้าหมักชีวภาพ 5 2.1.2 วิธีการทาและใช้น้าหมักชีวภาพ 8 2.2 ศัตรูพืช 8 2.2.1 แมลงศัตรูพืช 9 2.2.2 โรคพืช 11 2.3 การใช้สารเคมีควบคุมศัตรูพืช 14 2.4 อะบาเม็กติน 16 2.5 ผักบุ้งจีน 17 2.5.1 ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ 17
  • 7. จ สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการศึกษา 3.1 เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการทาน้าหมักชีวภาพ 19 3.2 วัสดุในการทาน้าหมักชีวภาพ 3.2.1 สูตรที่ 1 น้าหมักชีวภาพจากผักที่รสเผ็ด 21 3.2.2 สูตรที่ 2 น้าหมักชีวภาพจากเศษผัก 23 3.2.3 สูตรที่ 3 น้าหมักชีวภาพจากผลไม้ 24 3.3 เครื่องมือ และวัสดุอุปกรณ์ในการปลูกผักบุ้ง 25 3.4 ขั้นตอนในการทาน้าหมักชีวภาพ 27 3.5 ขั้นตอนในการปลูกผักบุ้ง 34 3.6 ขั้นตอนในการทดสอบประสิทธิภาพของยาไล่แมลงและน้าหมักชีวภาพ 35 บทที่ 4 ผลการทดลอง 4.1 ตารางบันทึกผลการสังเกตต้นผักบุ้งจีน 36 4.2 รูปภาพต้นผักบุ้งจีน 46 4.3 ผลการสังเกตต้นผักบุ้งจีน 4.3.1 จานวนแมลงที่มาทาลายต้นผักบุ้งจีน 51 4.3.2 การเจริญเติบโตของต้นผักบุ้งจีน 51 บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง 5.1 สรุปผลการทดลอง 5.1.1 ประสิทธิภาพในการไล่แมลง 53 5.1.2 การเจริญเติบโตของต้นผักบุ้งจีน 53 5.1.3 ผลการทดสอบสมมติฐาน 54 5.2 การอภิปรายผล 55 5.3 ปัญหาและอุปสรรคในการทดลอง 56 5.4 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค 56 5.5 แนวทางการพัฒนา 57 บรรณานุกรม 58
  • 8. ฉ สารบัญ (ต่อ) หน้า ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถาม 60 ภาคผนวก ข รูปภาพ 67 ประวัติผู้เขียน 88
  • 9. ช สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 ถังน้าหมักชีวภาพจากวัสดุธรรมชาติ 4 2.2 สมุนไพรที่มีคุณสมบัติในการไล่แมลง 6 2.3 แมลงศัตรูพืชที่มักพบบ่อย 9 2.4 โรคพืชที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต 11 2.5 ลักษณะการใช้ยาไล่แมลงฉีดพ่นในพืชไร่ 14 2.6 กอผักบุ้งจีนหลังเก็บเกี่ยว 17 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการศึกษา 3.1 ถังน้าจานวน 3 ถัง 19 3.2 ถังน้าขนาด 50 ลิตร 19 3.3 ยาไล่แมลง ตรา องุ่น สูตรอะบาเม็กติน 20 3.4 พริกชี้ฟ้าแดง 3 กก. ขิง 1 กก. และตะไคร้ 1 กก. 21 3.5 กากน้าตาลโมลาสแท้ 100% 22 3.6 สารเร่งไบโอนิค - 2 ตรา ไมโครไบโอเทค 22 3.7 เศษผักใบเขียว 6 กก. 23 3.8 ผลไม้ 3 กก. 24 3.9 เมล็ดพันธุ์ผักบุ้งจีน ตรา เจียไต๋ 25 3.10 กระถางปลูกขนาด 8 นิ้ว จานวน 10 กระถาง 25 3.11 ดินผสมขุยไผ่ ตรา น้องเบียร์ 91 26 3.12 บัวรดน้า 27 3.14 การหั่นเศษผักเพื่อนาไปทาน้าหมักชีวภาพ สูตรเศษผัก 28 3.15 การหั่นขิงเพื่อนาไปทาน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด 28 3.16 การละลายกากน้าตาลกับน้าเปล่าเพื่อให้ง่าย 29 ต่อการใช้ผสมกับเศษผัก 3.17 การแบ่งผสมเศษผักกับกากน้าตาล 29 3.18 การคลุกเคล้าส่วนผสมทั้งหมดในการทาน้าหมักชีวภาพจากเศษผัก 30 3.19 การคลุกเคล้าส่วนผสมทั้งหมดในการทาน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด 30
  • 10. ซ สารบัญภาพ (ต่อ) หน้า 3.20 การคลุกเคล้าส่วนผสมทั้งหมดในการทาน้าหมักชีวภาพจากผลไม้ 31 3.21 น้าหมักชีวภาพจากเศษผักที่ผสมเสร็จแล้ว 32 3.22 น้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ดที่ผสมเสร็จแล้ว 32 3.23 น้าหมักชีวภาพจากผลไม้ที่ผสมเสร็จแล้ว 33 3.24 เมล็ดผักบุ้งจีน 34 3.25 หยอดเมล็ดผักบุ้งจีน หลุมละ 2 – 3 เมล็ด 34 3.26 กลบดินบาง ๆ 35 บทที่ 4 ผลการทดลอง 4.1 ผักบุ้งจีนในวันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน 2559 46 4.2 ผักบุ้งจีนในวันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน 2559 46 4.3 ผักบุ้งจีนในวันเสาร์ที่ 26 พฤศจิกายน 2559 47 4.4 ผักบุ้งจีนในวันพฤหัสบดีที่ 1 ธัยวาคม 2559 48 4.5 ผักบุ้งจีนในวันอังคารที่ 6 ธันวาคม 2559 48 4.6 ผักบุ้งจีนในวันอาทิตย์ที่ 11 ธันวาคม 2559 49 4.7 ผักบุ้งจีนในวันศุกร์ที่ 16 ธันวาคม 2559 50 4.8 ผักบุ้งจีนในวันจันทร์ที่ 19 ธันวาคม 2559 50
  • 11. ฌ สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า บทที่ 4 ผลการทดลอง 4.1 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 36 ของน้าเปล่า กระถางที่ 1 4.2 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 37 ของน้าเปล่า กระถางที่ 2 4.3 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 38 ของยาไล่แมลง กระถางที่ 1 4.4 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 39 ของยาไล่แมลง กระถางที่ 2 4.5 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 40 ของน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด กระถางที่ 1 4.6 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 41 ของน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด กระถางที่ 2 4.7 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 42 ของน้าหมักชีวภาพจากผลไม้ กระถางที่ 1 4.8 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 43 ของน้าหมักชีวภาพจากผลไม้ กระถางที่ 2 4.9 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 44 ของน้าหมักชีวภาพจากเศษผัก กระถางที่ 1 4.10 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน 45 ของน้าหมักชีวภาพจากเศษผักกระถางที่ 2 4.11 จานวนและร้อยละของแมลงที่มาทาลายต้นผักบุ้งจีน 51 4.12 จานวนและร้อยละของการเจริญเติบโตของต้นผักบุ้งจีน 52 บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง 5.1 เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการไล่แมลงของสารเคมีและ 54 น้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด
  • 12. ญ สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ หน้า บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง 5.1 เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการไล่แมลงของยาไล่แมลง 55 น้าหมักชีวภาพ และน้าเปล่า 5.2 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักบุ้งจีนที่ฉีดพ่นด้วยยาไล่แมลง 56 น้าหมักชีวภาพ และน้าเปล่า
  • 13. 1 บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญ การปลูกพืชผักสวนครัว ไม่ว่าจะอยู่ในช่วงเวลาใดของปี หรือของการปลูกพืชนั้น ๆ จะมีปัญหาที่ เกิดขึ้นเสมอ ๆ คือ ต้นพืชมีความเสียหาย หรือบางครั้งพืชที่ปลูกก็ตาย ซึ่งความเสียหายของต้นพืชนั้น มี แมลงและสัตว์เป็นสาเหตุหลัก ทาให้ส่วนประกอบของต้นพืชโดนกัดกินเป็นจานวนมาก เช่น ใบเป็นรู, ลา ต้นและรากถูกชอนไช, ใบม้วนเหี่ยว, ลาต้นแคระเกร็น, พืชให้ผลผลิตต่า ไม่มีคุณภาพ เป็นต้น นอกจากนี้ แมลงและสัตว์บางชนิดก็เป็นสาเหตุที่ทาให้พืชเป็นโรค จนต้องถอนทิ้งไปบางต้น หรือต้องถอนทิ้งทั้งแปลง ในที่นี้บางครั้งจาเป็นต้องเปลี่ยนชนิดพืชที่ปลูก หรือย้ายสถานที่ปลูกพืชใหม่ ในการใช้สารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการไล่แมลง แม้จะช่วยไล่แมลงได้จริงแต่ก็ทาให้เกิดปัญหาดิน เสื่อมจนไม่สามารถปลูกพืชต่อ ๆ ไปได้อีก และยังทาให้เกษตรกรที่ใช้สารเคมีไล่แมลงเสี่ยงอันตรายในการ เกิดปัญหาด้านสุขภาพ จากการสัมผัส สูดดมสารเคมีเป็นประจา ตลอดจนพืชผักที่จะนาไปบริโภคมีการ ปนเปื้อนสารเคมีมากเกินไปจนอาจทาให้ผู้บริโภคเกิดปัญหาด้านสุขภาพได้เช่นกัน ทางคณะผู้จัดทาจึงได้เลือกใช้น้าหมักชีวภาพแทนการใช้สารเคมี เนื่องจากคณะผู้จัดทาได้รับทราบ ข้อมูลว่า น้าหมักชีวภาพสามารถนามาใช้ไล่แมลงได้เช่นเดียวกับการใช้สารเคมีไล่แมลงโดยที่ไม่ทาให้เกิด อันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และวัสดุที่ใช้ทาน้าหมักก็เป็นวัสดุจากธรรมชาติ อีกทั้งน้าหมักชีวภาพในปริมาณ เล็กน้อยก็สามารถใช้ได้กับพืชในจานวนมาก 1.2 ปัญหาวิจัย 1. น้าหมักชีวภาพมีประสิทธิภาพในการไล่แมลงเทียบเท่าการใช้สารเคมีหรือไม่ 2. น้าหมักชีวภาพสูตรใดมีประสิทธิภาพในการไล่แมลงดีที่สุด 1.3 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาทดลอง ประสิทธิภาพในการไล่แมลงของน้าหมักชีวภาพเปรียบเทียบกับการใช้สารเคมี 2. เพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของพืชที่ใช้สารเคมีและน้าหมักชีวภาพ 3. เพื่อหาแนวทางการลดการใช้สารเคมีในการไล่แมลง 1.4 สมมติฐาน น้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ดน่าจะมีประสิทธิภาพในการไล่แมลงเทียบเท่ากับการใช้สารเคมีในการ ไล่แมลง
  • 14. 2 1.5 ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า 1. ขอบเขตด้านประชากร ผักบุ้งจีน ยี่ห้อ เจียไต๋ จานวน 10 กระถาง กระถางละ 10 ต้น ที่ปลูกบริเวณบ้านของเด็กหญิงธณัชช์ ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล ในหมู่บ้านโมเดิร์นซิตี้ ถนนราชชุมพล ค.2 ตาบลเนินพระ อาเภอเมือง จังหวัดระยอง 2. ขอบเขตด้านตัวแปร ตัวแปรต้น คือ น้าหมักชีวภาพ ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิภาพในการไล่แมลงของน้าหมักชีวภาพ ตัวแปรควาบคุม คือ ชนิดผักบุ้ง, จานวนและขนาดผักบุ้ง, สภาพดิน, ระยะเวลาที่หมักน้าหมักชีวภาพ, ความถี่ของการรดน้าหมักชีวภาพและใช้สารเคมี, ปริมาณน้าหมักชีวภาพที่ใช้, ความถี่ในการบันทึกผลการ สังเกต, ระยะเวลาที่บันทึกผลการสังเกต, เวลาที่ฉีดพ่นน้าหมักชีวภาพและยาไล่แมลง 3. ขอบเขตด้านพื้นที่ 3.1 น้าหมักชีวภาพทั้ง 3 สูตร หมักที่บริเวณบ้านของเด็กหญิงธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล ใน ตาบลเนินพระ อาเภอเมือง จังหวัดระยอง 3.2 สถานที่ทาการทดลอง และทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลง คือ บริเวณบ้านของ เด็กหญิงธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล ในตาบลเนินพระ อาเภอเมือง จังหวัดระยอง 4. ขอบเขตด้านเวลา คณะผู้จัดทาใช้ระยะเวลาในการศึกษา ทดลอง ตั้งแต่กรกฎาคม 2559 – ธันวาคม 2559 5. ขอบเขตด้านงบประมาณ คณะผู้จัดทาใช้งบประมาณในการทาโครงงานชิ้นนี้เป็นจานวนเงินทั้งสิ้น 1,000 บาท 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ 1. ขยะหอม คือ ชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งของน้าหมักชีวภาพ 2. น้าหมักชีวภาพ คือ การหมักเศษซากพืช ซากสัตว์ หรือสารอินทรีย์ชนิดต่าง ๆ ที่หมักด้วยจุลินท รียจาเพาะ และอาจหมักร่วมกับกากน้าตาล 3. ศัตรูพืช คือ ปัจจัยชีวภาพในการกสิกรรมที่ก่อความเสียหายต่อพืชปลูก และทาให้ศักยภาพของ การกสิกรรมลดลง 4. สารเคมี คือ สารไล่แมลงที่ส่วนประกอบของอนินทรีย์สารเป็นหลัก 5. น้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด เป็นน้าหมักชีวภาพที่ประกอบด้วยส่วนผสมหลัก ดังนี้ พริกชี้ฟ้า แดง, ขิง, ตะไคร้ และใบขี้เหล็ก
  • 15. 3 1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รู้สูตรต่าง ๆ เกี่ยวกับการทาน้าหมักชีวภาพ 2. ทาให้มีแนวทางลดการใช้สารเคมีในการไล่แมลง
  • 16. 4 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง น้าหมักชีวภาพ ภาพที่ 2.1 ถังน้าหมักชีวภาพจากวัสดุธรรมชาติ แหล่งที่มา : http://www.thaiarcheep.com/น้าหมักชีวภาพจากวัสดุธรรมชาติ/ (สืบค้นวันที่ 1 ตุลาคม 2559) น้าหมักชีวภาพ คือ น้าหมักชีวภาพที่ได้จากการหมักเศษซากพืช ซากสัตว์ หรือสารอินทรีย์ชนิดต่าง ๆ ที่ หาได้ในท้องถิ่นด้วยจุลินทรีย์จาเพาะ ซึ่งอาจหมักร่วมกับกากน้าตาล กระบวนการหมักของน้าหมักชีวภาพจะเกิดจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ด้วยจุลินทรีย์ โดยใช้ กากน้าตาล และน้าตาลจากสารอินทรีย์เป็นแหล่งพลังงาน แบ่งเป็น 2 แบบ คือ 1. การหมักแบบต้องการออกซิเจนเป็นการหมักด้วยจุลินทรีย์ชนิดที่ต้องการออกซิเจนสาหรับ กระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ เพื่อสร้างเป็นพลังงาน และอาหารให้แก่เซลล์ การหมักชนิดนี้จะ เกิดน้อยในกระบวนการหมักน้าหมักชีวภาพ และมักเกิดในช่วงแรกของการหมัก แต่เมื่อออกซิเจนใน น้า และอากาศหมด จุลินทรีย์แบบใช้ออกซิเจนจะลดน้อยลง และหมดไปจนเหลือเฉพาะการหมัก จากจุลินทรีย์แบบไม่ใช้ออกซิเจน
  • 17. 5 2. การหมักแบบไม่ต้องการออกซิเจน เป็นการหมักด้วยจุลินทรีย์ชนิดที่ไม่ต้องการออกซิเจนสาหรับ กระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ เพื่อสร้างเป็นพลังงาน และอาหารให้แก่เซลล์ การหมักชนิดนี้จะ เกิดเป็นส่วนใหญ่ในกระบวนการหมักน้าหมักชีวภาพผลิตภัณฑ์ที่ได้คือ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ส่วนพวกเมอเคปเทนและก๊าซซัลไฟด์จะปล่อยออกมาเล็กน้อย ชนิดของน้าหมักชีวภาพ น้าหมักชีวภาพแบ่งตามประเภทวัตถุดิบที่ใช้หมัก 3 ชนิด คือ 1. น้าหมักชีวภาพจากพืช แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ – ชนิดที่ใช้ผัก และเศษพืช เป็นน้าหมักที่ได้จากเศษพืช เศษผักจากแปลงเกษตรหลังการเก็บ และคัด แยกผลผลิต น้าหมักที่ได้มีลักษณะเป็นน้าข้นสีน้าตาล มีกลิ่นหอม ประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรต โปรตีน กรดอะมิโน กรดแลคติค และฮอร์โมนเอนไซม์ – ชนิดที่ใช้ขยะเปียก เป็นน้าหมักที่ได้จากขยะในครัวเรือน เช่น เศษอาหาร เศษผักผลไม้ น้าหมักที่ ได้ มีลักษณะข้นสีน้าตาลจางกว่าชนิดแรก และมีกลิ่นหอมน้อยกว่า บางครั้งอาจมีกลิ่นเหม็นบ้าง เล็กน้อย ต้องใช้กากน้าตาลเป็นส่วนผสม 2. น้าหมักชีวภาพจากสัตว์ เป็นน้าหมักที่ได้จากเศษเนื้อต่าง ๆ เช่น เนื้อปลา เนื้อหอย เป็นต้น น้าหมักที่ ได้จะมีสีน้าตาลเข้ม มักมีกลิ่นเหม็นมากกว่าน้าหมักที่ได้จากวัตถุหมักอื่น ต้องใช้กากน้าตาลเป็น ส่วนผสม 3. น้าหมักชีวภาพผสม เป็นน้าหมักที่ได้จาการหมักพืช และเนื้อสัตว์รวมกัน ส่วนมากมักเป็นแหล่งที่ได้ จากเศษอาหารในครัวเรือนเป็นหลัก
  • 18. 6 น้าหมักชีวภาพ 7 รส ภาพที่ 2.2 สมุนไพรที่มีคุณสมบัติในการไล่แมลง แหล่งที่มา : http://siammushroom.com/สมุนไรพไล่แมลง/ (สืบค้นวันที่ 1 ตุลาคม 2559) น้าหมักชีวภาพ 7 รส เป็นการเลือกเอาสมุนไพรต่าง ๆ มาทาน้าหมักชีวภาพ เพื่อประโยชน์ทางการเกษตร ซึ่งน้าหมักสมุนไพร 7 รสประกอบด้วย 1. น้าหมักชีวภาพสมุนไพรรสจืด ได้แก่ ใบตอง ผักบุ้ง รางจืด และสมุนไพรทุกชนิดที่มีรสจืดสรรพคุณ : เป็นปุ๋ยบารุงดิน ให้ดินมีความร่วนซุย โปร่ง และทาให้ดินไม่แข็ง อีกทั้งยังสามารถนาไปบาบัดน้าเสีย ได้อีกด้วย
  • 19. 7 2. น้าหมักชีวภาพสมุนไพรรสขม ได้แก่ ใบสะเดา บอระเพ็ด ใบขี้เหล็ก และพืชสมุนไพรที่มีรสขมทุก ชนิด สรรพคุณ : สร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ต้นพืช 3. น้าหมักชีวภาพสมุนไพรรสฝาด ได้แก่ เปลือกมังคุด ปลีกล้วย เปลือกฝรั่ง มะยมหวาน และสมุนไพร ที่มีรสฝาดทุกชนิด สรรพคุณ : ฆ่าเชื้อราในโรคพืช 4. น้าหมักชีวภาพสมุนไพรรสเบื่อเมา ได้แก่ หัวกลอย ใบเมล็ดสบู่ดา ใบน้อยหน่า และพืชสมุนไพรที่มี รสเบื่อเมาทุกชนิด สรรพคุณ : ฆ่าเพลี้ย หนอน และแมลงในพืชผักทุกชนิด 5. น้าหมักชีวภาพสมุนไพรรสเปรี้ยว ได้แก่ มะกรูด มะนาว กระเจี๊ยบ และพืชสมุนไพรที่มีรสเปรี้ยวทุก ชนิด สรรพคุณ : ไล่แมลงโดยเฉพาะ 6. น้าหมักชีวภาพสมุนไพรรสหอมระเหย ได้แก่ ตะไคร้หอม ใบกะเพรา ใบเตย และพืชสมุนไพรที่รส หอมระเหยทุกชนิด สรรพพคุณ : เปลี่ยนกลิ่นของต้นพืชเพื่อป้องกันแมลงเข้าไปกัดกิน 7. น้าหมักชีวภาพสมุนไพรรสเผ็ด ได้แก่ พริก ขิง ข่า และพืชสมุนไพรทุกชนิดที่มีรสเผ็ดทุกชนิด สรรพคุณ : ไล่แมลง และทาให้แมลงแสบร้อน
  • 20. 8 การทาและวิธีการใช้น้าหมักชีวภาพ ส่วนผสม เศษพืช ผลไม้ หรือเศษอาหาร 3 ส่วน : กากน้าตาล 1 ส่วน : สารเร่งพด.2 0.4 ส่วน : น้าอี เอ็ม 0.4 ส่วน วิธีทา หั่นเศษพืช ผลไม้ หรือเศษอาหาร ให้มีขนาดเล็ก ๆ เพื่อให้การหมักมีประสิทธิภาพมากขึ้น แล้วนาส่วนผสมทั้งหมดมาคลุกให้เข้ากัน ใส่ลงถังที่มีฝาปิดมิดชิด เว้นที่ว่างของถังไว้ 1 ใน 5 ของถัง หมักทิ้งไว้ ประมาณ 7 – 15 วัน หรืออาจประมาณ 1 เดือน ในที่ร่มและไม่ให้ถังหมักโดนแดด หมั่นเปิดเพื่อระบายอากาศ ออกแล้วปิดฝาทันที วิธีการนาน้าหมักชีวภาพไปใช้ พืชไร่ 1. ช่วงการเจริญเติบโต อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร : น้า 50 ลิตร วิธีใช้: ฉีดพ่นบนต้นพืชทั้งระยะแตกกิ่ง แตกใบ ออกดอก และติดผล 2. การแช่ท่อนพันธุ์อ้อย และมันสาปะหลัง อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 2 ลิตร : น้า 30 ลิตร วิธีใช้: เจืองจางน้าหมักด้วยน้าในอัตรา พร้อมนาท่อนพันธุ์ แช่นาน 6-12 ชั่วโมง ก่อนปลูก พืชผัก และไม้ดอก อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร : น้า 50 ลิตร วิธีใช้: เจือจางน้าหมัก และฉีดพ่นบนต้นพืชในทุกระยะ ไม้ผล อัตราการใช้ : น้าหมักชีวภาพ 1 ลิตร : น้า 50 ลิตร วิธีใช้: เจือจางน้าหมัก และฉีดพ่นบนต้นพืชในทุกระยะ โดยเฉพาช่วงออกดอก และติดผล ศัตรูพืช ศัตรูพืช (pest) หมายถึง ปัจจัยชีวภาพในการกสิกรรมที่ก่อความเสียหายต่อพืชปลูก และทาให้ ศักยภาพของการกสิกรรมลดลง หรืออาจหมายถึงสิ่งมีชีวิตซึ่งทาให้ผลผลิตของพืชปลูกลดลง
  • 21. 9 แมลงศัตรูพืช ภาพที่ 2.3 แมลงศัตรูพืชที่มักพบบ่อย แหล่งที่มา : http://www.kasetcenter.com/article/topic-62504.html (สืบค้นวันที่ 1 ตุลาคม 2559) แมลงศัตรูพืช หมายถึง สัตว์ที่มีลาตัวเป็นปล้อง ไม่มีกระดูกสันหลัง ลาตัวแบ่งออกเป็นสามส่วน คือ ส่วน ศรีษะ อก และท้อง จัดอยู่ในชั้น Insecta ซึ่งสัตว์เหล่านี้ก่อความเสียหายแก่พืชเพาะปลูก การจาแนกชนิดของ แมลงที่ถูกต้องจะแบ่งตามหลักการอนุกรมวิธานโดยนักกีฎวิทยา แต่ในที่นี้จะขอแบ่งชนิดของแมลงศัตรูพืชออก ตามลักษณะของการทาลาย ดังนี้ 1) แมลงจาพวกกัดกินใบ (leaf feeder) ได้แก่ หนอนผีเสื้อ ตั๊กแตน ด้วงปีกแข็ง แมลงพวกนี้มีปาก แบบกัดกิน สามารถกัดกินใบทั้งหมด หรือกัดกินเฉพาะตัวใบแล้วเหลือเส้นใบไว้ ทาให้พืชขาดส่วนสังเคราะห์ แสง หรือขาดที่สะสมอาหาร หรือขาดยอดอ่อนสาหรับการเจริญเติบโตต่อไป 2) แมลงจาพวกดูดกินน้าเลี้ยง (juice sucker) ได้แก่ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยกระโดด เพลี้ยจั๊กจั่น และมวน ต่าง ๆ แมลงจาพวกนี้มีปากแบบดูด สามารถแทงและดูดน้าเลี้ยงจากใบ ยอดอ่อน กิ่ง ลาต้น ดอก หรือ ผล ทา ให้ส่วนต่าง ๆ ของพืชที่ถูกดูดกินน้าเลี้ยงมีรอยไหม้ ใบม้วนเหี่ยว ไม่เจริญเติบโต หรือแคระแกร็น และ นอกจากนี้แมลงจาพวกนี้ยังเป็นสาเหตุสาคัญของการถ่ายทอดและแพร่กระจายโรคพืชที่มีเชื้อไวรัสเป็นสาเหตุ อีกด้วย 3) แมลงจาพวกหนอนชอนใบ (leaf minor) ได้แก่ หนอนผีเสื้อ หนอนแมลงวันบางชนิด แมลง จาพวกนี้มักมีขนาดเล็ก กัดกินเนื้อเยื่ออยู่ระหว่างผิวใบพืช ทาให้พืชขาดส่วนสังเคราะห์แสงหรือขาดส่วนสะสม อาหาร 4) แมลงจาพวกหนอนเจาะลาต้น (stem borer) ได้แก่ หนอนด้วง หนอนผีเสื้อ และปลวก แมลง จาพวกนี้มักวางไข่ตามใบหรือเปลือกไม้ เมื่อไข่ฟักออกเป็นตัวหนอนก็จะชอนไชเข้าไปอยู่ในกิ่ง ลาต้น หรือผล ทาให้ต้นพืชขาดน้าและอาหารแล้วแห้งตายไป หรือทาให้ผลไม้เน่าหล่น เสียหาย
  • 22. 10 5) แมลงจาพวกกัดกินราก (root feeder) ได้แก่ ด้วงดีด จิ้งหรีด แมลงกระชอน ด้วงดิน ด้วงงวง แมลงจาพวกนี้มีปากแบบกัดกิน มักมีชีวิตหรือวางไข่ตามพื้นดิน ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะเข้าทาลายรากพืช ทั้ง ทาให้พืชยืนต้นแห้งตาย เนื่องจากขาดน้าและอาหาร 6) แมลงจาพวกที่ทาให้เกิดปุ่มปม (gall maker) ได้แก่ ต่อ แตน และเพลี้ย แมลงจาพวกนี้เมื่อกัดกิน หรือดูดน้าเลี้ยงหรือวางไข่บนพืชแล้ว มักจะปลดปล่อยสารบางชนิดลงบนพืช ทาให้เกิดอาการปุ่มปมผิดปกติ บนส่วนต่าง ๆ ของพืช เช่น ดอก ใบ ยอดอ่อน ราก และลาต้น แมลงศัตรูพืชทั้ง 6 จาพวก ถ้าจัดแบ่งตามระยะเวลาการเข้าทาลายพืชปลูกแล้วแบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1) แมลงศัตรูพืชประเภทที่เข้าทาลายตั้งแต่ระยะปลูกจนถึงระยะเก็บเกี่ยว การทาลายของแมลงศัตรูพืช ประเภทนี้เกิดโดยการกัดกินใบ ยอดอ่อน ตาดอก ดอก และลาต้น หรือการดูดกินน้าเลี้ยงของยอดอ่อน ตาดอก และกิ่งอ่อน หรือการเจาะไชลาต้น หรือการเป็นพาหะที่ทาให้เกิดการระบาดหรือแพร่กระจายของโรคพืช ซึ่ง การทาลายของแมลงประเภทนี้ ทาให้ศักยภาพการให้ผลผลิตของพืชปลูกลดลง 2) แมลงศัตรูพืชประเภททาลายผลผลิตในโรงเก็บเกี่ยว (stored insect pest) แมลงศัตรูประเภทนี้ อาจจะวางไข่บนดอกหรือผลของพืชปลูกขณะอยู่ในแปลง แล้วตัวแมลงไปเจริญเติบโตทาลายผลผลิตขณะที่อยู่ ในโรงเก็บ หรือหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตมาแล้ว เช่น ด้วงงวงข้าวสาร ด้วงถั่ว มอด แมลงวันผลไม้ หรืออาจจะ เป็นพวกที่อาศัยอยู่ในโรงเก็บ เช่น แมลงสาบ มด เป็นต้น
  • 23. 11 โรคพืช ภาพที่ 2.4 โรคพืชที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต แหล่งที่มา : http://www.chawanpich.com/ (สืบค้นวันที่ 1 ตุลาคม 2559) โรคพืช หมายถึง ลักษณะอาการของพืชที่ผิดไปจากปกติ ซึ่งอาจเกิดขึ้นบนส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นพืช หรือตลอดทั้งต้น และรวมไปจนถึงการแห้งตายไปทั้งต้น สาเหตุที่ทาให้เกิดโรคพืชแบ่งได้ 2 สาเหตุคือ 1) เกิดจากสิ่งมีชีวิต (pathogenic disease) เช่น โรคพืชที่เกิดจากเชื้อไวรัส, เชื้อไมโคพลาสมา, เชื้อ แบคทีเรีย, เชื้อรา, และไส้เดือนฝอย โรคพืชจะเกิดขึ้นและสามารถแพร่กระจายระบาดออกไปได้ถ้าหากมีเชื้อ สาเหตุเหล่านี้ ตลอดจนมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเกิดและการแพร่กระจายของโรคพืชนั้น ๆ การ แพร่กระจายของโรคพืชอาศัย น้า ฝน ความชื้น ลม ดิน หรือโดยการถ่ายทอดผ่านทางเมล็ดพันธุ์ ส่วน ขยายพันธุ์ หรือโดยแมลง ลักษณะอาการของโรคพืชซึ่งเกิดจากเชื้อสาเหตุที่แตกต่างกัน จะแตกต่างกันดังต่อไปนี้ 1.1) ลักษณะอาการของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อไวรัส มักมีอาการโรคใบหด ใบหงิก ใบสีเหลืองส้ม ใบด่าง เหลือง ใบม้วน 1.2) ลักษณะอาการของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อไมโคพลาสมา มักมีอาการโรคใบขาว ลาต้นแคระแกรน แตกกอเป็นพุ่ม หรือใบเหลืองซีด กิ่งแห้งตาย ลาต้นทรุดโทรมและไม่ให้ผลผลิต 1.3) ลักษณะอาการของโรคพืชจากเชื้อแบคทีเรีย มีลักษณะอาการแตกต่างกัน 5 แบบ คือ 1.3.1) เหี่ยว (wilt) อาการเหี่ยวเฉา เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไปเจริญในท่อน้า ท่ออาหารของต้น พืช ทาให้เกิดการอุดตันของท่อน้าและท่ออาหาร จึงเป็นเหตุให้พืชได้รับน้าและอาหารไม่เพียงพอ เกิดอาการ เหี่ยวเฉา หรือเจริญเติบโตผิดปกติและจะตายไปในที่สุด
  • 24. 12 1.3.2) เน่าเละ (soft rot) อาการเน่าและมีกลิ่นเหม็น ทั้งนี้เพราะแบคทีเรียเข้าทาลายเซลล์พืช และมีเชื้อจุลินทรีย์อื่น ๆ ร่วมเข้าทาลายซ้าเติม โรคพืชแบบนี้มักเกิดกับส่วนของพืชที่อวบน้า เช่น โรคเน่าเละ ของพืชผัก มันฝรั่ง มะเขือเทศ แตงกวา กะหล่า พริก 1.3.3) แผลเป็นจุด (spot หรือ local lesion) อาการจุดแห้งตาย เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไป เจริญอยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์หรือในเซลล์ ทาให้เซลล์บริเวณนั้นตายเป็นแผลแห้งมีขอบเขตจากัด เช่น โรค ใบจุดของฝ้าย โรคใบจุดของถั่วเหลือง โรคขอบใบแห้งของข้าว โรคแคงเคอร์ของส้ม โรคใบจุดของยาสูบ 1.3.4) ไหม้ (blight) อาการใบไหม้ตาย เริ่มจากจุดเล็ก ๆ ก่อน แล้วแผ่ขยายไปเรื่อย ๆ โดยไม่มี ขอบเขตจากัด เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไปเจริญอยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์ แต่ไม่ทาลายเนื้อเยื่อเซลล์ เพียงแต่ทาให้การเคลื่อนย้ายน้าและอาหารในพืชไม่สะดวก ทาให้ใบและลาต้นมีสีซีด (necrosis) และอาจแห้ง ตายไปในที่สุด เช่น โรคใบไหม้ของถั่ว ยางพารา แอปเปิ้ล 1.3.5) ปุ่มปม (gall หรือ tumer) อาการเป็นปุ่มปมเกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไปเจริญอยู่ในเซลล์ พืช แล้วสร้างสารบางชนิดออกมากระตุ้นให้เซลล์บริเวณนั้นมีการแบ่งตัวมากขึ้น เช่น โรค crown gall ของ มะเขือเทศ โรค gall ของหัวบีท 1.4) ลักษณะอาการของโรคพืชจากเชื้อรา ลักษณะอาการของโรคพืชจากเชื้อรามีมากหลายแบบ เช่น ใบเป็นแผล ใบไหม้ ใบบิด ต้นเหี่ยว รากเน่า โคนต้นเน่า ผลเน่า เมล็ดเน่า ต้นกล้าเน่า หรือต้นแห้งตายไปทั้งต้น ลักษณะอาการของโรคพืชจากเชื้อรามักจะสังเกตเห็นเส้นใย สปอร์ส่วนสืบพันธุ์ต่าง ๆ มีสีขาว หรือสีดา หรือสี น้าตาล ปรากฏตามรอยแผลอาการของโรค หรือตรงส่วนที่เชื้อสาเหตุเข้าสู่ต้นพืช ตัวอย่างของโรคพืชที่เกิดจาก เชื้อราได้แก่ โรคโคนเน่าคอดินของต้นกล้า โรครากและโคนต้นเน่า โรคราน้าค้าง โรคเน่าของผลไม้และผัก โรค ราแป้งขาว โรคราสนิมเหล็ก โรคเขม่าดา โรคแส้ดาของอ้อย โรคไหม้ของข้าว โรคใบจุดของข้าวโพด โรคใบจุด ตานกของยางพารา โรคแอนแทรคโนส โรคเหี่ยวของมะเขือเทศ 1.5) ลักษณะอาการของโรคพืชจากไส้เดือนฝอย มักทาให้เกิดโรครากปม รากขอด และลาต้นพืชเหี่ยว เฉาตายไปในที่สุด 2) เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต (nonpathogenic disease) อาการของโรคพืชอาจเกิดจากสาเหตุ เนื่องจากสิ่งไม่มีชีวิต เช่น การขาดธาตุอาหาร ธาตุอาหารเป็นพิษ ดินเป็นกรด ดินเค็มจัด ดินเป็นด่าง หรือพิษ จากสารเคมีบางชนิด สาเหตุต่างๆ เหล่านี้ทาให้การเจริญเติบโตของต้นพืชผิดปกติ ลาต้นแคระแกร็น มีสีซีด หรือสีผิดปกติ ไม่ให้ผลผลิต โรคพืชซึ่งมีสาเหตุเกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต จะเกิดเฉพาะบริเวณ ไม่สามารถ แพร่กระจายหรือระบาดไปยังแหล่งอื่น ๆ ได้
  • 25. 13 การใช้สารเคมีควบคุมศัตรูพืช ภาพที่ 2.5 ลักษณะการใช้ยาไล่แมลงฉีดพ่นในพืชไร่ แหล่งที่มา : http://www.atomic-oil.com/ประเภทของสารเคมีกาจัดแมลง/ วิธีการใช้สารเคมีควบคุมศัตรูพืช (chemical method) เป็นวิธีการใช้สารเคมีเพื่อกาจัด ทาลาย หรือ ป้องกันศัตรูพืชโดยตรง วิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมเพราะสะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูง สามารถแก้ปัญหา เฉพาะหน้าได้ดี แต่ก็เป็นวิธีการที่มีอันตรายต่อผู้ใช้ และต่อสิ่งแวดล้อมมากถ้าหากใช้อย่างไม่ถูกต้อง ใช้ผิดวิธี หรือขาดความรู้ความเข้าใจในสารเคมีและวิธีการใช้ ตลอดจนการขาดความระมัดระวังในการใช้สารเคมี นอกจากนี้ยังพบว่า แมลงศัตรูพืชหลายชนิดมีความสามารถปรับตัวให้ทนทานต่อสารเคมีบางชนิดได้อย่าง รวดเร็ว สารเคมีกาจัดศัตรูพืชแบ่งออกตามลักษณะทางเคมีได้ 2 ประเภท คือ 1) สารเคมีพวกอนินทรีย์สาร (inorganic pesticide) ส่วนใหญ่เป็นสารประกอบเกลือของปรอท ทองแดง กามะถัน สังกะสี และเหล็ก สารเคมีประเภทนี้บางชนิดมีพิษต่อมนุษย์และสัตว์รุนแรงมาก ปัจจุบันไม่ ค่อยนิยมใช้ และถูกห้ามใช้ในบางประเทศ โดยเฉพาะเกลือของปรอทและสังกะสี 2) สารเคมีพวกอินทรีย์สาร (organic pesticide) อาจเป็นสารเคมีที่สกัดจากพืช เช่น โล่ติ้น ไพรีทรัม ยาสูบ สะเดา ตะไคร้หอม ข่า หรือเป็นสารที่สังเคราะห์ขึ้นมาโดยวิธีการทางเคมี สารเคมีควบคุมศัตรูพืชเมื่อแบ่งตามชนิดของการใช้ควบคุมศัตรูพืชอาจแบ่งได้ 7 ประเภท คือ ยาฆ่าแมลง, ยาโรคพืช หรือยาฆ่าเชื้อรา, ยาฆ่าหญ้า, ยาฆ่าไส้เดือนฝอย, ยาฆ่าหนู, ยาฆ่าหอยทาก และ ยาฆ่าไรแดง วิธีการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชขึ้นอยู่กับรูปแบบของสารผลิตภัณฑ์ ชนิดของศัตรูพืช และส่วนที่ถูกทาลาย โดยสรุปสามารถจาแนกวิธีการใช้สารเคมีได้ 7 วิธี คือ การพ่นยาน้า หรือสารละลายยา ,การพ่นผง, การรมหรือ, การพ่นหมอก, การโรยหรือหว่าน, การป้าย ทา และ วิธีการจัดการแบบผสมผสาน ซึ่งเป็นการนาเอาวิธีการต่างๆ ข้างต้นมาใช้ร่วมกัน มีการวางแผนที่ดี เพื่อให้การควบคุมกาจัดศัตรูพืชมีประสิทธิภาพสูง ลงทุนต่า และไม่เป็นผลเสียต่อสภาพแวดล้อม
  • 26. 14 อะบาเม็กติน อะบาเม็กติน (Abamectin) หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อการค้าเอ.จี.บา, ไดเมทิน, แอ็กโกรติน, อบามา, เจ๊คเก็ต เป็นต้น อะบาเม็กตินเป็นสารกาจัดแมลง (Insecticide) ที่เกิดจากกระบวนการหมักแบคทีเรียที่อาศัย อยู่ในดินชื่อ Streptimyces avermitilis สารที่สกัดได้คือ avermectin B1a และavermectin B1b ผลิตภัณฑ์อะบาเม็กตินส่วนใหญ่มีความเป็นพิษต่าต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จากการทดลองในสัตว์ทดลอง สารพิษทาให้เกิดการระคายเคือง ต่อตาและผิวหนังเล็กน้อยและจะเกิดอาการขยายของรูม่านตา อาเจียน กล้ามเนื้อหดเกร็ง ตัวสั่นและหมดสติได้ ในแมลงอะบาเม็กตินจะออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทรวมถึงเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ เป้าหมายการออก ฤทธิ์เจาะจงต่อตาแหน่งไซแนป (syna) ในสมองและยับยั้งการนาเลือดไปเลี้ยงสมอง ทาให้แมลงตายในที่สุด ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม หากใช้สารพิษในปริมาณมาก เมื่อเข้าสู่กระแสเลือดที่นาเลือดไปเลี้ยงสมองจะ เป็นสาเหตุของอาการ CNS depressing เช่น การทางานของอวัยวะไม่ประสานกัน การสั่นของร่างกาย ความ เฉื่อยชา การขยายของรูม่านตาและทาให้เสียชีวิตเนื่องจากระบบหัวใจล้มเหลว อะบาเม็กตินไม่ซึมผ่านเข้าสู่ผิวหนังโดยตรง การซึมซับของอะบาเม็กตินจากผิวหนังเข้าสู่กระแสเลือดน้อยกว่า 1% จึงไม่ทาให้ผิวหนังแสดงอาการในลักษณะของภูมิแพ้ คุณสมบัติอีกประการของอะบาเม็กตินคือละลายน้าได้ดี และยึดเกาะกับอนุภาคของดิน ฉะนั้นจึงไม่มี การเคลื่อนย้ายจากดินไปปนเปื้อนในน้า นอกจากนี้ยังสลายตัวเร็วเมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อม มีรายงานว่าเมื่อผิว ดินกระทบแสงแดด อะบาเม็กตินจะสลายตัวภายใน 8 - 12 ชั่วโมง หรือภายใน 1 วัน สาหรับในพืชนั้นอะบา เม็กตินจะลดปริมาณลงเหลือครึ่งหนึ่ง คือ ทุกๆ 4 - 6 ชั่วโมง จึงนับเป็นสารที่ปลอดภัยสูงสาหรับผู้ใช้และ สิ่งแวดล้อม ในด้านประสิทธิภาพการป้องกันกาจัดแมลงศัตรูพืชนั้น ทางกองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตรได้ แนะนาให้ใช้อะบาเม็กตินในการป้องกันกาจัดหนอนชอนใบมะนาว, เพลี้ยไฟพริก, ไรแดงมะม่วง,ไรสองจุด, หนอนใยผัก, หนอนแมลงวันชอนใบกะหล่า, ไรขาวพริก,เพลี้ยไฟฝ้าย และหนอนเจาะดอกมะลิ โดยใช้ได้ใน อัตรา 5 – 10 ซีซี ต่อน้าจานวน 20 ลิตร
  • 27. 15 ผักบุ้งจีน ภาพที่ 2.6 กอผักบุ้งจีนหลังเก็บเกี่ยว แหล่งที่มา : http://herbsbotany.blogspot.com/2014/10/blog-post_41.html (สืบค้นวันที่ 1 ตุลาคม 2559) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Ipomoea aquatica Forsk. Var. reptan ชื่อสามัญ : ผักบุ้งจีน ชื่อภาษาอังกฤษ : water convolvulus, kang-kong วงศ์ : ผักบุ้ง (Convolvulaceae) ผักบุ้งจีนเป็นพืชที่พบทั่วไปในเขตร้อน และเป็นผักที่คนไทยนิยมนามาประกอบอาหารเช่นเดียวกับผักบุ้ง ไทย ผักบุ้งจีนมีใบสีเขียว ก้านใบมีสีเหลืองหรือขาว ก้านดอกและดอกมีสีขาว โดยทั่วไปแล้วผักบุ้งจีนจะนิยม นามาประกอบอาหารมากกว่าผักบุ้งไทย จึงมีการปลูกอย่างแพร่หลายในประเทศไทย สาหรับเกษตรกรปลูก เพื่อนาลาต้นไปขาย และบริษัทปลูกเพื่อพัฒนาและขายเมล็ดพันธุ์ ตลาดที่สาคัญในการส่งออกผักบุ้งจีน คือ ฮ่องกง มาเลเซีย และสิงคโปร์ ลักษณะทางพฤกศาสตร์ ผักบุ้งจีนมีชื่อเรียกที่หลากหลาย ชาวตะวันตกเรียกผักบุ้งจีนว่า water convolvulus และ kang-kong ขึ้นอยู่กับบุคคล ถิ่นกาเนิดของผักบุ้งจีนอยู่ในเขตร้อน พบได้ทั่วไปในทวีปแอฟริกา เขตร้อนในทวีปเอเชีย และ ในทวีปออสเตรเลีย รากของผักบุ้งจีนเป็นรากแก้ว และมีรากแขนงแตกออกล้อมรอบรากแก้ว เมล็ดพันธุ์มีสี น้าตาลลักษณะสามเหลี่ยมฐานมน ความกว้างโดยเฉลี่ย 0.4 เซนติเมตร และยาว 0.5 เซนติเมตร ใบมีลักษณะ
  • 28. 16 เป็นใบเดี่ยว ขอบใบเรียบ รูปใบคล้ายหอกเรียวยาว โคนใบมีลักษณะเป็นรูปหัวใจ ใบมีความยาวประมาณ 7- 15 เซนติเมตร และก้านใบยาว 3-8 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกสมบูรณ์มีลักษณะเป็นช่อดอก ดอกตรงกลาง 1 ดอกและดอกทางด้านข้างอีก 2 ดอก ดอกเป็นรูปกรวยต่างจากผักบุ้งไทยที่เป็นรูปแตร แต่ด้านนอกของดอกมีสี ม่วงและด้านในเป็นสีขาวเหมือนกัน การขยายพันธุ์นิยมใช้เมล็ดพันธุ์มากกว่าวิธีการอื่น
  • 29. 19 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการศึกษา เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทาน้าหมักชีวภาพ 1. ถังดา มีฝาปิด ขนาด 50 ลิตร จานวน 3 ใบ ภาพที่ 3.1 ถังน้าจานวน 3 ถัง ภาพที่ 3.2 ถังน้าขนาด 50 ลิตร 2. มีด 3. ตาชั่งสปริง 4. กะละมัง 5. ไม้คน 6. ถุงมือ
  • 30. 20 7. ยาไล่แมลง ภาพที่ 3.3 ยาไล่แมลง ตรา องุ่น สูตรอะบาเม็กติน วัสดุในการทาน้าหมักชีวภาพ - สูตรที่ 1 (น้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด) 1. พริกชี้ฟ้าแดง 3 กิโลกรัม 2. ขิง, ตะไคร้, ใบขี้เหล็ก อย่างละ 1กิโลกรัม ภาพที่ 3.4 พริกชี้ฟ้าแดง 3 กก. ขิง 1 กก. และตะไคร้ 1 กก.
  • 31. 21 3. น้าอีเอ็ม จานวน 40 มิลลิลิตร 4. กากน้าตาล จานวน 3 กิโลกรัม ภาพที่ 3.5 กากน้าตาลโมลาสแท้ 100 % 5. สารเร่ง จานวน 40 กรัม ภาพที่ 3.6 สารเร่งไบโอนิค-2 ตรา ไมโครไบโอเทค
  • 32. 22 - สูตรที่ 2 (น้าหมักชีวภาพจากเศษผัก) 1. เศษผักใบเขียว จานวน 6 กิโลกรัม ภาพที่ 3.7 เศษผักใบเขียว 6 กก. 2. กากน้าตาล จานวน 3 กิโลกรัม 3. สารเร่ง จานวน 40 กรัม 4. น้าอีเอ็ม จานวน 40 มิลลิลิตร
  • 33. 23 - สูตรที่ 3 (น้าหมักชีวภาพจากผลไม้) 1. ผลไม้ (รวมเปลือกและผล) 3 กิโลกรัม ภาพที่ 3.8 ผลไม้ 3 กก. 2. กากน้าตาล จานวน 2 กิโลกรัม 3. สารเร่ง จานวน 20 กรัม 4. น้าอีเอ็ม จานวน 20 มิลลิลิตร
  • 34. 24 เครื่อมือ วัสดุ อุปกรณ์ ในการปลูกผักบุ้ง 1. เมล็ดพันธุ์ผักบุ้ง จานวน 1 ถุง ภาพที่ 3.9 เมล็ดพันธุ์ผักบุ้งจีน ตรา เจียไต๋ 2. กระถางปลูก ขนาด 8 นิ้ว จานวน 10 กระถาง ภาพที่ 3.10 เมล็ดพันธุ์ผักบุ้งจีน ตรา เจียไต๋
  • 35. 25 3. ดินผสมขุยไผ่ จานวน 1 กระสอบ ภาพที่ 3.11 ดินผสมขุยไผ่ ตรา น้องเบียร์ 91 4. บัวรดน้า ภาพที่ 3.12 บัวรดน้า
  • 36. 26 ขั้นตอนในการทดลอง /วิธีการทา -ขั้นตอนในการทาน้าหมักชีวภาพ 1. เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการทาน้าหมักชีวภาพ 2. หั่นผักที่เตรียมมา เป็นชิ้นเล็กๆ ภาพที่ 3.13 การหั่นผลไม้เพื่อนาไปทาน้า หมักชีวภาพ สูตรผลไม้ ภาพที่ 3.14 การหั่นเศษผักเพื่อนาไปทาน้าหมักชีวภาพ สูตร เศษผัก
  • 37. 27 ภาพที่ 3.15 การหั่นขิงเพื่อนาไปทาน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด 3. นาข้อที่ 2 มาผสมคลุกเคล้ากับกากน้าตาลในกะละมังก่อน โดยแบ่งผสมคลุกเคล้าทีละนิด ซึ่งอาจจะนา น้าเปล่าผสมกับกากน้าตาลก่อนเพื่อให้ละลายง่ายไม่เหนียวหนืดจนเกินไป ภาพที่ 3.16 การละลายกากน้าตาลกับ น้าเปล่าเพื่อให้ง่ายต่อการใช้ผสมกับเศษผัก
  • 38. 28 ภาพที่ 3.17 การแบ่งผสมเศษผักกับกากน้าตาล 4. ใส่สารเร่งและอีเอ็มลงไป จากนั้นคลุกเคล้าให้ทั่ว ภาพที่ 3.18 การคลุกเคล้าส่วนผสมทั้งหมดในการทาน้าหมักชีวภาพจากเศษผัก
  • 39. 29 ภาพที่ 3.19 การคลุกเคล้าส่วนผสมทั้งหมดในการทาน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด ภาพที่ 3.20 การคลุกเคล้าส่วนผสมทั้งหมดในการทาน้าหมักชีวภาพจากผลไม้
  • 40. 30 5. นาส่วนผสมทั้งหมดใส่ในถังดา แล้วปิดฝาให้สนิท เก็บไว้ในที่ร่ม ห้ามโดนแสงแดด และหมั่นเปิดฝาระบาย อากาศออกเป็นประจา ภาพที่ 3.21 น้าหมักชีวภาพจากเศษผักที่ผสมเสร็จแล้ว ภาพที่ 3.22 น้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ดที่ผสมเสร็จแล้ว
  • 41. 31 ภาพที่ 3.23 น้าหมักชีวภาพจากผลไม้ที่ผสมเสร็จแล้ว 6. หมักไว้ประมาณ 1 เดือนแล้วนาน้าหมักในถังมากรอง เพื่อเอาแต่น้าใส ๆ แล้วนาน้าหมักชีวภาพนั้นไปใช้ *ทาตามขั้นตอนเหล่านี้ในน้าหมักชีวภาพทั้ง 3 สูตร
  • 42. 32 ขั้นตอนการปลูกผักบุ้งจีน 1. เตรียมอุปกรณ์ในการปลูกผักบุ้งจีน 2. เทดินใส่กระถางประมาณ 3 ใน 4 ของกระถาง 3. กดหลุมตื้น ๆ ประมาณ 5 หลุม หยอดเมล็ดผักบุ้งจีน หลุมละ 2 – 3 เมล็ด ภาพที่ 3.24 เมล็ดผักบุ้งจีน ภาพที่ 3.25 หยอดเมล็ดผักบุ้งจีน หลุมละ 2 – 3 เมล็ด
  • 43. 33 4. กลบดินอีกชั้นบาง ๆ จากนั้นรดน้าให้ชุ่ม ภาพที่ 3.26 กลบดินบาง ๆ 5. รดน้าต้นผักบุ้งจีนด้วยน้าเปล่าทุก ๆ วัน วันละ 2 ครั้ง คือ เวลา 10:00 น. และเวลา 17:00 น. 6. เมื่อแทงยอดอ่อนขึ้นแล้วจึงเริ่มฉีดพ่นน้าหมักชีวภาพและยาไล่แมลง ขั้นตอนในการทาการทดลองเพื่อทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลง 1. นาน้าหมักชีวภาพแต่ละสูตรผสมกับน้าเปล่าในอัตราส่วนของน้าเปล่าต่อน้าหมักชีวภาพ 50: 1 2. รดน้าเปล่าที่ต้นผักบุ้งจีน 3. ฉีดพ่นที่ต้นผักบุ้งจีนด้วยน้าหมักชีวภาพที่เจือจางแล้วฉีดพ่นน้าหมักชีวภาพสูตรละ 2 กระถาง สารเคมี 2 กระถาง และน้าเปล่าอย่างเดียวอีก 2 กระถาง 4. ฉีดพ่นน้าหมักชีวภาพและสารเคมี ในทุก ๆ 2 วัน คอยสังเกตและบันทึกผล นับจากวันที่เริ่มฉีดพ่นทุก ๆ 2 วัน เป็นเวาลา 30 วัน รวมทั้งหมด 15 ครั้ง
  • 44. 36 บทที่ 4 ผลการทดลอง จากการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงของน้าหมักชีวภาพและยาไล่แมลงในการจัดทาโครงงาน ครั้งนี้ ผู้จัดทาได้สังเกตและบันทึกผลการทดลองจากต้นผักบุ้งจีนจานวน 10 กระถางที่ฉีดพ่นด้วย น้าเปล่าเพียง อย่างเดียว, ยาไล่แมลง, น้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด, น้าหมักชีวภาพจากเศษผัก และน้าหมักชีวภาพจาก ผลไม้ โดยทาการสังเกตและบันทึกผลในทุก ๆ 2 วัน จานวน 15 ครั้ง (ระยะเวลา 30 วัน) 4.1 ตารางบันทึกผลการสังเกตต้นผักบุ้งจีน ตารางที่ 4.1 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าเปล่า กระถางที่ 1 ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าเปล่า กระถางที่ 1 ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ 1. 21 พฤศจิกายน 2559 1 1 มีฝนตก 2. 23 พฤศจิกายน 2559 3 2 มีฝนตก 3. 25 พฤศจิกายน 2559 2 3 มีฝนตก 4. 27 พฤศจิกายน 2559 4 4 มีฝนตก 5. 29 พฤศจิกายน 2559 1 4 6. 1 ธันวาคม 2559 5 4 7. 3 ธันวาคม 2559 2 5 8. 5 ธันวาคม 2559 3 6 9. 7 ธันวาคม 2559 5 6 10. 9 ธันวาคม 2559 4 6 11. 11 ธันวาคม 2559 3 7 12. 13 ธันวาคม 2559 1 8 13. 15 ธันวาคม 2559 6 8 14. 17 ธันวาคม 2559 2 9 15. 19 ธันวาคม 2559 4 9 รวม 46 9
  • 45. 37 ตารางที่ 4.2 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าเปล่า กระถางที่ 2 ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าเปล่า กระถางที่ 2 ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ 1. 21 พฤศจิกายน 2559 2 0 มีฝนตก 2. 23 พฤศจิกายน 2559 4 1 มีฝนตก 3. 25 พฤศจิกายน 2559 1 1 มีฝนตก 4. 27 พฤศจิกายน 2559 3 2 มีฝนตก 5. 29 พฤศจิกายน 2559 0 2 6. 1 ธันวาคม 2559 4 3 7. 3 ธันวาคม 2559 1 3 8. 5 ธันวาคม 2559 2 3 9. 7 ธันวาคม 2559 5 3 10. 9 ธันวาคม 2559 3 4 11. 11 ธันวาคม 2559 3 4 12. 13 ธันวาคม 2559 2 4 13. 15 ธันวาคม 2559 4 5 14. 17 ธันวาคม 2559 6 5 15. 19 ธันวาคม 2559 3 5 รวม 43 5
  • 46. 38 ตารางที่ 4.3 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของยาไล่แมลง กระถางที่ 1 ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของยาไล่แมลง กระถางที่ 1 ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ 1. 21 พฤศจิกายน 2559 2 0 มีฝนตก 2. 23 พฤศจิกายน 2559 1 1 มีฝนตก 3. 25 พฤศจิกายน 2559 3 2 มีฝนตก 4. 27 พฤศจิกายน 2559 2 3 มีฝนตก 5. 29 พฤศจิกายน 2559 0 3 6. 1 ธันวาคม 2559 1 4 7. 3 ธันวาคม 2559 2 5 8. 5 ธันวาคม 2559 2 5 9. 7 ธันวาคม 2559 0 6 10. 9 ธันวาคม 2559 1 7 11. 11 ธันวาคม 2559 1 8 12. 13 ธันวาคม 2559 0 8 13. 15 ธันวาคม 2559 0 8 14. 17 ธันวาคม 2559 0 9 15. 19 ธันวาคม 2559 0 9 รวม 15 9
  • 47. 39 ตารางที่ 4.4 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของยาไล่แมลง กระถางที่ 2 ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของยาไล่แมลง กระถางที่ 2 ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ 1. 21 พฤศจิกายน 2559 1 0 มีฝนตก 2. 23 พฤศจิกายน 2559 3 0 มีฝนตก 3. 25 พฤศจิกายน 2559 2 1 มีฝนตก 4. 27 พฤศจิกายน 2559 0 2 มีฝนตก 5. 29 พฤศจิกายน 2559 1 2 6. 1 ธันวาคม 2559 2 3 7. 3 ธันวาคม 2559 0 3 8. 5 ธันวาคม 2559 0 4 9. 7 ธันวาคม 2559 1 5 10. 9 ธันวาคม 2559 1 6 11. 11 ธันวาคม 2559 0 7 12. 13 ธันวาคม 2559 0 7 13. 15 ธันวาคม 2559 0 8 14. 17 ธันวาคม 2559 0 8 15. 19 ธันวาคม 2559 0 9 รวม 16 9
  • 48. 40 ตารางที่ 4.5 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด กระถางที่ 1 ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน ของน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด กระถางที่ 1 ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ 1. 21 พฤศจิกายน 2559 2 1 มีฝนตก 2. 23 พฤศจิกายน 2559 1 2 มีฝนตก 3. 25 พฤศจิกายน 2559 3 3 มีฝนตก 4. 27 พฤศจิกายน 2559 1 3 มีฝนตก 5. 29 พฤศจิกายน 2559 0 4 6. 1 ธันวาคม 2559 1 5 7. 3 ธันวาคม 2559 1 6 8. 5 ธันวาคม 2559 2 6 9. 7 ธันวาคม 2559 1 7 10. 9 ธันวาคม 2559 2 8 11. 11 ธันวาคม 2559 0 9 12. 13 ธันวาคม 2559 1 9 13. 15 ธันวาคม 2559 0 10 14. 17 ธันวาคม 2559 0 10 15. 19 ธันวาคม 2559 0 11 รวม 15 11
  • 49. 41 ตารางที่ 4.6 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด กระถางที่ 2 ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน ของน้าหมักชีวภาพจากผักที่มีรสเผ็ด กระถางที่ 2 ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ 1. 21 พฤศจิกายน 2559 4 2 มีฝนตก 2. 23 พฤศจิกายน 2559 2 2 มีฝนตก 3. 25 พฤศจิกายน 2559 1 3 มีฝนตก 4. 27 พฤศจิกายน 2559 0 4 มีฝนตก 5. 29 พฤศจิกายน 2559 1 5 6. 1 ธันวาคม 2559 3 6 7. 3 ธันวาคม 2559 1 6 8. 5 ธันวาคม 2559 1 7 9. 7 ธันวาคม 2559 2 8 10. 9 ธันวาคม 2559 0 9 11. 11 ธันวาคม 2559 0 9 12. 13 ธันวาคม 2559 1 10 13. 15 ธันวาคม 2559 0 11 14. 17 ธันวาคม 2559 0 12 15. 19 ธันวาคม 2559 0 13 รวม 16 13
  • 50. 42 ตารางที่ 4.7 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าหมักชีวภาพจากผลไม้ กระถางที่ 1 ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน ของน้าหมักชีวภาพจากผลไม้ กระถางที่ 1 ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ 1. 21 พฤศจิกายน 2559 3 3 มีฝนตก 2. 23 พฤศจิกายน 2559 2 4 มีฝนตก 3. 25 พฤศจิกายน 2559 4 4 มีฝนตก 4. 27 พฤศจิกายน 2559 3 4 มีฝนตก 5. 29 พฤศจิกายน 2559 2 5 6. 1 ธันวาคม 2559 2 5 7. 3 ธันวาคม 2559 3 6 8. 5 ธันวาคม 2559 1 7 9. 7 ธันวาคม 2559 2 8 10. 9 ธันวาคม 2559 0 9 11. 11 ธันวาคม 2559 0 10 12. 13 ธันวาคม 2559 1 11 13. 15 ธันวาคม 2559 0 12 14. 17 ธันวาคม 2559 2 13 15. 19 ธันวาคม 2559 1 14 รวม 26 14
  • 51. 43 ตารางที่ 4.8 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าหมักชีวภาพจากผลไม้ กระถางที่ 2 ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน ของน้าหมักชีวภาพจากผลไม้ กระถางที่ 2 ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ 1. 21 พฤศจิกายน 2559 2 2 มีฝนตก 2. 23 พฤศจิกายน 2559 1 2 มีฝนตก 3. 25 พฤศจิกายน 2559 3 3 มีฝนตก 4. 27 พฤศจิกายน 2559 1 3 มีฝนตก 5. 29 พฤศจิกายน 2559 0 4 6. 1 ธันวาคม 2559 3 5 7. 3 ธันวาคม 2559 2 6 8. 5 ธันวาคม 2559 0 8 9. 7 ธันวาคม 2559 1 9 10. 9 ธันวาคม 2559 1 10 11. 11 ธันวาคม 2559 2 11 12. 13 ธันวาคม 2559 3 12 13. 15 ธันวาคม 2559 0 13 14. 17 ธันวาคม 2559 1 14 15. 19 ธันวาคม 2559 0 15 รวม 20 15
  • 52. 44 ตารางที่ 4.9 บันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีนของน้าหมักชีวภาพจากเศษผัก กระถางที่ 1 ตารางบันทึกผลการทดสอบประสิทธิภาพในการไล่แมลงในต้นผักบุ้งจีน ของน้าหมักชีวภาพจากเศษผัก กระถางที่ 1 ครั้งที่ วันที่บันทึก จานวนแมลง (ตัว) การเจริญเติบโต(ซม.) หมายเหตุ 1. 21 พฤศจิกายน 2559 3 1 มีฝนตก 2. 23 พฤศจิกายน 2559 2 1 มีฝนตก 3. 25 พฤศจิกายน 2559 4 2 มีฝนตก 4. 27 พฤศจิกายน 2559 1 2 มีฝนตก 5. 29 พฤศจิกายน 2559 0 3 6. 1 ธันวาคม 2559 2 4 7. 3 ธันวาคม 2559 4 5 8. 5 ธันวาคม 2559 3 7 9. 7 ธันวาคม 2559 0 8 10. 9 ธันวาคม 2559 1 8 11. 11 ธันวาคม 2559 2 9 12. 13 ธันวาคม 2559 0 10 13. 15 ธันวาคม 2559 3 11 14. 17 ธันวาคม 2559 2 11 15. 19 ธันวาคม 2559 1 12 รวม 28 12