SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 34
ความหมายของการแนะแนว
การแนะแนว หมายถึง กระบวนการทางการศึกษาที่ช่วยให้บุคคล
รู้จัก และเข้าใจตนเองและสิ่งแวดล้อม สามารถนาตนเองได้แก้ปัญหาได้
ด้วยตนเอง และพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพ ปฏิบัติตนให้เป็นสมาชิกที่ดี
ของสังคม
1.เพื่อป้องกันปัญหา ( Prevention ) ปัญหาและความยุ่งยากต่างๆ
นั้น สามารถป้องกันได้และการปล่อยให้นักเรียนเกินปัญหาขึ้นมาแล้วค่อย
ตามแก่ไขช่วยเหลือภายหลังนั้นทาได้ยากและต้องใช้เวลานาน ในบางกรณี
อาจจะแก้ไขไม่ได้อีกด้วย
2.เพื่อแก้ไขปัญหา ( Curation ) ถ้าปล่อยให้นักเรียนประสบปัญหา
โดยไม่ให้ความช่วยเหลือแล้ว นักเรียนย่อมจะไม่สามารถดารงตนอยู่ใน
สังคมอย่างปกติสุขได้
3.เพื่อส่งเสริมพัฒนา ( Development ) เพื่อให้นักเรียนแต่ละคนจะ
ได้รับการส่งเสริมและแสดงความสามารถในด้านต่างๆ ของตนออกมาอย่าง
เต็มที่
จุดมุ่งหมายของการแนะแนว
ประเภทของการแนะแนว สามารถแบ่งได้มากมายตามลักษณะ
ปัญหาของนักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือ แต่ก็พอจะสรุปแบ่งการแนะ
แนวออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้3 ประเภท คือ
1.การแนะแนวการศึกษา
2.การแนะแนวอาชีพ
3.การแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม
ประเภทของการแนะแนว
การแนะแนวการศึกษา ( Educational Guidance ) หมายถึง
กระบวนการให้ความช่วยเหลือนักเรียนในเรื่องที่เกี่ยวกับการศึกษา
โดยเฉพาะ เช่น แนวทางการศึกษาต่อ การเลือกโปรแกรมการเรียน
การลงทะเบียน หลักสูตร การเรียนการสอน การวัดผลประเมินผลของ
โรงเรียน การค้นคว้าเขียนรายงาน การอ่านหนังสือ การเตรียมตัวสอบ
การสร้างสมาธิในการเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
การแนะแนวการศึกษา ( Educational Guidance )
1.เพื่อช่วยให้นักเรียนได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรการ
เรียนการสอนการวัดผลประเมินผล ตลอดจนระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆ ของ
โรงเรียน
2.เพื่อช่วยให้นักเรียนได้รูจักและเข้าใจตนเองอย่างถ่องแท้จะช่วย
ให้นักเรียนสามารถตัดสินใจเลือกเรียนได้ตรงตามความต้องการ และ
ความสามารถของตน
3.เพื่อช่วยให้นักเรียนได้รับข้อสนเทศทางการศึกษาต่อในด้าน
ต่างๆ 4.เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถตัดสินใจเข้าร่วมกิจกรรมเสริม
หลักสูตรที่ทางโรงเรียนจัดขึ้นได้อย่างเหมาะสม ซึ่งจะช่วยให้
ความสามารถพิเศษของนักเรียนได้รับการส่งเสริมพัฒนาอย่างเต็มที่
5.เพื่อช่วยให้นักเรียนได้ประสบความสาเร็จในการศึกษาตาม
แผนการเรียนของตน
จุดมุ่งหมายของการแนะแนวการศึกษา
การแนะแนวอาชีพ ( Vocational Guidance )หมายถึงกระบวนการ
ให้ความช่วยเหลือนักเรียนเกี่ยวกับการวางแผนและการตัดสินใจเลือกอาชีพ
เพื่อช่วยให้นักเรียนได้คนพบอาชีพที่เหมาะสมกับความสามารถ ความถนัด
ความสนใจ และสภาพร่างกายของตน
การแนะแนวอาชีพ ( Vocational Guidance )
1. เพื่อช่วยให้นักเรียนได้มองเห็นความสาคัญของอาชีพ
2. เพื่อช่วยให้นักเรียนได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชีพต่างๆ ที่มี
อยู่ในท้องถิ่น และในโลกกว้าง
3. เพื่อช่วยให้นักเรียนได้ตระหนักถึงอิทธิพลของสิ่งต่างๆ เช่น ความ
ถนัด ความสนใจ บุคลิกภาพระดับสติปัญญา สภาพร่างกาย ที่มีความสาคัญต่อ
การตัดสินใจเลือกอาชีพ
4. เพื่อให้ข้อสนเทศแก่นักเรียนเกี่ยวกับอาชีพที่นักเรียนสนใจ ซึ่งจะ
ช่วยให้นักเรียนได้มีความเข้าใจในอาชีพนั้นๆ ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น
5. เพื่อช่วยให้นักเรียนรู้จักวิธีการแสวงหางาน วิธีการสมัครงานวิธีการ
ปรับตัวให้เข้ากับงานและวิธีการปฏิบัติตนให้มีความเจริญก้าวหน้าในการ
ทางาน
6. เพื่อช่วยให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพที่สุจริตทุกอาชีพ
จุดมุ่งหมายการแนะแนวอาชีพ
การแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม ( Personal and Social
Guidance ) หมายถึง กระบวนการให้ความช่วยเหลือนักเรียน ในเรื่องที่นอก
เหลือจากด้านการศึกษาและอาชีพ เป็นการช่วยให้นักเรียนเกิดความเข้าใจ
ตนเองและสภาพแวดล้อม ทาให้สามารถมีชีวิตและปรับตัวอยู่ในสังคมได้
อย่างมีความสุข
การแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม
( Personal and Social Guidance )
1. เพื่อช่วยให้นักเรียนเป็นผู้ที่มีคุณลักษณะและบุคลิกภาพที่เหมาะสม
เป็นที่ชื่นชมแก่ผู้พบเห็น
2. เพื่อช่วยให้นักเรียนรู้จักตนเอง ยอมรับความจริงเกี่ยวกับตนเอง
และปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของตนให้มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น
3. เพื่อช่วยให้นักเรียนได้มีความเข้าใจผู้อื่น มีความสามารถในการ
ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ทาให้มีชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
4. เพื่อช่วยให้นักเรียนรู้จักรักษาสุขภาพกายและสุขภาพจิตของตนเอง
ให้ดีอยู่เสมอเพื่อจะได้ไม่เป็นปัญหาหรืออุปสรรคต่อการดาเนินชีวิตของตน
5. เพื่อช่วยให้นักเรียนเป็นผู้มีเจตคติ ค่านิยมและจริยธรรมที่ถูกต้อง
ไม่ประพฤติปฏิบัติตนไปในทางที่เสื่อมเสีย
6. เพื่อช่วยให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาให้เกิดประโยชน์แก่ตนอย่างแท้จริง
จุดมุ่งหมายของการแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม
กระบวนการแนะแนวและช่วยเหลือนักเรียน
กระบวนการแนะแนวและช่วยเหลือนักเรียน (ต่อ)
บริการให้คาแนะนาปรึกษาเป็นหัวใจของการแนะแนว ดังนั้น
คุณสมบัติของครูผู้ให้คาแนะนาปรึกษา รวมทั้งหน้าที่และบทบาทของเขาจึง
มีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งต่อโปรแกรมการแนะแนวของโรงเรียน คุณสมบัติ
และบุคลิกข้างล่างนี้ เป็นสิ่งจาเป็นที่ครูผู้ให้คาแนะนาปรึกษาจะต้องมี คือ
1.มีความเมตตากรุณา
2.มีความเป็นมิตร
3.เป็นตัวของตัวเอง
4.มีอารมณ์ขัน
5.มีความจริงใจ
6.ใจกว้าง
คุณสมบัติครูแนะแนว
7.สนใจนักเรียนอย่างแท้จริง
8.เต็มใจที่จะช่วยเหลือคนอื่น หรือให้บริการคนอื่น
9.เชื่อและยอมรับความสามารถของนักเรียน
10.เข้าใจความรู้สึก ทัศนคติและปฏิกิริยาของคนอื่นได้ง่าย
11.มีอารมณ์มั่นคงและมีความเที่ยงตรง
12.เป็นคนยอมรับความจริง
13.เป็นคนที่คนอื่นไว้วางใจได้
14.มีสุขภาพดีทั้งกายและอารมณ์
คุณสมบัติครูแนะแนว (ต่อ)
1.ให้บริการด้วยความเต็มใจโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
2.ยอมรับและศรัทธาในวิชาชีพจิตวิทยาการแนะแนวและเป็นสมาชิกที่ดี
ขององค์กร
3.เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจแก่ผู้รับบริการด้วยความบริสุทธิ์ใจ
โดยเสมอหน้า
4.มีวิสัยทัศน์และพัฒนาตนเองด้านวิชาชีพให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ
โลก
5.ปฏิบัติงานตามหลักวิชาชีพจิตวิทยาการแนะแนว
จรรยาบรรณวิชาชีพจิตวิทยาการแนะแนว
• 6.รักษามาตรฐานและรับผิดชอบต่อการประกอบวิชาชีพจิตวิทยาการ
แนะแนว
• 7.ยุติการให้บริการที่นอกเหนือความสามารถของตนและส่งต่อไปยัง
บุคคลที่เหมาะสม
• 8.รักษาความลับขอผู้รับบริการและผู้เกี่ยวข้อง
• 9.เคารพสิทธิและไม่แสวงหาผลประโยชน์จากผู้รับบริการ
จรรยาบรรณวิชาชีพจิตวิทยาการแนะแนว
• 1.ช่วยให้นักเรียนได้รู้จักและเข้าใจตนเองอย่างถ่องแท้ทาให้สามารถปรับตัว
อยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดี สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่ตนประสบได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ สามารถวางแผนการชีวิตในอนาคตของตนเองและสามารถนา
ตนเองไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ทั้งยังช่วยให้นักเรียนได้รับการส่งเสริมพัฒนา
ให้เกิดความเจริญงอกงามทุกด้านอย่างมีบูรณาการ
• 2.ช่วยให้คณะครูได้รู้จักนักเรียนของตนแต่ละคนอย่างลึกซึ้ง เข้าใจว่านักเรียน
แต่ละคนมีความแตกต่างในด้านต่างๆ เช่น สติปัญญา สภาพร่างกาย ความ
ถนัด ความสนใจ ค่านิยม ทาให้ทางโรงเรียนสามารถจัดการเรียนการสอน
และจิตกรรมต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการของ
นักเรียน
ประโยชน์ของการจัดบริการแนะแนวในโรงเรียน
• 3.ช่วยให้บิดามารดาและผู้ปกครองของนักเรียนรู้จักและเข้าใจเด็กของ
ตนดีขึ้น ยอมรับสภาพความเป็นจริงเกี่ยวกับบุตรหลานของตนในฐานะ
ที่เป็นบุคคลคนหนึ่งซึ่งแตกต่างจากบุคคลอื่นๆ และให้ความร่วมมือแก่
ทางโรงเรียนในการส่งเสริมพัฒนาบุตรหลานของตน
• 4.ช่วยให้สังคมและประเทศชาติได้รับประชากรที่มีคุณภาพ ไม่เป็นผู้ที่
ก่อให้เกิดปัญหาสังคมและช่วยเพิ่มพูนเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจาก
เด็กได้เรียนและได้ประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความสามารถ ความ
ถนัด และความสนใจของตน
ประโยชน์ของการจัดบริการแนะแนวในโรงเรียน
กระบวนการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้มาขอคาปรึกษา เพื่อให้เขาได้
ใช้ความสามารถที่เขามีอยู่จัดการกับปัญหาของเขาได้สามารถตัดสินใจ
แก้ปัญหาได้
กระบวนการให้คาปรึกษาจะเกี่ยวข้องกับสิ่งสาคัญ 3 ประการ
1. ผู้ให้คาปรึกษา (Counselor)
2. ผู้มาขอรับคาปรึกษา (Counselee)
3. ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง Counselor และ Counselee
การให้คาปรึกษา
การให้คาปรึกษานี้มีลักษณะที่แตกต่างจากการให้บริการอื่นๆ ดังนี้
คือ (กรมสุขภาพจิต, 2540 ; Gladding, 1996)
1. มีทฤษฏี กระบวนการและเทคนิคการให้คาปรึกษาให้ครูได้
เลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมกับลักษณะของปัญหาและธรรมชาติของ
นักเรียน
2. เน้นสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครูผู้ให้และนักเรียนผู้รับคาปรึกษา
เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้สึกไว้วางใจ และกล้าเปิดเผยตนเอง ซึ่งจะช่วยให้
การให้คาปรึกษาดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้การสนทนา หรือการ
สื่อสารสองทางระหว่างครูกับนักเรียน เป็นเครื่องมือสาคัญของการให้
คาปรึกษา
การให้คาปรึกษา
3. เน้นปัจจุบัน เพื่อให้นักเรียนอยู่ในโลกของความเป็นจริง และ
สามารถค้นหาแนวทางแก้ไขที่เป็นไปได้ในปัจจุบัน
4. ไม่มีคาตอบสาเร็จรูปตายตัว เพราะการให้คาปรึกษาเป็นทั้ง
ศาสตร์และศิลป์ วิธีการแก้ปัญหาในแต่ละกรณีจะไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับ
สถานการณ์และสภาพปัญหา โดยนักเรียนจะเป็นผู้ตัดสินใจเลือกแนวทาง
แก้ปัญหาด้วยตัวเอง
5. ครูผู้ให้คาปรึกษาต้องให้เกียรติ และยอมรับนักเรียนที่มาขอรับ
คาปรึกษาอย่างไม่มีเงื่อนไข ไม่ตัดสิน ไม่ประเมิน และไม่วิพากษ์วิจารณ์
หรือตาหนินักเรียน
การให้คาปรึกษา
การให้คาปรึกษาแก่นักเรียนมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยนักเรียนในเรื่องต่อไปนี้
1. สารวจตนเอง และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และเข้าใจ
2. ลดระดับความเครียด และความไม่สบายใจที่เกิดการมี
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
3. พัฒนาทักษะทางด้านสังคม ทักษะการตัดสินใจ และทักษะการ
จัดการกับปัญหาให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
4. เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทิศทางที่พึงประสงค์ เช่น มีความ
รับผิดชอบในหน้าที่ต่างๆ มากขึ้น มีพฤติกรรมการเรียนที่ดี และสร้าง
สัมพันธภาพกับผู้อื่นได้ดีขึ้น
วัตถุประสงค์ของการให้คาปรึกษา
การให้คาปรึกษาสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้
1. การให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Counseling)
2. การให้คาปรึกษาแบบกลุ่ม (Group Counseling)
ประเภทของการให้คาปรึกษา
ทักษะการให้คาปรึกษา คือความสามารถหรือความชานาญในการ
สื่อสาร ทั้งการใช้ภาษาท่าทางและภาษาพูด ซึ่งเป็นเครื่องมือสาคัญของผู้ให้
คาปรึกษาในการช่วยเหลือบุคคลที่มีความทุกข์หรือผู้รับคาปรึกษาให้
1) มีความไว้วางใจและมีทัศนคติที่ดีต่อผู้ให้คาปรึกษาและการ
ปรึกษา
2) เข้าใจปัญหา สาเหตุของปัญหาและความต้องการของตัวเอง
3) แสวงหาและแนวทางการปรับเปลี่ยนการคิด การรู้สึกและการ
ปฏิบัติตนเพื่อให้มีชีวิตที่ดีขึ้น
ทักษะการให้คาปรึกษา
3.เข้าใจปัญหาสาเหตุและความต้องการ
ผู้ให้คาปรึกษาช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาเข้าใจปัญหา สาเหตุ และความต้องการของตนเอง
2.สารวจปัญหา
ผู้ให้คาปรึกษาช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาได้สารวจปัญหาและปัจจัยต่างๆ ที่ทาให้เกิดปัญหา
1.การสร้างสัมพันธภาพ
ผู้ให้คาปรึกษาต้องทาให้ผู้รับคาปรึกษาเกิดความอบอุ่น สบายใจ และไว้วางใจ
ขั้นตอนการให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล
5.ยุติการให้คาปรึกษา
ผู้ให้คาปรึกษาย้าความเข้าใจที่เกิดขึ้นระหว่างที่ให้คาปรึกษา และช่วยให้ผู้รับ
คาปรึกษามีแรงจูงใจและกาลังใจที่จะแก้ปัญหาและพัฒนาตนเอง
4.วางแผนแก้ปัญหา
ผู้ให้คาปรึกษาช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาพิจารณาวิธีแก้ปัญหาและตัดสินใจเลือกสิ่งที่
จะปฏิบัติด้วยตนเอง
ขั้นตอนการให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล
ขั้นที่ 1 ขั้นก่อตั้งกลุ่ม ในขั้นนี้สมาชิกที่เข้ากลุ่มยังไม่กล้าเปิดเผย
ตนเอง ผู้ให้คาปรึกษาจะต้องชี้แจงวัตถุประสงค์ของการให้คาปรึกษา
และสร้างสัมพันธภาพที่ดี ให้เกิดขึ้นในกลุ่ม
ขั้นที่ 2 ขั้นการเปลี่ยนแปลงลักษณะของสมาชิก กลุ่มเริ่มมีการ
เปลี่ยนแปลงและพัฒนาการขึ้นบ้าง สมาชิกเริ่มรู้จักไว้วางใจกันแต่ก็
ยังมีความวิตกกังวลมีความตึงเครียดอยู่บ้าง ผู้ให้คาปรึกษาจะต้อง
พยายามชี้แจงให้สมาชิกกล้า อภิปรายปัญหาตัวเอง อย่างเปิดเผย
ขั้นตอนการให้คาปรึกษาแบบกลุ่ม
ขั้นที่ 3 ขั้นดาเนินการ สัมพันธภาพระหว่างสมาชิกในกลุ่มจะดีขึ้น
มาก กล้าเปิดเผยตนเอง อภิปรายปัญหาตามความเป็นจริง แก้ปัญหา
ของสมาชิก ทุกคนได้สารวจตัวเอง เข้าใจปัญหาและพร้อมจะ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตน
ขั้นที่ 4 ขั้นยุติการให้คาปรึกษา เมื่อสมาชิกเข้าใจปัญหาอย่างกระจ่าง
แจ้ง รู้จักแก้และเลือกวิธีที่เหมาะสมกับตน นาไปปฏิบัติด้วยความ
พอใจ ไม่มีข้อข้องใจตกค้าง ก็ให้ยุติการให้คาปรึกษาแบบกลุ่มได้
ขั้นตอนการให้คาปรึกษาแบบกลุ่ม
ครูผู้ที่จะทาหน้าที่ให้คาปรึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพควรมีลักษณะ
ส่วนตัว ดังต่อไปนี้ (จีน แบรี่ , 2538)
1. รู้จัก และยอมรับตนเอง
2. อดทน ใจเย็น
3. จริงใจ และตั้งใจช่วยเหลือผู้อื่น
4. มีท่าทีที่เป็นมิตร และมองโลกในแง่ดี
5. ไวต่อความรู้สึกของผู้อื่น และช่างสังเกต
6. ใช้คาพูดได้เหมาะสม
7. เป็นผู้รับฟังที่ดี
นอกจากนี้ยังควรมีคุณลักษะที่สาคัญ คือ มีบุคลิกภาพที่ดี และการ
รักษาความลับ
คุณลักษณะของครูผู้ให้คาปรึกษา
จบการนาเสนอ
คณะผู้จัดทา
น.ส.สราวีย์ รัตนจงเกียรติ น.ส.ณัฏฐวี พงษ์สมบูรณ์ น.ส.อรัญญา ศิริรักษ์
น.ส.ภัสราภรณ์ สิงห์ลอ นายภูณัฐโชค ธงภักดิ์ น.ส.จารุวรรณ ชื่นใจชน
นายภูณัฐโชค ธงภักดิ์
หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย
1. การให้คาปรึกษา หลักการให้คาปรึกษา ขั้นตอนการให้
คาปรึกษารายบุคคล และแบบกลุ่ม คุณลักษณะของครูผู้ให้
คาปรึกษา
น.ส. จารุวรรณ ชื่นใจชน
หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย
1. การแนะแนว ความหมายและความสาคัญของการบริการแนะ
แนวในโรงเรียนประโยชน์ของการแนะแนว กระบวนการแนะ
แนวช่วยเหลือดูแลนักเรียน
2.จรรยาบรรณวิชาชีพจิตวิทยาการแนะแนว
การค้นคว้าข้อมูล
 สุรางค์ โค้วตระกูล. (2545). จิตวิทยาการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 5).
กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
มัลลวีร์ อดุลวัฒนศิริ.2554. เทคนิคการให้คาปรึกษา : การนาไปใช้.
ขอนแก่น : โรงพิมพ์คลังนานา.
 การแนะแนว. [ออนไลน์] . เข้าถึงได้จาก :
https://sites.google.com/site/krutubtib/kar-eneaenewelea-kar-pruksa-
cheing-citwithya . (วันที่ค้นข้อมูล : 11 เมษายน 2559).
เอกสารอ้างอิง
คุณสมบัติครูแนะแนว. [ออนไลน์] . เข้าถึงได้จาก
http://400205counseling.blogspot.com/p/blog-page_30.html. (วันที่ค้น
ข้อมูล : 20 เมษายน 2559).
กระบวนการให้คาปรึกษา . [ออนไลน์] . เข้าถึงได้จาก :
http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/counseling-
service.htm. (วันที่ค้นข้อมูล : 11 เมษายน 2559).
กระบวนการในการแก้ไขปัญหานักเรียน. [ออนไลน์] . เข้าถึงได้จาก :
care2556.yangkon.ac.th/file/Syshelp.doc. (วันที่ค้นข้อมูล : 11 เมษายน
2559).
เอกสารอ้างอิง

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาChowwalit Chookhampaeng
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยnaykulap
 
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดsarawut chaicharoen
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55Decode Ac
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม Sireetorn Buanak
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการJariya
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งMapowzee Dahajee
 

La actualidad más candente (20)

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
 
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดการช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
Ast.c2560.5t
Ast.c2560.5tAst.c2560.5t
Ast.c2560.5t
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่ง
 

Similar a จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
วิธีการสอนแบบแก้ปัญหา
วิธีการสอนแบบแก้ปัญหาวิธีการสอนแบบแก้ปัญหา
วิธีการสอนแบบแก้ปัญหาJindarat JB'x Kataowwy
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nattawad147
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8benty2443
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8wanneemayss
 
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยKruBeeKa
 
Education problem of thailand
Education problem of thailandEducation problem of thailand
Education problem of thailandtenglifangad
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์bussaba_pupa
 

Similar a จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา (20)

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
การจัดกิจกรรมแนะแนว
การจัดกิจกรรมแนะแนวการจัดกิจกรรมแนะแนว
การจัดกิจกรรมแนะแนว
 
วิธีการสอนแบบแก้ปัญหา
วิธีการสอนแบบแก้ปัญหาวิธีการสอนแบบแก้ปัญหา
วิธีการสอนแบบแก้ปัญหา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
 
Education problem of thailand
Education problem of thailandEducation problem of thailand
Education problem of thailand
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
10 km 1
10 km 110 km 1
10 km 1
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
 

จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา