SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 34
Descargar para leer sin conexión
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                                          คํานํา

          แบบฝกทักษะการอานอยางมีวิจารณญาณโดยใชวิธีอานแบบ SQ๔R               ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖
เลมที่ ๔ สรางสรรคจรรโลงในในเพลง จัดทําขึ้นเพื่อเปนเครื่องมือ ในการพัฒนาทัก ษะการคิดอยางมี
วิจารณญาณ ซึ่งการอานอยางมีวิจารณญาณเปนพื้นฐานสําคัญของการพัฒนาผูเรียนใหรูจักคิดเปนระบบ
คิดอยางมีเหตุผลเหมาะสม แบบฝกทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ มีทั้งหมด ๘ เลม ดังนี้
          เลมที่ ๑ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว
          เลมที่ ๒ สังเคราะหเรื่องราวสารคดี
          เลมที่ ๓ เรียนรูวิถีชีวิตจากเรื่องสั้น
          เลมที่ ๔ สรางสรรคจรรโลงใจในเพลง
          เลมที่ ๕ คิดเกง คิดสนุกดวยนิทาน
          เลมที่ ๖ วิเคราะหเจาะสารจากบทความ
          เลมที่ ๗ ภาษางามงดจากบทรอยกรอง
          เลมที่ ๘ พินิจคิดคลองดวยเพลงพระราชนิพนธในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯสยามบรมราชกุมารี
          แบบฝกทักษะแตละเลมจะมีแผนการจัดการเรียนรูเปนคูมือการฝก ซึ่งเปนการสอนสอดแทรกในการ
เรียนการสอน โดยใชวิธีอานแบบ SQ๔R มี ๖ ขั้นตอน
          ผูจัดทําหวังวาแบบฝกทัก ษะการอ านอยางมีวิจ ารณญาณเลม นี้ จะเปนแนวทางหนึ่ง ในการจัด
กระบวนการสอนคิดใหกับผูเรียนไดตามเจตนารมณของหลักสูตร และเปนประโยชนตอการจัดกระบวนการ
เรียนรูของครูในกลุมสาระการเรียนรูภาไทยและกลุมสาระอื่นๆไดตามสมควร




                                              ๑
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                                                   สารบัญ
เรื่อง                                                                             หนา
          คําชี้แจงสําหรับครุผูสอน
          คําชี้แจงสําหรับนักเรียน
          สาระ/มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด
                                    
          สาระสําคัญ/จุดประสงคการเรียนรู
          แบบทดสอบกอนเรียน
          กรอบเนื้อหา
          กิจกรรมที่ ๑ ฝกสมองประลองปญญา
             กิจกรรมที่ ๑.๑ ปริศนาภาพคําทาย
             กิจกรรมที่ ๑.๒ วิเคราะหความสัมพันธของคํา
          กิจกรรมที่ ๒ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว
             ขั้นที่ ๑
             ขั้นที่ ๒
             ขั้นที่ ๓
             ขั้นที่ ๔
             ขั้นที่ ๕
             ขั้นที่ ๖
         แบบทดสอบหลังเรียน
         เฉลยแบบทดสอบ
         บรรณานุกรม




                                                          ๒
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                          คําชี้แจงสําหรับครูผูสอน

๑. ครูเตรียมและสํารวจความพรอมของแบบฝกหัดใหเพียงพอกับจํานวนนักเรียน
๒. ครูศึกษาเนื้อหาและลําดับขั้นตอนของแบบฝกทักษะใหเขาใจชัดเจน
๓. กอนลงมือสอนหรือปฏิบัติกิจกรรม ครูควรอธิบายใหนักเรียนทราบถึงจุดประสงคในการทําแบบฝกทักษะ
    แตละครั้งและใหนักเรียนเห็นประโยชนและคุณคาของการทําแบบฝกทักษะ
๔. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน กอนที่จะศึกษาแบบฝกแตละเลม ซึ่งในแตละเลมจะมีแบบทดสอบยอย
   กอนเรียนและหลังเรียน
๕. ใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะจากงายไปหายาก
๖. การทําแบบฝกทักษะทุกครั้งนักเรียนควรมีสวนรวม เชน รวมคิด รวมแสดงอภิปราย ตรวจผลงาน
    และสรุปองคความรูดวยตนเอง
๗. ขณะที่นักเรียนศึกษาแบบฝกทักษะและปฎิบัติกิจกรรม ครูควรดูแลอยางใกลชิด หากมีนักเรียนคนใดหรือกลุมใด
    สงสัยใหแนะนําเปนรายบุคคลหรือรายกลุมเพื่อไมเปนการรบกวนผูอื่น
๘. ครูควรมีการเสริมแรงแกนักเรียนทุกครั้ง
๙. การทําแบบฝกทักษะทุกครั้งตองบันทึกผล เพื่อดูพัฒนาการของนักเรียน
๑๐. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้งหนึ่ง
๑๑. การวัดและประเมินผลจากสภาพจริง




                                                  ๓
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                                 คําชี้แจงสําหรับนักเรียน

        แบบฝกทักษะการอานอยางมีวิจารณญาณโดยใชวิธีการอานแบบSQ๔R เลมที่ ๑ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว
ที่นักเรียนจะไดศึกษาตอไปนี้ เปนแบบฝกพัฒนาทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ ที่เหมาะกับวัยนักเรียน
สามารถศึกษาไดดวยความเขาใจและประสบความสําเร็จในการเรียนดวยการปฏิบัติตามคําแนะนําตอไปนี้
        ๑. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สาระสําคัญ และจุดประสงคการเรียนรูใหเขาใจ
        ๒. ทําแบบทดสอบกอนเรียน แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จํานวน ๑๐ ขอ
        ๓. ฝกทักษะวิธีอานแบบSQ๔Rซึ่งมี ๖ ขั้นตอน
              ขั้นตอนที่ ๑ S (Survey)การอานเนื้อเรื่องอยางคราวๆ เพื่อหาจุดสําคัญของเรื่อง
              ขั้นตอนที่ ๒ Q (Question) การตั้งคําถาม
              ขั้นตอนที่ ๓ R๑ (Read) การอานอยางละเอียดเพื่อหาคําตอบของคําถามที่ตั้งไว
              ขั้นตอนที่ ๔ R๒ (Record) การจดบันทึกขอมูลตางๆตามความเขาใจของตนเอง
              ขั้นตอนที่ ๕ R๓ (Recite) การเขียนสรุปใจความสําคัญโดยใชถอยคําของตนเอง
              ขั้นตอนที่ ๖ R๔ (Reflect) การวิเคราะห วิจารณ เรื่องที่อานแลวแสดงความคิดเห็น
       หากนักเรียนไมเขาใจหรือตอบคําถามไมได ใหยอนกลับไปอานเนื้อหาแบบฝกทักษะใหมอีกครั้งแลวตอบใหม
หรือทํากิจกรรมนั้นใหมหรือขอคําแนะนําจากครู
       ๔. นักเรียนตรวจคําตอบดวยตัวเองหรือแลกเปลี่ยนกันตรวจกับเพื่อนโดยครูเปนผูแนะนํา
       ๕. ทําแบบทดสอบหลังเรียน แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จํานวน ๑๐ ขอ เพื่อเปรียบเทียบคะแนน
กอนเรียนและหลังเรียน




                                                     ๔
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




    แบบฝกทักษะการอานอยางมีวิจารณญาณโดยใชวิธีการอานแบบSQ๔R
                   เลมที่ ๑ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว
            กลุมสาระการเรียนรูภาษไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖




                           เวลา ๒ ชั่วโมง




สาระที่ ๑ การอาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชในการ
                        ตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิตและมรนิสัยรักการอาน
ตัวชี้วัด
          ม.๓/๓ ระบุใจความสําคัญและรายละเอียดของขอมูลที่สนับสนุนจากเรื่องที่อาน
          ม.๓/๔ อานเรื่องตางๆ แลวเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ยอความ
                 และรายงาน
          ม.๓/๙ ตีความและประเมินคุณคา แนวคิดที่ไดจากงานเขียนอยางหลากหลาย
                 เพื่อนําไปใชแกปญหาในชีวิต




                                      ๕
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว



                                        สาระสําคัญ




            การอานอยางมีวิจารณญาณจากบทความเปนการอานที่ผูอานตองใชวิจารณญาณ
            ความคิดและเหตุผลเพื่อวิเคราะหใครครวญและตัดสินวา สารที่อานนั้นเชื่อได
           หรือไม และสามารถประเมินคาจากสิ่งที่อานวาดีมีประโยชนอยางไรบาง ใหขอคิด
           คติสอนใจ อยางไร จึงควรฝกฝนใหเกิดความชํานาญ




                               จุดประสงคการเรียนรู

๑.ดานความรู (K)
๑.๑นักเรียนสามารถสรุปสาระสําคัญจากขาว โดยใชวิธีการอานแบบ SQ๔R ได
๒.ดานทักษะ/กระบวนการ
   ๒.๑นักเรียนสามารถวิเคราะห สังเคราะห ประเมินคาจากขาได
๓.ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค (A)
                  ๓.๑ความกระตือรือรนตั้งใจเรียน
                  ๓.๒มีความรับผิดชอบ
                  ๓.๓ปฏิบัติงานตามเวลาที่กําหนด
                  ๓.๔ความสนใจเรียนและซักถาม


                                                   ๖
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว



                             แบบทดสอบกอนเรียนแบบฝกทักษะเลมที่ ๑

        คําชี้แจง
               ๑.แบบทดสอบกอนเรียน ฉบับนี้ใชทดสอบความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการอานอยางมีวิจารณญาณ
แบบฝกทักษะเลมที่ ๑ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว
เปนแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จํานวน ๑๐ ขอ ขอละ ๑ คะแนนใชเวลาในการทดสอบ ๑๐ นาที
               ๒.ใหนักเรียนอานขอคําถามและคําตอบใหละเอียด เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
แลวนําไปตอบลงในกระดาษคําตอบ โดยทําเครื่องหมาย X ลงในชองตัวเลือกที่ตองการ
               ๓.ใหนักเรียนทําแบบทดสอบใหครบทุกขอ


        อานขาวตอไปนี้แลวตอบคําถามขอที่ ๑-๕

        นักเรียน ปวช.หึงโหดแทงคูอริดับ
        หนุม ปวช.ชะตาขาด ถูกเพื่อนโรงเรียนเดียวกันแทงดับอนาถ กอนรอมอบตัว เผยเหยื่อเขามาเคลียร
ปญหาแฟนเกาจนมีปากเสียงขั้นชกตอย สูไมไหวใชเหล็กแทง ตร.คาดแฟนสาวเคยเปนแฟนเกาผูตาย
        พ.ต.ต.ปติพันธ กฤดากร ณ อยุธยา สว.สป.สน.ดินแดง รับแจงจากศูนยวิทยุวาเกิดเหตุทะเลาะวิวาท
มีผูไดรับบาดเจ็บภายในบริเวณกองดุริยางคทหารบก ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.
จึงไปตรวจสอบที่เกิดเหตุที่บริเวณลาดจอดรถแฟลตทหาร ภายในรั้วกองดุริยางคทหารบก เจาหนาที่พบกองเลือด
และนายกิตติพงษ พงษเจื่อ อายุ ๒๐ ปนักเรียน ปวช.ป ๑ โรงเรียนพานิชยการสยาม ยืนถือเหล็กปลายแหลม
มีเลือดติด โดยยอมรับวาใชเหล็กแทงนายลิขิต ทองดี อายุ ๑๙ ป นักเรียน ปวช. ป ๑ โรงเรียนเดียวกันจนไดรับ
บาดเจ็บพลเมืองดีนําสงโรงพยาบาลและเสียชีวิตในเวลาตอมา
        นายกิตติพงษ ยอมรับวาแทงนายลิขิตถึงแกความตายจริง โดยกอนเกิดเหตุมีเรื่อง ทะวิวาทกับผูตาย
หลังจากที่นายลิขิต เดินทางมาเพื่อเคลียรปญหากับ น.ส.นก แอบเพ็ชร กอนหนาเคยเปนแฟนนายลิขิต พูดคุย
กันจนมีปากเสียงและถึงขั้นทะเลาะวิวาท เกิดชกตอยกันขึ้น นายกิตติพงษ สูไมไหว จึงใชเหล็กขูดชารปแทง
นายลิขิตและรอมอบตัว
        เจาหนาตํารวจดําเนินคดีในขอหาฆาผูอื่น และพกอาวุธ (เหล็กปลายแหลม) ไปในเมือง หมูบาน หรือทาง
สาธารณะ โดยไมมีเหตุจําเปน และไมมีเหตุอันควร
                                                           คมชัดลึก ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ หนา ๓


                                                      ๗
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




๑. ขาวขางตนเปนขาวประเภทใด
   ก. ขาวธุรกิจ
   ข. ขาวเศรษฐกิจ
   ค. ขาวอาชญากรรม
   ง. ขาวการเมือง
๒. “นักเรียนปวช.หึงโหดแทงคูอริดับ” จากขอความนี้ คือสวนใดของขาว
   ก. เนื้อขาว
   ข. พาดหัวขาว
   ค. สวนเชื่อม
   ง. ความนํา
๓. นักเรียนเห็นดวยหรือไม กับการกระทําของนายกิตติพันธที่ใชเหล็กแทงนายลิขิต
   ก. เห็นดวย เพราะแคนที่นายลิขิตยังมาของแวะแฟนสาวอีก
   ข. เห็นดวย เพราะเปนตัวอยางใหกับคูรักอื่น ๆ ที่มีปญหาเชนนี้
   ค. ไมเห็นดวย เพราะเปนการกระทําที่เกินเหตุ
   ง. ไมเห็นดวย เพราะไมเชนแนวทางแกปญหาใหหมดไปได




                                         ๘
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




๔. ทําอยางไร จึงจะปองกันไมใหเกิดเหตุการณเชนนี้

    ก. พอ แม ครูควรดูแลเอาใจใสอยางใกลชิด

    ข. พอแมควรเปนที่ปรึกษาใหลูก

    ค. นักเรียนไมควรริรักในวัยเรียน

    ง. ครูควรสอนทักษะชีวิต

๕ . นักเรียนคิดวาอะไรคือสาเหตุสําคัญที่สุดที่ทําใหเกิดเหตุการณเชนนี้

    ก. น.ส.นก แอบเพ็ชร เปนคนหลายใจ

    ข. นายกิตติพันธ เปนวัยรุนใจรอน

    ค. ทางวิทยาลัยไมเอาใจใสนักเรียนเทาที่ควร

    ง. นักเรียนไมไดรับความเอาใจใสจากครู และผูปกครอง




                                         ๙
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




อานขาวตอไปนี้แลวตอบคําถามขอที่ ๖-๑๐

         ตะลึงเด็กวัย ๑๒ ปวยโรคพิสดาร อาการประสาทถดถอยสมองสวนกลางหด พบยากแค ๑ ในลาน
พี่ชายเปน-ตายไปแลว นองจาบ อายุ ๑๒ ปจากเด็กที่อวนทวนสมบูรณแข็งแรง ฉลาดเกินวัยเรียนเกง จูๆ กลับตาพรา
มัวจนบอดสนิท พูดจาออแอไมรูเรื่อง เหมือนหวนกลับมาเปนทารกแถมเดินไมได ตองนอนใหอาหารทางสายยาง
รางกายผายผอมเหลือแตหนังหุมกระดูก พอเผยลูกชายคนแรกปวยเปนโรคประหลาดแบบเดียวกันจนตายตอนอายุ ๖
ขวบ หมอระบุเปนโรคแปลกพบไดแค ๑ ในลานเทานั้น ตองผาตัดเปลี่ยนไขสันหลัง โอกาสรอด รอยละ ๕๐: ๕๐
        เด็กปวยเปนโรคประหลาดรายนี้ชื่อเด็กชายกฤษกรณ คาชัยวงค หรือนองจาบ อายุ ๑๒ ป นร. ชั้น ป.๕
 บานเลขที่ ๑ หมู ๒ บานปาตาล ต. เถินบุรี อ.เถิน จ. ลําปาง คือเปนโรคประสาทถดถอย จากเคยที่เปนเด็กเรียนเกง
 สอบไดเกรด ๔ ทุกวิชา เฉลียวฉลาดเกินวัยเหมือนผูใหญ ตอมากลับลมปวย พัฒนาการทางสมองถดถอยลงกลับ
 เหมือนเด็กวัยทารก โดยเริ่มจากอาการตาพรามัวมองไมเห็น มักจะเดินชนผนังหองอยูบอย ๆ จนครูและเพื่อน
 นักเรียนตองชวยกันดูแลขณะเขารวมกิจกรรม พูดจาออแอไมเปนภาษา และเขียนหนังสือไมได พอแมพาไปรักษาตัว
 มาหลายโรงพยาบาลแตไมหายขาด สุดทายตองมารักษาตัวที่บานตามยถากรรม จนอาการทรุดหนัก และมีอาการ
 เกร็งตามกลามเนื้ออยูบอยครั้ง
        แมเด็กเลาวาเคยมีลูกคนแรกเปนชายชื่อนองเมท หลังคลอดก็แข็งแรงสมบูรณทุกอยาง มีพัฒนาการเหมือน
เด็กทั่วๆไปกระทั้งอายุ ๔ ขวบ เกิดลมปวยดวงตาพรามัวมองไมเห็น พาไปหาหมอ ถึง รพ.กรุงเทพฯ แหงหนึ่ง หมด
ตรวจดูอาการ แลวบอกวารักษายาก เพราะเปนโรคที่โอกาสปวยแค ๑ ในลานรายเทานั้น แตไมบอกวาเปนโรคอะไร
แถมบอกวาถาเปนลูกผูหญิงมีโอกาสรอดสูง แตเปนลูกชาย โอกาสอดเพียง รอยละ ๑๐ หมอก็รักษาจนสุด
ความสามารถ และพาลูกกลับมารักษาตัวที่บานและเสียชีวิตลงใน ๒ ปตอมา
        ตอมาทีมแพทยที่เชี่ยวชาญทางสมอง วินิจฉัยอาการและเอ็กซเรยดู อาการของนองจาบวา เปนโรคประหลาด
เชนเดียวกับลูกคนแรก คือสมองสวนกลางมีลักษณะหดตัว มีรอยแยกหางออกจากกัน การเจริญเติบโตของสมองไม
ตอเนื่อง มีลักษณะถดถอย สงผลใหประสาทสวนกลางทํางานผิดปกติ เปนโรคที่พบยากมาในประเทศไทย โอกาสเปน
แค ๑ ในลานคนเทานั้น แตเคยพบมาแลวที่ญี่ปุน การรักษามีวิธีเดียวคือ การผาตัดปลูกถายไขสันหลังใหม แตมีโอกาส
รอดเพียง รอยละ ๕๐ เทานั้น
                                                                             เดลินิวส ๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ หนา ๒



                                                      ๑๐
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




๖. ขาวขางตนเปนขาวประเภทใด
   ก. ขาวการเมือง
   ข. ขาวเศรษฐกิจ
   ค. ขาวธุรกิจ
   ง. ขาวสังคม


“ตะลึงเด็กวัย ๒ ปวยโรคพิสดาร อาการประสาทถดถอย สมองสวนกลางหด พบยาก
แค ๑ ในลานพี่ชายเปน-ตายไปแลว นองจาบ อายุ ๑๒ ป จากเด็กที่อวนทวนสมบูรณแข็งแรง
ฉลาดเกินวัย เรียนเกง จูๆ กลับตาพรามัวจนบอดสนิท พูดจาออแอไมรูเรื่อง เหมือนหวน
กลับมาเปนทารกแถมเดินไมได ตองนอนใหอาหารทางสายยางรางกายผายผอมเหลือ
แตหนังหุมกระดูก พอเผย ลูกชายคนแรก ปวยเปนโรคประหลาดแบบเดียวกัน จนตายตอน
อายุ ๖ ขวบ หมอระบุเปนโรคแปลกพบไดแต ๑ ในลานเทานั้น ตองผาตัดเปลี่ยนไขสันหลัง
โอกาสรอด รอยละ ๕๐: ๕๐”


๗. ขอความที่ปรากฏในขาวสวนที่ยกมานี้เปนองคประกอบใดของขาว
   ก. พาดหัวขาว
   ข. ขาวนา
   ค. สวนเชื่อม
   ง. เนื้อขาว




                                             ๑๑
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




๘. นักเรียนคิดวาอะไรคือสาเหตุสําคัญของการเกิดโรคนี้
   ก. เกิดจากพันธุกรรม
   ข. เกิดจากโรคเนื้องอกในสมอง
   ค. เกิดจากสมองไดรับความกระทบกระเทือน
   ง. เกิดจากเด็กใชสมองมากเกินไป

๙. การผาตัดเปลี่ยนไขสันหลังผาตัดใครกับใคร
    ก. ของตัวเราเอง
    ข. ของญาติฝายพอ
    ค. ของญาติฝายแม
    ง. บุคคลในสายเลือดเดียวกัน

๑๐. หากนักเรียนเปน พอ หรือแม ของนองจาบนักเรียนจะทําอยางไรจึงจะปองกัน
ไมใหเกิดโรคแบบนี้อีก
    ก. ตรวจสุขภาพประจําป
    ข. ปองกันไมใหมีลูก
    ค. มีลูกไดแตตองระวังและทําใจ
    ง. ปรึกษาแพทยทุกป




                                              ๑๒
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




กอนที่จะฝกทักษะ เลมที่ ๑
เรามาลองลับสมองประลอง
ปญญากันหนอยนะครับ




    ๑๓
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                  กิจกรรมที่ ๑
             ฝกสมองประลองปญญา

                   กิจกรรมที่ ๑.๑

คําชี้แจง ใหนักเรียนทายคําจากภาพปริศนา




         ตอบ………………………………………………………………………



                               ๑๔
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                                        กิจกรรมที่ ๑.๒


คําชี้แจง จงวิเคราะหวาคําในขอใดมีความหมายสัมพันธกับคําที่กําหนดให (คําราชาศัพท)



                       ตัวอยาง    ปวย = อาพาธ  มรณภาพ = ?

                       ก. จําวัด ข.ประชวร ค. ตาย ง. ทําวัตร

             ๑. ฉลองพระเนตร = แว่นตา  ฉลองพระองค์ = ?

             ก. รองเท้ า      ข. กางเกง     ค. เสื อ         ง. ถุงมือ

             ๒. ประเคน = ถวาย  นิมนต์ = ?

             ก. รับประทาน ข. เชิญ           ค. นอนหลับ ง. ให้ พร

             ๓. โอรส = ลูกชาย  นัดดา = ?

             ก. ลูกสาว        ข. น้ องสาว ค. หลาน            ง. เหลน

             ๔. พระทนต์ = ฟั น  ไรพระทนต์ = ?

             ก. ซีฟั น        ข. ไรฟั น     ค. เขี ยว        ง. ลิ น

             ๕. กริ ว = โกรธ  ดําริ =               ?

              ก. คิด          ข. ฟั ง       ค. ชอบ           ง. พูด

                                               ๑๕
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




สนุกไหมครับ
ลับสมองกันแลว
มาเรียนเนื้อหากันเลยนะครับ




  ๑๖
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                                              กรอบเนื้อหา

                                        เรื่องการคิดวิเคราะหขาว




       ขาว คือการรายงานเหตุการณหรือเรื่องราวที่เกิดขึ้น ซึ่งอยูในความสนใจ
ใครรูของคนทั่วไป ขาวที่ปรากฏในหนังสือพิมพหรือสื่ออื่นๆ มีหลายชนิดและหลาย
ประเภท ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความหลากหลายในการนําเสนอ


       ชนิดของขาว แบงออกไดตามเนื้อหาของขาวนั้นๆ ไดแก ขาวการเมือง                  ขาว
 สังคม ขาวเศรษฐกิจ ขาวการศึกษาและวิทยาศาสตร ขาวอาชญากรรม
 ขาวบันเทิง ขาวสุขภาพและขาวกีฬา เปนตน


    แววมยุรา เหมือนนิล. (๒๕๔๑: ๕๘) แบงประเภทของขาว ไว ๒ ประเภท คือ
       ๑. ขาวหนัก (Hard News) คือ ขาวที่มุงเนนเหตุการณเปนหลักเปนขาว
 ที่เสนอขอเท็จจริงลวนๆ ตรงไปตรงมาตามเหตุการณที่เกิดขึ้น เชน ขาวเพลิงไหม
 ขาวอุบัติเหตุ ขาวฆาตกรรม เนื้อขาวจะบอกวาเกิดอะไร ที่ไหน เมื่อใด ใคร
 ทําไม และเกิดขึ้นไดอยางไร
       ๒. ขาวเบา (Soft News) คือ ขาวที่มุงเนนกระบวนการเกี่ยวเนื่อง
 มากกวา เนนเหตุการณ เปนขาวที่มีการอธิบายและแปลความหมายเหตุการณ
 ที่เกิดขึ้น เพื่อใหผูอานเขาใจวาเพราะอะไรจึงเกิดเหตุการณนั้น รวมทั้งชี้ใหเห็น
 ผลกระทบจากเหตุการณที่มีตอสังคมดวย

                                           ๑๗
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




       โครงสรางของขาว        โดยทั่วไปแบงออกได ๓ สวน ดังนี้

       ๑. พาดหัวขาว (Headline) เปนจุดดึงดูดความสนใจและบอกความสําคัญ                        ของ
ขาวไดชัดเจนและรวดเร็วที่สุด มักจะใชอักษรขนาดใหญ แตถาไมสามารถ เก็บความสําคัญได
หมดจะมีการพาดหัวขาวรอง (Sub headline) เพิ่มเติมไวอีกสวนหนึ่ง            โดยมีใจความที่
ขยายใหชัดเจนขึ้นและใชตัวอักษรที่ลดขนาดลง
       ๒. ความนําหรือวรรคนํา (Lead) เปนสวนที่อยูตอจากพาดหัวขาวและ                      พาด
หัวขาวรอง โดยผูเขียนจับประเด็นสําคัญของเหตุการณทั้งหมดมารายงาน                        ใหผูอาน
ทราบ และจะมีการเพิ่มสวนที่โยงความสัมพันธระหวางความนํากับเนื้อขาว                 ใหชัดเจนไว
อีกตอนหนึ่งเรียกวา “สวนเชื่อม” (Bridge) ซึ่งมีความยาวไมมากนัก             และในปจจุบัน
มักไมนิยมใช
       ๓. เนื้อขาว (Body) เปนรายละเอียดของเหตุการณหรือเรื่องราวตางๆ                        ที่
เกิดขึ้นโดยใชรูปแบบในการนําเสนอหลายอยาง แตที่นิยมมากคือการรายงานขาว                    โดย
เรียงลําดับเหตุการณสําคัญมากไปเหตุการณสําคัญนอย เพื่อใหผูอานจับสาระ              สําคัญได
เร็วขึ้น อยางไรก็ตามบางครั้งการพาดหัวขาวและการเขียนความนํา                         มุงเรียกรอง
ความสนใจของผูอานมากเกินไปจนทําใหประเด็นสําคัญของขาวเบี่ยงเบน               ไปหากได
ตรวจสอบจากเนื้อขาวทั้งหมดอีกครั้งจะทําใหจับใจความขาวไดแมนยําขึ้น




                                        ๑๘
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                       หลักการอานและพิจารณาขาว


      พรทิพย ศิริสมบูรณเวช และคณะ. (๒๕๔๘ : ๖๒ - ๖๕) กลาววาในการอานขาว
ควรพิจารณาตามองคประกอบของขาว ดังนี้
      ๑. พิจารณาพาดหัวขาว การพิจารณาพาดหัวขาวในหนังสือพิมพ เปนการ
จัดลําดับความสําคัญของขาว หากสังเกตการพาดหัวขาวในหนังสือพิมพ จะพบวา
สวนสําคัญที่สุดของขาวจะพาดหัวดวยตัวอักษรขนาดใหญ สวนที่สําคัญรองลงมา
จะใชตัวอักษรขนาดเล็กลงมาตามลาดับ ดังนัน ในการอานและพิจารณาขาว ควรอาน
                                              ้
พาดหัวขาวใหญกอน แลวจึงอานพาดหัวขาวยอย
      ๒. พิจารณาความนํา เมื่ออานและพิจารณาพาดหัวขาวและทราบเรื่องราวสันๆ      ้
ของขาวนัน แลว ขันตอมาคือการอานและพิจารณาความนํา ซึ่งจะสรุปเรื่องราว
            ้        ้
ของขาวโดยขยายความหรือเพิ่มเติมรายละเอียดของพาดหัวขาว หากผูเขียนขาว
สามารถเขียนความนําไดชัดเจน ผูอานทีมีเวลาในการอานนอย ประหยัดเวลาในการ
                                         ่
อานก็อาจไมจําเปนตองอานสวนเนือขาวตอไป
                                     ้
      ๓. พิจารณาเนื้อขาว เนือขาวเปนสวนที่ผูอานจะอานหรือไมอานก็ไดหากทราบ
                              ้
เรื่องยอของขาวจากความนําแลว เนือขาวเปนรายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณที่
                                           ้
เปนขาวหากเราสนใจขาวใดเปนพิเศษก็ควรติดตามอานเนือขาว จากหนังสือพิมพ
                                                           ้
หลายฉบับ เพื่อเปรียบเทียบความถูกตองของขาว และคิดไตรตรองอยางรอบคอบ
     ๔. พิจารณาการใชสานวนภาษา จะพบวามีขอบกพรองหลายประการ ทังในการ       ้
     เขียนสะกดคํา การใชคํายอ การใชคําผิดระดับ การใชคาแสลง การวาง สวนขยาย
ไมถูกตอง ผูที่อานขาวจึงตองพิจารณาการใชภาษาตามลักษณะของภาษาขาว
ที่ไมถูกตองของหลักการใชภาษา



                                         ๑๙
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                                         กิจกรรมที่ ๒


            คําชี้แจง ใหนักเรียนอานขาวที่กําหนดใหและทํากิจกรรมตามลําดับตอไปนี้




  สลด! นอยใจพอบังคับเรียนพิเศษ ๑๐ ขวบผูกคอดับ”

          เมื่อเวลา ๐๙.๐๐ น. วันที่ ๙ ต.ค.ร.ต.อ.ภมร โพธิ์ขาว รอยเวร สถานีตํารวจ บางขุนเทียน
รับแจงเหตุเด็กชายผูกคอตายภายในหองน้ํา บานเลขที่ ๗๙/๖ ถ.จอมทอง ซ.ไชยวัฒน ๑๐/๑ แขวงบางคอ
เขตจอมทอง จึงรุดไปตรวจสอบพบ ด.ช.ธันวา เวชกามา หรือนองเจมส อายุ ๑๐ ขวบ เรียนชัน ป.๕         ้
ร.ร.เลิศพัฒนา สภาพใชผาเช็ดตัวผูกคอตัวเองตายอยูภายในหองน้ํา จากการสอบถาม นายเทอดศักดิ์ เวชกามา
อายุ ๔๖ ป บิดา ซึ่งอยูในอาการโศกเศรา ใหการวากอนเกิดเหตุนองเจมสขออนุญาตไมไปเรียนพิเศษที่โรงเรียน
ในวันนีซึ่งเปนวันสุดทายแลว โดยจะขอเลนกับเพื่อนๆพี่ๆที่บาน ตนเห็นวาวันนีเปนวันสุดทายครูที่โรงเรียน
        ้                                                                      ้
อาจจะใหการบาน มาก็ไดจึงไมอนุญาตแตไมไดดุดาแตอยางใด พรอมทั้งใหลูกไปเตรียมตัวอาบน้ําเพื่อไปเรียน
พิเศษ จากนันตนไดออกจากบานไปชวยภรรยาตังแผงขายสมตํา และโทรศัพทมาถามญาติวานองเจมส
                ้                                ้
อาบน้ําแลวหรือยังเพื่อจะไดเขาไปรับ ญาติที่บานบอกวาเห็นปดประตูอาบน้ําอยู ผานไปประมาณครึ่งชัวโมงได
                                                                                                    ่
โทรศัพทมาถามอีกครัง ญาติบอกวายังไมออกจากหองน้ําตนจึงเอะใจใหญาติไปเคาะประตูเรียก ปรากฏวา
                       ้
ญาติมาบอกวานองเจมสผูกคอตาย และชวยกันนําสงโรงพยาบาล แพทยแจงวานองเจมสสิ้นใจระหวางการนําสง
โรงพยาบาล ผูสื่อขาวรายงานวาญาติของนองเจมสยังระบุดวยวา นองเจมสมีความสามารถพิเศษ
เปนแชมปเทควันโดประจําโรงเรียน และชอบดูรายการ ๑๐๘ วิธีฆาตกรรมทางยูบีซี
                                                   ที่มา http://news.sanook.com วันที่ ๙ ตุลามคม ๒๕๕๒




                                                     ๒๐
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                                                                                                                                   ข ั้น ท ี่ ๑ S u r v e y ( s )
                                                                                                                                             อ า น ส ํา ร ว จ




ค ํา ช ี้แ จ ง ใ ห น ัก เ ร ีย น อ า น ส ํา ร ว จ เ น ื้อ ห า อ ย า ง ร ว ด เ ร ็ว แ ล ว ต อ บ ค ํา ถ า ม ต อ ไ ป น ี้ โ ด ย เ ข ีย น ค ํา ต อ บ ใ น ช อ ง ว า ง

ช ื่อ เ ร ื่อ ง                 .............................................................................................................................................

ช ื่อ ผ ูแ ต ง / ท ี่ม า
  .............................................................................................................................................................

จ ุด ม ุง ห ม า ย ข อ ง ผ ูแ ต ง
 .............................................................................................................................................................
 ............................................... ......................... ...................................................................................

ส า ร ะ ส ํา ค ัญ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
 .............................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................................




                                                                                                                                                                     ๒๑
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                                                                            ข ั้น ท ี่ ๒ Q u e s t i o n ( Q )
                                                                                    อ า น ต ั้ง ค ํา ถ า ม

ค ํา ช ี้แ จ ง                       ใ ห น ัก เ ร ีย น ต ั้ง ค ํา ถ า ม จ า ก เ ร ื่อ ง ท ี่อ า น ไ ป แ ล ว
 ต ัว อ ย า ง ค ํา ถ า ม
                     ๑ . ใค ร
                      ๒ . ท ํา อ ะ ไ ร
                       ๓ . ท ี่ไ ห น
                        ๔ . อ ย า ง ไ ร
  ๑ . ค ํา ถ า ม
   .............................................................................................................................................................
   ๒ . ค ํา ถ า ม
    .............................................................................................................................................................
    ๓ . ค ํา ถ า ม
     .............................................................................................................................................................
     ๔ . ค ํา ถ า ม
      .............................................................................................................................................................
      ๕ . ค ํา ถ า ม
       .............................................................................................................................................................
       ๖ . ค ํา ถ า ม
        .............................................................................................................................................................
        ๗ . ค ํา ถ า ม
         .............................................................................................................................................................
         ๘ . ค ํา ถ า ม
          .............................................................................................................................................................
          ๙ . ค ํา ถ า ม
           .............................................................................................................................................................
           ๑ ๐ . ค ํา ถ า ม
            .............................................................................................................................................................


                                                                                                 ๒๒
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                                                                        ข ั้น ท ี่ ๓ R e a d ( R ๑ )
                                                             อ า น อ ย า ง ล ะ เ อ ีย ด เ พ ื่อ ห า ต อ บ ค ํา ถ า ม

ค ํา ช ี้แ จ ง     ใ ห น ัก เ ร ีย น อ า น เ น ื้อ ห า อ ย า ง ล ะ เ อ ีย ด ร อ บ ค อ บ แ ล ว ห า ค ํา ต อ บ ท ี่ไ ด ต ั้ง ค ํา ถ า ม ไ ว 

๑ . ค ํา ต อ บ
 ...................................................................................................................................................................................
 ๒ . ค ํา ต อ บ
  ...................................................................................................................................................................................
  ๓ . ค ํา ต อ บ
   ...................................................................................................................................................................................
   ๔ . ค ํา ต อ บ
    ...................................................................................................................................................................................
    ๕ . ค ํา ต อ บ
     ...................................................................................................................................................................................
     ๖ . ค ํา ต อ บ
      ...................................................................................................................................................................................
      ๗ . ค ํา ต อ บ
       ...................................................................................................................................................................................
       ๘ . ค ํา ต อ บ
        ...................................................................................................................................................................................
        ๙ . ค ํา ต อ บ
         ...................................................................................................................................................................................
         ๑ ๐ . ค ํา ต อ บ
          ...................................................................................................................................................................................




                                                                                             ๒๓
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                                                                       ข ั้น ท ี่ ๔ R e c i t e ( R ๒ )
                                                                     ก า ร จ ด บ ัน ท ึก ข อ ม ูล ต า ง ๆ

ค ํา ช ี้แ จ ง ใ ห น ัก เ ร ีย น จ ด บ ัน ท ึก ก า ร อ า น ข า ว ใ น ข ั้น ท ี่ ๓ โ ด ย จ ด บ ัน ท ึก ข อ ค ว า ม ส ว น ท ี่ส ํา ค ัญ อ ย า ง ร ัด ก ุม ห ร ือ ย อ ๆ           ตาม
 ค ว า ม เ ข า ใ จ ข อ ง น ัก เ ร ีย น

...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................



                                                                                          ๒๔
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                                                      ข ั้น ท ี่ ๕ R e v i e w ( R ๓ )
                                                        ก า ร เ ข ีย น ส ร ุป ใ จ ค ว า ม

ค ํา ช ี้แ จ ง   ใ ห น ัก เ ร ีย น อ า น เ น ื้อ ห า ท ั้ง ห ม ด แ ล ว ส ร ุป ใ จ ค ว า ม ส ํา ค ัญ ใ ห อ ย ูใ น ร ูป แ ผ น ผ ัง ค ว า ม ค ิด




                                                                        ๒๕
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                                      ข ั้น ท ี่ ๖ R e v i e w ( R ๔ )
                               ก า ร ว ิเ ค ร า ะ ห  ว ิจ า ร ณ  เ ร ื่อ ง ท ี่อ า น




๑. ขาวนี้เปนขาวประเภทใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. ขาวนีมีเหตุการณใดเกิดขึนบาง
          ้                 ้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. นักเรียนคิดวา พอของนองเจมสมีสวนที่ทาใหนองเจมสคิดฆาตัวตายหรือไมอยางไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
๔. นักเรียนคิดวาสาเหตุที่ทาใหนองเจมสเสียชีวิตคืออะไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
๕. นักเรียนคิดวาการที่นองเจมสชอบดูรายการ ๑๐๘ วิธีฆาตกรรม มีผลกระทบตอนองเจมสหรือไม
อยางไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………




                                                         ๒๖
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                             แบบทดสอบหลังเรียนแบบฝกทักษะเลมที่ ๑

        คําชี้แจง
               ๑.แบบทดสอบกอนเรียน ฉบับนี้ใชทดสอบความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการอานอยางมีวิจารณญาณ
แบบฝกทักษะเลมที่ ๑ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว
เปนแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จํานวน ๑๐ ขอ ขอละ ๑ คะแนนใชเวลาในการทดสอบ ๑๐ นาที
               ๒.ใหนักเรียนอานขอคําถามและคําตอบใหละเอียด เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
แลวนําไปตอบลงในกระดาษคําตอบ โดยทําเครื่องหมาย X ลงในชองตัวเลือกที่ตองการ
               ๓.ใหนักเรียนทําแบบทดสอบใหครบทุกขอ


        อานขาวตอไปนี้แลวตอบคําถามขอที่ ๑-๕

        นักเรียน ปวช.หึงโหดแทงคูอริดับ
        หนุม ปวช.ชะตาขาด ถูกเพื่อนโรงเรียนเดียวกันแทงดับอนาถ กอนรอมอบตัว เผยเหยื่อเขามาเคลียร
ปญหาแฟนเกาจนมีปากเสียงขั้นชกตอย สูไมไหวใชเหล็กแทง ตร.คาดแฟนสาวเคยเปนแฟนเกาผูตาย
        พ.ต.ต.ปติพันธ กฤดากร ณ อยุธยา สว.สป.สน.ดินแดง รับแจงจากศูนยวิทยุวาเกิดเหตุทะเลาะวิวาท
มีผูไดรับบาดเจ็บภายในบริเวณกองดุริยางคทหารบก ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.
จึงไปตรวจสอบที่เกิดเหตุที่บริเวณลาดจอดรถแฟลตทหาร ภายในรั้วกองดุริยางคทหารบก เจาหนาที่พบกองเลือด
และนายกิตติพงษ พงษเจื่อ อายุ ๒๐ ปนักเรียน ปวช.ป ๑ โรงเรียนพานิชยการสยาม ยืนถือเหล็กปลายแหลม
มีเลือดติด โดยยอมรับวาใชเหล็กแทงนายลิขิต ทองดี อายุ ๑๙ ป นักเรียน ปวช. ป ๑ โรงเรียนเดียวกันจนไดรับ
บาดเจ็บพลเมืองดีนําสงโรงพยาบาลและเสียชีวิตในเวลาตอมา
        นายกิตติพงษ ยอมรับวาแทงนายลิขิตถึงแกความตายจริง โดยกอนเกิดเหตุมีเรื่อง ทะวิวาทกับผูตาย
หลังจากที่นายลิขิต เดินทางมาเพื่อเคลียรปญหากับ น.ส.นก แอบเพ็ชร กอนหนาเคยเปนแฟนนายลิขิต พูดคุย
กันจนมีปากเสียงและถึงขั้นทะเลาะวิวาท เกิดชกตอยกันขึ้น นายกิตติพงษ สูไมไหว จึงใชเหล็กขูดชารปแทง
นายลิขิตและรอมอบตัว
        เจาหนาตํารวจดําเนินคดีในขอหาฆาผูอื่น และพกอาวุธ (เหล็กปลายแหลม) ไปในเมือง หมูบาน หรือทาง
สาธารณะ โดยไมมีเหตุจําเปน และไมมีเหตุอันควร
                                                           คมชัดลึก ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ หนา ๓
                                                     ๒๗
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




๑. ขาวขางตนเปนขาวประเภทใด

   ก. ขาวธุรกิจ

   ข. ขาวเศรษฐกิจ

   ค. ขาวอาชญากรรม

   ง. ขาวการเมือง

๒. “นักเรียนปวช.หึงโหดแทงคูอริดับ” จากขอความนี้ คือสวนใดของขาว

   ก. เนื้อขาว

   ข. พาดหัวขาว

   ค. สวนเชื่อม

   ง. ความนํา

๓. นักเรียนเห็นดวยหรือไม กับการกระทําของนายกิตติพันธที่ใชเหล็กแทงนายลิขิต

   ก. เห็นดวย เพราะแคนที่นายลิขิตยังมาของแวะแฟนสาวอีก

   ข. เห็นดวย เพราะเปนตัวอยางใหกับคูรักอื่น ๆ ที่มีปญหาเชนนี้

   ค. ไมเห็นดวย เพราะเปนการกระทําที่เกินเหตุ

   ง. ไมเห็นดวย เพราะไมเชนแนวทางแกปญหาใหหมดไปได




                                       ๒๘
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




๔. ทําอยางไร จึงจะปองกันไมใหเกิดเหตุการณเชนนี้

   ก. พอ แม ครูควรดูแลเอาใจใสอยางใกลชิด

   ข. พอแมควรเปนที่ปรึกษาใหลูก

   ค. นักเรียนไมควรริรักในวัยเรียน

   ง. ครูควรสอนทักษะชีวิต

๕ . นักเรียนคิดวาอะไรคือสาเหตุสําคัญที่สุดที่ทําใหเกิดเหตุการณเชนนี้

   ก. น.ส.นก แอบเพ็ชร เปนคนหลายใจ

   ข. นายกิตติพันธ เปนวัยรุนใจรอน

   ค. ทางวิทยาลัยไมเอาใจใสนักเรียนเทาที่ควร

   ง. นักเรียนไมไดรับความเอาใจใสจากครู และผูปกครอง




                                        ๒๙
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




อานขาวตอไปนี้แลวตอบคําถามขอที่ ๖-๑๐

          ตะลึงเด็กวัย ๑๒ ปวยโรคพิสดาร อาการประสาทถดถอยสมองสวนกลางหด พบยากแค ๑ ในลาน
พี่ชายเปน-ตายไปแลว นองจาบ อายุ ๑๒ ปจากเด็กที่อวนทวนสมบูรณแข็งแรง ฉลาดเกินวัยเรียนเกง
จูๆ กลับตาพรามัวจนบอดสนิท พูดจาออแอไมรูเรื่อง เหมือนหวนกลับมาเปนทารกแถมเดินไมได ตองนอนใหอาหาร
ทางสายยางรางกายผายผอมเหลือแตหนังหุมกระดูก พอเผยลูกชายคนแรกปวยเปนโรคประหลาดแบบเดียวกันจนตาย
ตอนอายุ ๖ ขวบ หมอระบุเปนโรคแปลกพบไดแค ๑ ในลานเทานั้น ตองผาตัดเปลี่ยนไขสันหลัง โอกาสรอด รอยละ
๕๐: ๕๐
         เด็กปวยเปนโรคประหลาดรายนี้ชื่อเด็กชายกฤษกรณ คาชัยวงค หรือนองจาบ อายุ ๑๒ ป นร. ชั้น ป.๕
 บานเลขที่ ๑ หมู ๒ บานปาตาล ต. เถินบุรี อ.เถิน จ. ลําปาง คือเปนโรคประสาทถดถอย จากเคยที่เปนเด็กเรียนเกง
 สอบไดเกรด ๔ ทุกวิชา เฉลียวฉลาดเกินวัยเหมือนผูใหญ ตอมากลับลมปวย พัฒนาการทางสมองถดถอยลง
 กลับเหมือนเด็กวัยทารก โดยเริ่มจากอาการตาพรามัวมองไมเห็น มักจะเดินชนผนังหองอยูบอย ๆ จนครูและเพื่อน
 นักเรียนตองชวยกันดูแลขณะเขารวมกิจกรรม พูดจาออแอไมเปนภาษา และเขียนหนังสือไมได พอแมพาไปรักษาตัว
 มาหลายโรงพยาบาลแตไมหายขาด สุดทายตองมารักษาตัวที่บานตามยถากรรม จนอาการทรุดหนัก และมีอาการ
 เกร็งตามกลามเนื้ออยูบอยครั้ง
         แมเด็กเลาวาเคยมีลูกคนแรกเปนชายชื่อนองเมท หลังคลอดก็แข็งแรงสมบูรณทุกอยาง มีพัฒนาการ
เหมือนเด็กทั่วๆไปกระทั้งอายุ ๔ ขวบ เกิดลมปวยดวงตาพรามัวมองไมเห็น พาไปหาหมอ ถึง รพ.กรุงเทพฯ แหงหนึ่ง
หมดตรวจดูอาการ แลวบอกวารักษายาก เพราะเปนโรคที่โอกาสปวยแค ๑ ในลานรายเทานั้น แตไมบอกวาเปนโรค
อะไร แถมบอกวาถาเปนลูกผูหญิงมีโอกาสรอดสูง แตเปนลูกชาย โอกาสอดเพียง รอยละ ๑๐ หมอก็รักษา
จนสุดความสามารถ และพาลูกกลับมารักษาตัวที่บานและเสียชีวิตลงใน ๒ ปตอมา
         ตอมาทีมแพทยที่เชี่ยวชาญทางสมอง วินิจฉัยอาการและเอ็กซเรยดู อาการของนองจาบวา เปนโรคประหลาด
เชนเดียวกับลูกคนแรก คือสมองสวนกลางมีลักษณะหดตัว มีรอยแยกหางออกจากกัน การเจริญเติบโตของสมอง
ไมตอเนื่อง มีลักษณะถดถอย สงผลใหประสาทสวนกลางทํางานผิดปกติ เปนโรคที่พบยากมาในประเทศไทย
โอกาสเปนแค ๑ ในลานคนเทานั้น แตเคยพบมาแลวที่ญี่ปุน การรักษามีวิธีเดียวคือ การผาตัดปลูกถายไขสันหลังใหม
แตมีโอกาสรอดเพียง รอยละ ๕๐ เทานั้น
                                                                            เดลินิวส ๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ หนา ๒



                                                      ๓๐
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




๖. ขาวขางตนเปนขาวประเภทใด

   ก. ขาวการเมือง
   ข. ขาวเศรษฐกิจ
   ค. ขาวธุรกิจ
   ง. ขาวสังคม
“ตะลึงเด็กวัย ๑๒ ปวยโรคพิสดาร อาการประสาทถดถอย สมองสวนกลางหด พบยาก
แค ๑ ในลานพี่ชายเปน-ตายไปแลว นองจาบ อายุ ๑๒ ป จากเด็กที่อวนทวนสมบูรณแข็งแรง
ฉลาดเกินวัย เรียนเกง จูๆ กลับตาพรามัวจนบอดสนิท พูดจาออแอไมรูเรื่อง เหมือนหวน
กลับมาเปนทารกแถมเดินไมได ตองนอนใหอาหารทางสายยางรางกายผายผอมเหลือ
แตหนังหุมกระดูก พอเผย ลูกชายคนแรก ปวยเปนโรคประหลาดแบบเดียวกัน จนตายตอน
อายุ ๖ ขวบ หมอระบุเปนโรคแปลกพบไดแต ๑ ในลานเทานั้น ตองผาตัดเปลี่ยนไขสันหลัง
โอกาสรอด รอยละ ๕๐: ๕๐”


๗. ขอความที่ปรากฏในขาวสวนที่ยกมานี้เปนองคประกอบใดของขาว
   ก. พาดหัวขาว
   ข. ขาวนา
   ค. สวนเชื่อม
   ง. เนื้อขาว




                                             ๓๑
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




๘. นักเรียนคิดวาอะไรคือสาเหตุสําคัญของการเกิดโรคนี้
   ก. เกิดจากพันธุกรรม
   ข. เกิดจากโรคเนื้องอกในสมอง
   ค. เกิดจากสมองไดรับความกระทบกระเทือน
   ง. เกิดจากเด็กใชสมองมากเกินไป

๙. การผาตัดเปลี่ยนไขสันหลังผาตัดใครกับใคร
   ก. ของตัวเราเอง
   ข. ของญาติฝายพอ
   ค. ของญาติฝายแม
   ง. บุคคลในสายเลือดเดียวกัน

๑๐. หากนักเรียนเปน พอ หรือแม ของนองจาบนักเรียนจะทําอยางไรจึงจะปองกัน
ไมใหเกิดโรคแบบนี้อีก
    ก. ตรวจสุขภาพประจําป
    ข. ปองกันไมใหมีลูก
    ค. มีลูกไดแตตองระวังและทําใจ
    ง. ปรึกษาแพทยทุกป




                                              ๓๒
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




เฉลยแบบฝกทักษะกอนเรียน- หลังเรียน
    เลมที่ ๑ สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




    ขอที่ ๑                ข
    ขอที่ ๒                ง
    ขอที่ ๓                ง
    ขอที่ ๔                ก
    ขอที่ ๔                ง
    ขอที่ ๖                ง
    ขอที่ ๗                ง
    ขอที่ ๘                ง
    ขอที่ ๙                ค
    ขอที่ ๑๐               ค




                 ๓๓
เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว




                          บรรณานุกรม



“ตะลึงเด็กวัย ๑๒ ปวยโรคพิสดาร” เดลินิวส. ๔ มิถุนายน ๒๕๕๒. หนา ๒
“นักเรียนปวช.หึงโหดแทงคูอริดับ”. คมชัดลึก. ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๒. หนา ๓
ประภาศรี สีหอาไพ. (๒๕๔๕). วัฒนธรรมทางภาษา. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ
      จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ภาพปริศนาลวงตา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก
http://www.watcharina.com/board/index.php?topic=๒๘๒.๐ ( วันที่คนขอมูล: ๑๕ เมษายน ๒๕๕๒)
แววมยุรา เหมือนนิล. (๒๕๔๑) การอานจับใจความ. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : ชมรมเด็ก
เสริมศรี หอทิมวรกุล. (๒๕๔๐ ). การพัฒนาทักษะการอานระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ, เอกสารการสอน
     ชุดวิชาการสอนกลุมทักษะ ๑ (ภาษาไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุวัฒน วิวัฒนานนท. (๒๕๕๐) ทักษะการอาน คิดวิเคราะห และเขียน. พิมพครั้งที่ ๒ . นนทบุร:ี
      ซี.ซี. นอลลิดจลิงคส
สุวิทย มูลคํา. ครบเครื่องเรื่องการคิด (๒๕๔๗ ). พิมพครั้งที่ ๖. กรุงเทพมหานคร: หางหุนสวนภาพพิมพ




                                                      ๓๔

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Foreign55
Foreign55Foreign55
Foreign55
krutip
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
krupornpana55
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
Kanjana Pothinam
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
nangnut
 
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
เทพ ธรรมะ
 
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
เล็ก เล็ก
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
Duangnapa Jangmoraka
 

La actualidad más candente (20)

Relation
RelationRelation
Relation
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
 
Foreign55
Foreign55Foreign55
Foreign55
 
จิตวิทยา 6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรมจิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา 6 เฟรม
 
แผนFamous people
แผนFamous peopleแผนFamous people
แผนFamous people
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
Ep open house2012-english skills competition
Ep open house2012-english skills competitionEp open house2012-english skills competition
Ep open house2012-english skills competition
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
สังคมป6
สังคมป6สังคมป6
สังคมป6
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
 
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
โครงสร้างและตารางสอบ nt ชั้นป.3 ปีการศึกษา 2558
 
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Similar a เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
tassanee chaicharoen
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
kittitach06709
 
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
krupornpana55
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
phachanee boonyuen
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
noi1
 
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
kroosomsri
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
jariya221
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
krupornpana55
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
tassanee chaicharoen
 

Similar a เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว (20)

เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshare
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 

Más de นิตยา ทองดียิ่ง

หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา  หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
นิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
นิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
นิตยา ทองดียิ่ง
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
นิตยา ทองดียิ่ง
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
นิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
นิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
นิตยา ทองดียิ่ง
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
นิตยา ทองดียิ่ง
 

Más de นิตยา ทองดียิ่ง (20)

หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา  หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
 
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่ายPptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
 
ปก
ปกปก
ปก
 
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
Microsoft word หนึ่งแสนครูดี
Microsoft word   หนึ่งแสนครูดีMicrosoft word   หนึ่งแสนครูดี
Microsoft word หนึ่งแสนครูดี
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
 
Microsoft word แบบฝึกตำรา
Microsoft word   แบบฝึกตำราMicrosoft word   แบบฝึกตำรา
Microsoft word แบบฝึกตำรา
 

เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว

  • 1. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว คํานํา แบบฝกทักษะการอานอยางมีวิจารณญาณโดยใชวิธีอานแบบ SQ๔R ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ เลมที่ ๔ สรางสรรคจรรโลงในในเพลง จัดทําขึ้นเพื่อเปนเครื่องมือ ในการพัฒนาทัก ษะการคิดอยางมี วิจารณญาณ ซึ่งการอานอยางมีวิจารณญาณเปนพื้นฐานสําคัญของการพัฒนาผูเรียนใหรูจักคิดเปนระบบ คิดอยางมีเหตุผลเหมาะสม แบบฝกทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ มีทั้งหมด ๘ เลม ดังนี้ เลมที่ ๑ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว เลมที่ ๒ สังเคราะหเรื่องราวสารคดี เลมที่ ๓ เรียนรูวิถีชีวิตจากเรื่องสั้น เลมที่ ๔ สรางสรรคจรรโลงใจในเพลง เลมที่ ๕ คิดเกง คิดสนุกดวยนิทาน เลมที่ ๖ วิเคราะหเจาะสารจากบทความ เลมที่ ๗ ภาษางามงดจากบทรอยกรอง เลมที่ ๘ พินิจคิดคลองดวยเพลงพระราชนิพนธในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯสยามบรมราชกุมารี แบบฝกทักษะแตละเลมจะมีแผนการจัดการเรียนรูเปนคูมือการฝก ซึ่งเปนการสอนสอดแทรกในการ เรียนการสอน โดยใชวิธีอานแบบ SQ๔R มี ๖ ขั้นตอน ผูจัดทําหวังวาแบบฝกทัก ษะการอ านอยางมีวิจ ารณญาณเลม นี้ จะเปนแนวทางหนึ่ง ในการจัด กระบวนการสอนคิดใหกับผูเรียนไดตามเจตนารมณของหลักสูตร และเปนประโยชนตอการจัดกระบวนการ เรียนรูของครูในกลุมสาระการเรียนรูภาไทยและกลุมสาระอื่นๆไดตามสมควร ๑
  • 2. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว สารบัญ เรื่อง หนา คําชี้แจงสําหรับครุผูสอน คําชี้แจงสําหรับนักเรียน สาระ/มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด  สาระสําคัญ/จุดประสงคการเรียนรู แบบทดสอบกอนเรียน กรอบเนื้อหา กิจกรรมที่ ๑ ฝกสมองประลองปญญา กิจกรรมที่ ๑.๑ ปริศนาภาพคําทาย กิจกรรมที่ ๑.๒ วิเคราะหความสัมพันธของคํา กิจกรรมที่ ๒ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว ขั้นที่ ๑ ขั้นที่ ๒ ขั้นที่ ๓ ขั้นที่ ๔ ขั้นที่ ๕ ขั้นที่ ๖ แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบ บรรณานุกรม ๒
  • 3. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว คําชี้แจงสําหรับครูผูสอน ๑. ครูเตรียมและสํารวจความพรอมของแบบฝกหัดใหเพียงพอกับจํานวนนักเรียน ๒. ครูศึกษาเนื้อหาและลําดับขั้นตอนของแบบฝกทักษะใหเขาใจชัดเจน ๓. กอนลงมือสอนหรือปฏิบัติกิจกรรม ครูควรอธิบายใหนักเรียนทราบถึงจุดประสงคในการทําแบบฝกทักษะ แตละครั้งและใหนักเรียนเห็นประโยชนและคุณคาของการทําแบบฝกทักษะ ๔. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน กอนที่จะศึกษาแบบฝกแตละเลม ซึ่งในแตละเลมจะมีแบบทดสอบยอย กอนเรียนและหลังเรียน ๕. ใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะจากงายไปหายาก ๖. การทําแบบฝกทักษะทุกครั้งนักเรียนควรมีสวนรวม เชน รวมคิด รวมแสดงอภิปราย ตรวจผลงาน และสรุปองคความรูดวยตนเอง ๗. ขณะที่นักเรียนศึกษาแบบฝกทักษะและปฎิบัติกิจกรรม ครูควรดูแลอยางใกลชิด หากมีนักเรียนคนใดหรือกลุมใด สงสัยใหแนะนําเปนรายบุคคลหรือรายกลุมเพื่อไมเปนการรบกวนผูอื่น ๘. ครูควรมีการเสริมแรงแกนักเรียนทุกครั้ง ๙. การทําแบบฝกทักษะทุกครั้งตองบันทึกผล เพื่อดูพัฒนาการของนักเรียน ๑๐. ใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้งหนึ่ง ๑๑. การวัดและประเมินผลจากสภาพจริง ๓
  • 4. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว คําชี้แจงสําหรับนักเรียน แบบฝกทักษะการอานอยางมีวิจารณญาณโดยใชวิธีการอานแบบSQ๔R เลมที่ ๑ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว ที่นักเรียนจะไดศึกษาตอไปนี้ เปนแบบฝกพัฒนาทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ ที่เหมาะกับวัยนักเรียน สามารถศึกษาไดดวยความเขาใจและประสบความสําเร็จในการเรียนดวยการปฏิบัติตามคําแนะนําตอไปนี้ ๑. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สาระสําคัญ และจุดประสงคการเรียนรูใหเขาใจ ๒. ทําแบบทดสอบกอนเรียน แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จํานวน ๑๐ ขอ ๓. ฝกทักษะวิธีอานแบบSQ๔Rซึ่งมี ๖ ขั้นตอน ขั้นตอนที่ ๑ S (Survey)การอานเนื้อเรื่องอยางคราวๆ เพื่อหาจุดสําคัญของเรื่อง ขั้นตอนที่ ๒ Q (Question) การตั้งคําถาม ขั้นตอนที่ ๓ R๑ (Read) การอานอยางละเอียดเพื่อหาคําตอบของคําถามที่ตั้งไว ขั้นตอนที่ ๔ R๒ (Record) การจดบันทึกขอมูลตางๆตามความเขาใจของตนเอง ขั้นตอนที่ ๕ R๓ (Recite) การเขียนสรุปใจความสําคัญโดยใชถอยคําของตนเอง ขั้นตอนที่ ๖ R๔ (Reflect) การวิเคราะห วิจารณ เรื่องที่อานแลวแสดงความคิดเห็น หากนักเรียนไมเขาใจหรือตอบคําถามไมได ใหยอนกลับไปอานเนื้อหาแบบฝกทักษะใหมอีกครั้งแลวตอบใหม หรือทํากิจกรรมนั้นใหมหรือขอคําแนะนําจากครู ๔. นักเรียนตรวจคําตอบดวยตัวเองหรือแลกเปลี่ยนกันตรวจกับเพื่อนโดยครูเปนผูแนะนํา ๕. ทําแบบทดสอบหลังเรียน แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จํานวน ๑๐ ขอ เพื่อเปรียบเทียบคะแนน กอนเรียนและหลังเรียน ๔
  • 5. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว แบบฝกทักษะการอานอยางมีวิจารณญาณโดยใชวิธีการอานแบบSQ๔R เลมที่ ๑ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว กลุมสาระการเรียนรูภาษไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ เวลา ๒ ชั่วโมง สาระที่ ๑ การอาน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชในการ ตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิตและมรนิสัยรักการอาน ตัวชี้วัด ม.๓/๓ ระบุใจความสําคัญและรายละเอียดของขอมูลที่สนับสนุนจากเรื่องที่อาน ม.๓/๔ อานเรื่องตางๆ แลวเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ยอความ และรายงาน ม.๓/๙ ตีความและประเมินคุณคา แนวคิดที่ไดจากงานเขียนอยางหลากหลาย เพื่อนําไปใชแกปญหาในชีวิต ๕
  • 6. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว สาระสําคัญ การอานอยางมีวิจารณญาณจากบทความเปนการอานที่ผูอานตองใชวิจารณญาณ ความคิดและเหตุผลเพื่อวิเคราะหใครครวญและตัดสินวา สารที่อานนั้นเชื่อได หรือไม และสามารถประเมินคาจากสิ่งที่อานวาดีมีประโยชนอยางไรบาง ใหขอคิด คติสอนใจ อยางไร จึงควรฝกฝนใหเกิดความชํานาญ จุดประสงคการเรียนรู ๑.ดานความรู (K) ๑.๑นักเรียนสามารถสรุปสาระสําคัญจากขาว โดยใชวิธีการอานแบบ SQ๔R ได ๒.ดานทักษะ/กระบวนการ ๒.๑นักเรียนสามารถวิเคราะห สังเคราะห ประเมินคาจากขาได ๓.ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค (A) ๓.๑ความกระตือรือรนตั้งใจเรียน ๓.๒มีความรับผิดชอบ ๓.๓ปฏิบัติงานตามเวลาที่กําหนด ๓.๔ความสนใจเรียนและซักถาม ๖
  • 7. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว แบบทดสอบกอนเรียนแบบฝกทักษะเลมที่ ๑ คําชี้แจง ๑.แบบทดสอบกอนเรียน ฉบับนี้ใชทดสอบความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการอานอยางมีวิจารณญาณ แบบฝกทักษะเลมที่ ๑ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว เปนแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จํานวน ๑๐ ขอ ขอละ ๑ คะแนนใชเวลาในการทดสอบ ๑๐ นาที ๒.ใหนักเรียนอานขอคําถามและคําตอบใหละเอียด เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว แลวนําไปตอบลงในกระดาษคําตอบ โดยทําเครื่องหมาย X ลงในชองตัวเลือกที่ตองการ ๓.ใหนักเรียนทําแบบทดสอบใหครบทุกขอ อานขาวตอไปนี้แลวตอบคําถามขอที่ ๑-๕ นักเรียน ปวช.หึงโหดแทงคูอริดับ หนุม ปวช.ชะตาขาด ถูกเพื่อนโรงเรียนเดียวกันแทงดับอนาถ กอนรอมอบตัว เผยเหยื่อเขามาเคลียร ปญหาแฟนเกาจนมีปากเสียงขั้นชกตอย สูไมไหวใชเหล็กแทง ตร.คาดแฟนสาวเคยเปนแฟนเกาผูตาย พ.ต.ต.ปติพันธ กฤดากร ณ อยุธยา สว.สป.สน.ดินแดง รับแจงจากศูนยวิทยุวาเกิดเหตุทะเลาะวิวาท มีผูไดรับบาดเจ็บภายในบริเวณกองดุริยางคทหารบก ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม. จึงไปตรวจสอบที่เกิดเหตุที่บริเวณลาดจอดรถแฟลตทหาร ภายในรั้วกองดุริยางคทหารบก เจาหนาที่พบกองเลือด และนายกิตติพงษ พงษเจื่อ อายุ ๒๐ ปนักเรียน ปวช.ป ๑ โรงเรียนพานิชยการสยาม ยืนถือเหล็กปลายแหลม มีเลือดติด โดยยอมรับวาใชเหล็กแทงนายลิขิต ทองดี อายุ ๑๙ ป นักเรียน ปวช. ป ๑ โรงเรียนเดียวกันจนไดรับ บาดเจ็บพลเมืองดีนําสงโรงพยาบาลและเสียชีวิตในเวลาตอมา นายกิตติพงษ ยอมรับวาแทงนายลิขิตถึงแกความตายจริง โดยกอนเกิดเหตุมีเรื่อง ทะวิวาทกับผูตาย หลังจากที่นายลิขิต เดินทางมาเพื่อเคลียรปญหากับ น.ส.นก แอบเพ็ชร กอนหนาเคยเปนแฟนนายลิขิต พูดคุย กันจนมีปากเสียงและถึงขั้นทะเลาะวิวาท เกิดชกตอยกันขึ้น นายกิตติพงษ สูไมไหว จึงใชเหล็กขูดชารปแทง นายลิขิตและรอมอบตัว เจาหนาตํารวจดําเนินคดีในขอหาฆาผูอื่น และพกอาวุธ (เหล็กปลายแหลม) ไปในเมือง หมูบาน หรือทาง สาธารณะ โดยไมมีเหตุจําเปน และไมมีเหตุอันควร คมชัดลึก ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ หนา ๓ ๗
  • 8. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว ๑. ขาวขางตนเปนขาวประเภทใด ก. ขาวธุรกิจ ข. ขาวเศรษฐกิจ ค. ขาวอาชญากรรม ง. ขาวการเมือง ๒. “นักเรียนปวช.หึงโหดแทงคูอริดับ” จากขอความนี้ คือสวนใดของขาว ก. เนื้อขาว ข. พาดหัวขาว ค. สวนเชื่อม ง. ความนํา ๓. นักเรียนเห็นดวยหรือไม กับการกระทําของนายกิตติพันธที่ใชเหล็กแทงนายลิขิต ก. เห็นดวย เพราะแคนที่นายลิขิตยังมาของแวะแฟนสาวอีก ข. เห็นดวย เพราะเปนตัวอยางใหกับคูรักอื่น ๆ ที่มีปญหาเชนนี้ ค. ไมเห็นดวย เพราะเปนการกระทําที่เกินเหตุ ง. ไมเห็นดวย เพราะไมเชนแนวทางแกปญหาใหหมดไปได ๘
  • 9. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว ๔. ทําอยางไร จึงจะปองกันไมใหเกิดเหตุการณเชนนี้ ก. พอ แม ครูควรดูแลเอาใจใสอยางใกลชิด ข. พอแมควรเปนที่ปรึกษาใหลูก ค. นักเรียนไมควรริรักในวัยเรียน ง. ครูควรสอนทักษะชีวิต ๕ . นักเรียนคิดวาอะไรคือสาเหตุสําคัญที่สุดที่ทําใหเกิดเหตุการณเชนนี้ ก. น.ส.นก แอบเพ็ชร เปนคนหลายใจ ข. นายกิตติพันธ เปนวัยรุนใจรอน ค. ทางวิทยาลัยไมเอาใจใสนักเรียนเทาที่ควร ง. นักเรียนไมไดรับความเอาใจใสจากครู และผูปกครอง ๙
  • 10. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว อานขาวตอไปนี้แลวตอบคําถามขอที่ ๖-๑๐ ตะลึงเด็กวัย ๑๒ ปวยโรคพิสดาร อาการประสาทถดถอยสมองสวนกลางหด พบยากแค ๑ ในลาน พี่ชายเปน-ตายไปแลว นองจาบ อายุ ๑๒ ปจากเด็กที่อวนทวนสมบูรณแข็งแรง ฉลาดเกินวัยเรียนเกง จูๆ กลับตาพรา มัวจนบอดสนิท พูดจาออแอไมรูเรื่อง เหมือนหวนกลับมาเปนทารกแถมเดินไมได ตองนอนใหอาหารทางสายยาง รางกายผายผอมเหลือแตหนังหุมกระดูก พอเผยลูกชายคนแรกปวยเปนโรคประหลาดแบบเดียวกันจนตายตอนอายุ ๖ ขวบ หมอระบุเปนโรคแปลกพบไดแค ๑ ในลานเทานั้น ตองผาตัดเปลี่ยนไขสันหลัง โอกาสรอด รอยละ ๕๐: ๕๐ เด็กปวยเปนโรคประหลาดรายนี้ชื่อเด็กชายกฤษกรณ คาชัยวงค หรือนองจาบ อายุ ๑๒ ป นร. ชั้น ป.๕ บานเลขที่ ๑ หมู ๒ บานปาตาล ต. เถินบุรี อ.เถิน จ. ลําปาง คือเปนโรคประสาทถดถอย จากเคยที่เปนเด็กเรียนเกง สอบไดเกรด ๔ ทุกวิชา เฉลียวฉลาดเกินวัยเหมือนผูใหญ ตอมากลับลมปวย พัฒนาการทางสมองถดถอยลงกลับ เหมือนเด็กวัยทารก โดยเริ่มจากอาการตาพรามัวมองไมเห็น มักจะเดินชนผนังหองอยูบอย ๆ จนครูและเพื่อน นักเรียนตองชวยกันดูแลขณะเขารวมกิจกรรม พูดจาออแอไมเปนภาษา และเขียนหนังสือไมได พอแมพาไปรักษาตัว มาหลายโรงพยาบาลแตไมหายขาด สุดทายตองมารักษาตัวที่บานตามยถากรรม จนอาการทรุดหนัก และมีอาการ เกร็งตามกลามเนื้ออยูบอยครั้ง แมเด็กเลาวาเคยมีลูกคนแรกเปนชายชื่อนองเมท หลังคลอดก็แข็งแรงสมบูรณทุกอยาง มีพัฒนาการเหมือน เด็กทั่วๆไปกระทั้งอายุ ๔ ขวบ เกิดลมปวยดวงตาพรามัวมองไมเห็น พาไปหาหมอ ถึง รพ.กรุงเทพฯ แหงหนึ่ง หมด ตรวจดูอาการ แลวบอกวารักษายาก เพราะเปนโรคที่โอกาสปวยแค ๑ ในลานรายเทานั้น แตไมบอกวาเปนโรคอะไร แถมบอกวาถาเปนลูกผูหญิงมีโอกาสรอดสูง แตเปนลูกชาย โอกาสอดเพียง รอยละ ๑๐ หมอก็รักษาจนสุด ความสามารถ และพาลูกกลับมารักษาตัวที่บานและเสียชีวิตลงใน ๒ ปตอมา ตอมาทีมแพทยที่เชี่ยวชาญทางสมอง วินิจฉัยอาการและเอ็กซเรยดู อาการของนองจาบวา เปนโรคประหลาด เชนเดียวกับลูกคนแรก คือสมองสวนกลางมีลักษณะหดตัว มีรอยแยกหางออกจากกัน การเจริญเติบโตของสมองไม ตอเนื่อง มีลักษณะถดถอย สงผลใหประสาทสวนกลางทํางานผิดปกติ เปนโรคที่พบยากมาในประเทศไทย โอกาสเปน แค ๑ ในลานคนเทานั้น แตเคยพบมาแลวที่ญี่ปุน การรักษามีวิธีเดียวคือ การผาตัดปลูกถายไขสันหลังใหม แตมีโอกาส รอดเพียง รอยละ ๕๐ เทานั้น เดลินิวส ๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ หนา ๒ ๑๐
  • 11. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว ๖. ขาวขางตนเปนขาวประเภทใด ก. ขาวการเมือง ข. ขาวเศรษฐกิจ ค. ขาวธุรกิจ ง. ขาวสังคม “ตะลึงเด็กวัย ๒ ปวยโรคพิสดาร อาการประสาทถดถอย สมองสวนกลางหด พบยาก แค ๑ ในลานพี่ชายเปน-ตายไปแลว นองจาบ อายุ ๑๒ ป จากเด็กที่อวนทวนสมบูรณแข็งแรง ฉลาดเกินวัย เรียนเกง จูๆ กลับตาพรามัวจนบอดสนิท พูดจาออแอไมรูเรื่อง เหมือนหวน กลับมาเปนทารกแถมเดินไมได ตองนอนใหอาหารทางสายยางรางกายผายผอมเหลือ แตหนังหุมกระดูก พอเผย ลูกชายคนแรก ปวยเปนโรคประหลาดแบบเดียวกัน จนตายตอน อายุ ๖ ขวบ หมอระบุเปนโรคแปลกพบไดแต ๑ ในลานเทานั้น ตองผาตัดเปลี่ยนไขสันหลัง โอกาสรอด รอยละ ๕๐: ๕๐” ๗. ขอความที่ปรากฏในขาวสวนที่ยกมานี้เปนองคประกอบใดของขาว ก. พาดหัวขาว ข. ขาวนา ค. สวนเชื่อม ง. เนื้อขาว ๑๑
  • 12. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว ๘. นักเรียนคิดวาอะไรคือสาเหตุสําคัญของการเกิดโรคนี้ ก. เกิดจากพันธุกรรม ข. เกิดจากโรคเนื้องอกในสมอง ค. เกิดจากสมองไดรับความกระทบกระเทือน ง. เกิดจากเด็กใชสมองมากเกินไป ๙. การผาตัดเปลี่ยนไขสันหลังผาตัดใครกับใคร ก. ของตัวเราเอง ข. ของญาติฝายพอ ค. ของญาติฝายแม ง. บุคคลในสายเลือดเดียวกัน ๑๐. หากนักเรียนเปน พอ หรือแม ของนองจาบนักเรียนจะทําอยางไรจึงจะปองกัน ไมใหเกิดโรคแบบนี้อีก ก. ตรวจสุขภาพประจําป ข. ปองกันไมใหมีลูก ค. มีลูกไดแตตองระวังและทําใจ ง. ปรึกษาแพทยทุกป ๑๒
  • 13. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว กอนที่จะฝกทักษะ เลมที่ ๑ เรามาลองลับสมองประลอง ปญญากันหนอยนะครับ ๑๓
  • 14. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว กิจกรรมที่ ๑ ฝกสมองประลองปญญา กิจกรรมที่ ๑.๑ คําชี้แจง ใหนักเรียนทายคําจากภาพปริศนา ตอบ……………………………………………………………………… ๑๔
  • 15. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว กิจกรรมที่ ๑.๒ คําชี้แจง จงวิเคราะหวาคําในขอใดมีความหมายสัมพันธกับคําที่กําหนดให (คําราชาศัพท) ตัวอยาง ปวย = อาพาธ  มรณภาพ = ? ก. จําวัด ข.ประชวร ค. ตาย ง. ทําวัตร ๑. ฉลองพระเนตร = แว่นตา  ฉลองพระองค์ = ? ก. รองเท้ า ข. กางเกง ค. เสื อ ง. ถุงมือ ๒. ประเคน = ถวาย  นิมนต์ = ? ก. รับประทาน ข. เชิญ ค. นอนหลับ ง. ให้ พร ๓. โอรส = ลูกชาย  นัดดา = ? ก. ลูกสาว ข. น้ องสาว ค. หลาน ง. เหลน ๔. พระทนต์ = ฟั น  ไรพระทนต์ = ? ก. ซีฟั น ข. ไรฟั น ค. เขี ยว ง. ลิ น ๕. กริ ว = โกรธ  ดําริ = ? ก. คิด ข. ฟั ง ค. ชอบ ง. พูด ๑๕
  • 16. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว สนุกไหมครับ ลับสมองกันแลว มาเรียนเนื้อหากันเลยนะครับ ๑๖
  • 17. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว กรอบเนื้อหา เรื่องการคิดวิเคราะหขาว ขาว คือการรายงานเหตุการณหรือเรื่องราวที่เกิดขึ้น ซึ่งอยูในความสนใจ ใครรูของคนทั่วไป ขาวที่ปรากฏในหนังสือพิมพหรือสื่ออื่นๆ มีหลายชนิดและหลาย ประเภท ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความหลากหลายในการนําเสนอ ชนิดของขาว แบงออกไดตามเนื้อหาของขาวนั้นๆ ไดแก ขาวการเมือง ขาว สังคม ขาวเศรษฐกิจ ขาวการศึกษาและวิทยาศาสตร ขาวอาชญากรรม ขาวบันเทิง ขาวสุขภาพและขาวกีฬา เปนตน แววมยุรา เหมือนนิล. (๒๕๔๑: ๕๘) แบงประเภทของขาว ไว ๒ ประเภท คือ ๑. ขาวหนัก (Hard News) คือ ขาวที่มุงเนนเหตุการณเปนหลักเปนขาว ที่เสนอขอเท็จจริงลวนๆ ตรงไปตรงมาตามเหตุการณที่เกิดขึ้น เชน ขาวเพลิงไหม ขาวอุบัติเหตุ ขาวฆาตกรรม เนื้อขาวจะบอกวาเกิดอะไร ที่ไหน เมื่อใด ใคร ทําไม และเกิดขึ้นไดอยางไร ๒. ขาวเบา (Soft News) คือ ขาวที่มุงเนนกระบวนการเกี่ยวเนื่อง มากกวา เนนเหตุการณ เปนขาวที่มีการอธิบายและแปลความหมายเหตุการณ ที่เกิดขึ้น เพื่อใหผูอานเขาใจวาเพราะอะไรจึงเกิดเหตุการณนั้น รวมทั้งชี้ใหเห็น ผลกระทบจากเหตุการณที่มีตอสังคมดวย ๑๗
  • 18. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว โครงสรางของขาว โดยทั่วไปแบงออกได ๓ สวน ดังนี้ ๑. พาดหัวขาว (Headline) เปนจุดดึงดูดความสนใจและบอกความสําคัญ ของ ขาวไดชัดเจนและรวดเร็วที่สุด มักจะใชอักษรขนาดใหญ แตถาไมสามารถ เก็บความสําคัญได หมดจะมีการพาดหัวขาวรอง (Sub headline) เพิ่มเติมไวอีกสวนหนึ่ง โดยมีใจความที่ ขยายใหชัดเจนขึ้นและใชตัวอักษรที่ลดขนาดลง ๒. ความนําหรือวรรคนํา (Lead) เปนสวนที่อยูตอจากพาดหัวขาวและ พาด หัวขาวรอง โดยผูเขียนจับประเด็นสําคัญของเหตุการณทั้งหมดมารายงาน ใหผูอาน ทราบ และจะมีการเพิ่มสวนที่โยงความสัมพันธระหวางความนํากับเนื้อขาว ใหชัดเจนไว อีกตอนหนึ่งเรียกวา “สวนเชื่อม” (Bridge) ซึ่งมีความยาวไมมากนัก และในปจจุบัน มักไมนิยมใช ๓. เนื้อขาว (Body) เปนรายละเอียดของเหตุการณหรือเรื่องราวตางๆ ที่ เกิดขึ้นโดยใชรูปแบบในการนําเสนอหลายอยาง แตที่นิยมมากคือการรายงานขาว โดย เรียงลําดับเหตุการณสําคัญมากไปเหตุการณสําคัญนอย เพื่อใหผูอานจับสาระ สําคัญได เร็วขึ้น อยางไรก็ตามบางครั้งการพาดหัวขาวและการเขียนความนํา มุงเรียกรอง ความสนใจของผูอานมากเกินไปจนทําใหประเด็นสําคัญของขาวเบี่ยงเบน ไปหากได ตรวจสอบจากเนื้อขาวทั้งหมดอีกครั้งจะทําใหจับใจความขาวไดแมนยําขึ้น ๑๘
  • 19. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว หลักการอานและพิจารณาขาว พรทิพย ศิริสมบูรณเวช และคณะ. (๒๕๔๘ : ๖๒ - ๖๕) กลาววาในการอานขาว ควรพิจารณาตามองคประกอบของขาว ดังนี้ ๑. พิจารณาพาดหัวขาว การพิจารณาพาดหัวขาวในหนังสือพิมพ เปนการ จัดลําดับความสําคัญของขาว หากสังเกตการพาดหัวขาวในหนังสือพิมพ จะพบวา สวนสําคัญที่สุดของขาวจะพาดหัวดวยตัวอักษรขนาดใหญ สวนที่สําคัญรองลงมา จะใชตัวอักษรขนาดเล็กลงมาตามลาดับ ดังนัน ในการอานและพิจารณาขาว ควรอาน ้ พาดหัวขาวใหญกอน แลวจึงอานพาดหัวขาวยอย ๒. พิจารณาความนํา เมื่ออานและพิจารณาพาดหัวขาวและทราบเรื่องราวสันๆ ้ ของขาวนัน แลว ขันตอมาคือการอานและพิจารณาความนํา ซึ่งจะสรุปเรื่องราว ้ ้ ของขาวโดยขยายความหรือเพิ่มเติมรายละเอียดของพาดหัวขาว หากผูเขียนขาว สามารถเขียนความนําไดชัดเจน ผูอานทีมีเวลาในการอานนอย ประหยัดเวลาในการ ่ อานก็อาจไมจําเปนตองอานสวนเนือขาวตอไป ้ ๓. พิจารณาเนื้อขาว เนือขาวเปนสวนที่ผูอานจะอานหรือไมอานก็ไดหากทราบ ้ เรื่องยอของขาวจากความนําแลว เนือขาวเปนรายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณที่ ้ เปนขาวหากเราสนใจขาวใดเปนพิเศษก็ควรติดตามอานเนือขาว จากหนังสือพิมพ ้ หลายฉบับ เพื่อเปรียบเทียบความถูกตองของขาว และคิดไตรตรองอยางรอบคอบ ๔. พิจารณาการใชสานวนภาษา จะพบวามีขอบกพรองหลายประการ ทังในการ ้ เขียนสะกดคํา การใชคํายอ การใชคําผิดระดับ การใชคาแสลง การวาง สวนขยาย ไมถูกตอง ผูที่อานขาวจึงตองพิจารณาการใชภาษาตามลักษณะของภาษาขาว ที่ไมถูกตองของหลักการใชภาษา ๑๙
  • 20. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว กิจกรรมที่ ๒ คําชี้แจง ใหนักเรียนอานขาวที่กําหนดใหและทํากิจกรรมตามลําดับตอไปนี้ สลด! นอยใจพอบังคับเรียนพิเศษ ๑๐ ขวบผูกคอดับ” เมื่อเวลา ๐๙.๐๐ น. วันที่ ๙ ต.ค.ร.ต.อ.ภมร โพธิ์ขาว รอยเวร สถานีตํารวจ บางขุนเทียน รับแจงเหตุเด็กชายผูกคอตายภายในหองน้ํา บานเลขที่ ๗๙/๖ ถ.จอมทอง ซ.ไชยวัฒน ๑๐/๑ แขวงบางคอ เขตจอมทอง จึงรุดไปตรวจสอบพบ ด.ช.ธันวา เวชกามา หรือนองเจมส อายุ ๑๐ ขวบ เรียนชัน ป.๕ ้ ร.ร.เลิศพัฒนา สภาพใชผาเช็ดตัวผูกคอตัวเองตายอยูภายในหองน้ํา จากการสอบถาม นายเทอดศักดิ์ เวชกามา อายุ ๔๖ ป บิดา ซึ่งอยูในอาการโศกเศรา ใหการวากอนเกิดเหตุนองเจมสขออนุญาตไมไปเรียนพิเศษที่โรงเรียน ในวันนีซึ่งเปนวันสุดทายแลว โดยจะขอเลนกับเพื่อนๆพี่ๆที่บาน ตนเห็นวาวันนีเปนวันสุดทายครูที่โรงเรียน ้ ้ อาจจะใหการบาน มาก็ไดจึงไมอนุญาตแตไมไดดุดาแตอยางใด พรอมทั้งใหลูกไปเตรียมตัวอาบน้ําเพื่อไปเรียน พิเศษ จากนันตนไดออกจากบานไปชวยภรรยาตังแผงขายสมตํา และโทรศัพทมาถามญาติวานองเจมส ้ ้ อาบน้ําแลวหรือยังเพื่อจะไดเขาไปรับ ญาติที่บานบอกวาเห็นปดประตูอาบน้ําอยู ผานไปประมาณครึ่งชัวโมงได ่ โทรศัพทมาถามอีกครัง ญาติบอกวายังไมออกจากหองน้ําตนจึงเอะใจใหญาติไปเคาะประตูเรียก ปรากฏวา ้ ญาติมาบอกวานองเจมสผูกคอตาย และชวยกันนําสงโรงพยาบาล แพทยแจงวานองเจมสสิ้นใจระหวางการนําสง โรงพยาบาล ผูสื่อขาวรายงานวาญาติของนองเจมสยังระบุดวยวา นองเจมสมีความสามารถพิเศษ เปนแชมปเทควันโดประจําโรงเรียน และชอบดูรายการ ๑๐๘ วิธีฆาตกรรมทางยูบีซี ที่มา http://news.sanook.com วันที่ ๙ ตุลามคม ๒๕๕๒ ๒๐
  • 21. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว ข ั้น ท ี่ ๑ S u r v e y ( s ) อ า น ส ํา ร ว จ ค ํา ช ี้แ จ ง ใ ห น ัก เ ร ีย น อ า น ส ํา ร ว จ เ น ื้อ ห า อ ย า ง ร ว ด เ ร ็ว แ ล ว ต อ บ ค ํา ถ า ม ต อ ไ ป น ี้ โ ด ย เ ข ีย น ค ํา ต อ บ ใ น ช อ ง ว า ง ช ื่อ เ ร ื่อ ง ............................................................................................................................................. ช ื่อ ผ ูแ ต ง / ท ี่ม า ............................................................................................................................................................. จ ุด ม ุง ห ม า ย ข อ ง ผ ูแ ต ง ............................................................................................................................................................. ............................................... ......................... ................................................................................... ส า ร ะ ส ํา ค ัญ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ๒๑
  • 22. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว ข ั้น ท ี่ ๒ Q u e s t i o n ( Q ) อ า น ต ั้ง ค ํา ถ า ม ค ํา ช ี้แ จ ง ใ ห น ัก เ ร ีย น ต ั้ง ค ํา ถ า ม จ า ก เ ร ื่อ ง ท ี่อ า น ไ ป แ ล ว ต ัว อ ย า ง ค ํา ถ า ม ๑ . ใค ร ๒ . ท ํา อ ะ ไ ร ๓ . ท ี่ไ ห น ๔ . อ ย า ง ไ ร ๑ . ค ํา ถ า ม ............................................................................................................................................................. ๒ . ค ํา ถ า ม ............................................................................................................................................................. ๓ . ค ํา ถ า ม ............................................................................................................................................................. ๔ . ค ํา ถ า ม ............................................................................................................................................................. ๕ . ค ํา ถ า ม ............................................................................................................................................................. ๖ . ค ํา ถ า ม ............................................................................................................................................................. ๗ . ค ํา ถ า ม ............................................................................................................................................................. ๘ . ค ํา ถ า ม ............................................................................................................................................................. ๙ . ค ํา ถ า ม ............................................................................................................................................................. ๑ ๐ . ค ํา ถ า ม ............................................................................................................................................................. ๒๒
  • 23. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว ข ั้น ท ี่ ๓ R e a d ( R ๑ ) อ า น อ ย า ง ล ะ เ อ ีย ด เ พ ื่อ ห า ต อ บ ค ํา ถ า ม ค ํา ช ี้แ จ ง ใ ห น ัก เ ร ีย น อ า น เ น ื้อ ห า อ ย า ง ล ะ เ อ ีย ด ร อ บ ค อ บ แ ล ว ห า ค ํา ต อ บ ท ี่ไ ด ต ั้ง ค ํา ถ า ม ไ ว  ๑ . ค ํา ต อ บ ................................................................................................................................................................................... ๒ . ค ํา ต อ บ ................................................................................................................................................................................... ๓ . ค ํา ต อ บ ................................................................................................................................................................................... ๔ . ค ํา ต อ บ ................................................................................................................................................................................... ๕ . ค ํา ต อ บ ................................................................................................................................................................................... ๖ . ค ํา ต อ บ ................................................................................................................................................................................... ๗ . ค ํา ต อ บ ................................................................................................................................................................................... ๘ . ค ํา ต อ บ ................................................................................................................................................................................... ๙ . ค ํา ต อ บ ................................................................................................................................................................................... ๑ ๐ . ค ํา ต อ บ ................................................................................................................................................................................... ๒๓
  • 24. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว ข ั้น ท ี่ ๔ R e c i t e ( R ๒ ) ก า ร จ ด บ ัน ท ึก ข อ ม ูล ต า ง ๆ ค ํา ช ี้แ จ ง ใ ห น ัก เ ร ีย น จ ด บ ัน ท ึก ก า ร อ า น ข า ว ใ น ข ั้น ท ี่ ๓ โ ด ย จ ด บ ัน ท ึก ข อ ค ว า ม ส ว น ท ี่ส ํา ค ัญ อ ย า ง ร ัด ก ุม ห ร ือ ย อ ๆ ตาม ค ว า ม เ ข า ใ จ ข อ ง น ัก เ ร ีย น ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ๒๔
  • 25. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว ข ั้น ท ี่ ๕ R e v i e w ( R ๓ ) ก า ร เ ข ีย น ส ร ุป ใ จ ค ว า ม ค ํา ช ี้แ จ ง ใ ห น ัก เ ร ีย น อ า น เ น ื้อ ห า ท ั้ง ห ม ด แ ล ว ส ร ุป ใ จ ค ว า ม ส ํา ค ัญ ใ ห อ ย ูใ น ร ูป แ ผ น ผ ัง ค ว า ม ค ิด ๒๕
  • 26. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว ข ั้น ท ี่ ๖ R e v i e w ( R ๔ ) ก า ร ว ิเ ค ร า ะ ห  ว ิจ า ร ณ  เ ร ื่อ ง ท ี่อ า น ๑. ขาวนี้เปนขาวประเภทใด …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ขาวนีมีเหตุการณใดเกิดขึนบาง ้ ้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. นักเรียนคิดวา พอของนองเจมสมีสวนที่ทาใหนองเจมสคิดฆาตัวตายหรือไมอยางไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. นักเรียนคิดวาสาเหตุที่ทาใหนองเจมสเสียชีวิตคืออะไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. นักเรียนคิดวาการที่นองเจมสชอบดูรายการ ๑๐๘ วิธีฆาตกรรม มีผลกระทบตอนองเจมสหรือไม อยางไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒๖
  • 27. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว แบบทดสอบหลังเรียนแบบฝกทักษะเลมที่ ๑ คําชี้แจง ๑.แบบทดสอบกอนเรียน ฉบับนี้ใชทดสอบความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการอานอยางมีวิจารณญาณ แบบฝกทักษะเลมที่ ๑ สืบคน วิเคราะห เจาะขาว เปนแบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก จํานวน ๑๐ ขอ ขอละ ๑ คะแนนใชเวลาในการทดสอบ ๑๐ นาที ๒.ใหนักเรียนอานขอคําถามและคําตอบใหละเอียด เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว แลวนําไปตอบลงในกระดาษคําตอบ โดยทําเครื่องหมาย X ลงในชองตัวเลือกที่ตองการ ๓.ใหนักเรียนทําแบบทดสอบใหครบทุกขอ อานขาวตอไปนี้แลวตอบคําถามขอที่ ๑-๕ นักเรียน ปวช.หึงโหดแทงคูอริดับ หนุม ปวช.ชะตาขาด ถูกเพื่อนโรงเรียนเดียวกันแทงดับอนาถ กอนรอมอบตัว เผยเหยื่อเขามาเคลียร ปญหาแฟนเกาจนมีปากเสียงขั้นชกตอย สูไมไหวใชเหล็กแทง ตร.คาดแฟนสาวเคยเปนแฟนเกาผูตาย พ.ต.ต.ปติพันธ กฤดากร ณ อยุธยา สว.สป.สน.ดินแดง รับแจงจากศูนยวิทยุวาเกิดเหตุทะเลาะวิวาท มีผูไดรับบาดเจ็บภายในบริเวณกองดุริยางคทหารบก ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม. จึงไปตรวจสอบที่เกิดเหตุที่บริเวณลาดจอดรถแฟลตทหาร ภายในรั้วกองดุริยางคทหารบก เจาหนาที่พบกองเลือด และนายกิตติพงษ พงษเจื่อ อายุ ๒๐ ปนักเรียน ปวช.ป ๑ โรงเรียนพานิชยการสยาม ยืนถือเหล็กปลายแหลม มีเลือดติด โดยยอมรับวาใชเหล็กแทงนายลิขิต ทองดี อายุ ๑๙ ป นักเรียน ปวช. ป ๑ โรงเรียนเดียวกันจนไดรับ บาดเจ็บพลเมืองดีนําสงโรงพยาบาลและเสียชีวิตในเวลาตอมา นายกิตติพงษ ยอมรับวาแทงนายลิขิตถึงแกความตายจริง โดยกอนเกิดเหตุมีเรื่อง ทะวิวาทกับผูตาย หลังจากที่นายลิขิต เดินทางมาเพื่อเคลียรปญหากับ น.ส.นก แอบเพ็ชร กอนหนาเคยเปนแฟนนายลิขิต พูดคุย กันจนมีปากเสียงและถึงขั้นทะเลาะวิวาท เกิดชกตอยกันขึ้น นายกิตติพงษ สูไมไหว จึงใชเหล็กขูดชารปแทง นายลิขิตและรอมอบตัว เจาหนาตํารวจดําเนินคดีในขอหาฆาผูอื่น และพกอาวุธ (เหล็กปลายแหลม) ไปในเมือง หมูบาน หรือทาง สาธารณะ โดยไมมีเหตุจําเปน และไมมีเหตุอันควร คมชัดลึก ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ หนา ๓ ๒๗
  • 28. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว ๑. ขาวขางตนเปนขาวประเภทใด ก. ขาวธุรกิจ ข. ขาวเศรษฐกิจ ค. ขาวอาชญากรรม ง. ขาวการเมือง ๒. “นักเรียนปวช.หึงโหดแทงคูอริดับ” จากขอความนี้ คือสวนใดของขาว ก. เนื้อขาว ข. พาดหัวขาว ค. สวนเชื่อม ง. ความนํา ๓. นักเรียนเห็นดวยหรือไม กับการกระทําของนายกิตติพันธที่ใชเหล็กแทงนายลิขิต ก. เห็นดวย เพราะแคนที่นายลิขิตยังมาของแวะแฟนสาวอีก ข. เห็นดวย เพราะเปนตัวอยางใหกับคูรักอื่น ๆ ที่มีปญหาเชนนี้ ค. ไมเห็นดวย เพราะเปนการกระทําที่เกินเหตุ ง. ไมเห็นดวย เพราะไมเชนแนวทางแกปญหาใหหมดไปได ๒๘
  • 29. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว ๔. ทําอยางไร จึงจะปองกันไมใหเกิดเหตุการณเชนนี้ ก. พอ แม ครูควรดูแลเอาใจใสอยางใกลชิด ข. พอแมควรเปนที่ปรึกษาใหลูก ค. นักเรียนไมควรริรักในวัยเรียน ง. ครูควรสอนทักษะชีวิต ๕ . นักเรียนคิดวาอะไรคือสาเหตุสําคัญที่สุดที่ทําใหเกิดเหตุการณเชนนี้ ก. น.ส.นก แอบเพ็ชร เปนคนหลายใจ ข. นายกิตติพันธ เปนวัยรุนใจรอน ค. ทางวิทยาลัยไมเอาใจใสนักเรียนเทาที่ควร ง. นักเรียนไมไดรับความเอาใจใสจากครู และผูปกครอง ๒๙
  • 30. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว อานขาวตอไปนี้แลวตอบคําถามขอที่ ๖-๑๐ ตะลึงเด็กวัย ๑๒ ปวยโรคพิสดาร อาการประสาทถดถอยสมองสวนกลางหด พบยากแค ๑ ในลาน พี่ชายเปน-ตายไปแลว นองจาบ อายุ ๑๒ ปจากเด็กที่อวนทวนสมบูรณแข็งแรง ฉลาดเกินวัยเรียนเกง จูๆ กลับตาพรามัวจนบอดสนิท พูดจาออแอไมรูเรื่อง เหมือนหวนกลับมาเปนทารกแถมเดินไมได ตองนอนใหอาหาร ทางสายยางรางกายผายผอมเหลือแตหนังหุมกระดูก พอเผยลูกชายคนแรกปวยเปนโรคประหลาดแบบเดียวกันจนตาย ตอนอายุ ๖ ขวบ หมอระบุเปนโรคแปลกพบไดแค ๑ ในลานเทานั้น ตองผาตัดเปลี่ยนไขสันหลัง โอกาสรอด รอยละ ๕๐: ๕๐ เด็กปวยเปนโรคประหลาดรายนี้ชื่อเด็กชายกฤษกรณ คาชัยวงค หรือนองจาบ อายุ ๑๒ ป นร. ชั้น ป.๕ บานเลขที่ ๑ หมู ๒ บานปาตาล ต. เถินบุรี อ.เถิน จ. ลําปาง คือเปนโรคประสาทถดถอย จากเคยที่เปนเด็กเรียนเกง สอบไดเกรด ๔ ทุกวิชา เฉลียวฉลาดเกินวัยเหมือนผูใหญ ตอมากลับลมปวย พัฒนาการทางสมองถดถอยลง กลับเหมือนเด็กวัยทารก โดยเริ่มจากอาการตาพรามัวมองไมเห็น มักจะเดินชนผนังหองอยูบอย ๆ จนครูและเพื่อน นักเรียนตองชวยกันดูแลขณะเขารวมกิจกรรม พูดจาออแอไมเปนภาษา และเขียนหนังสือไมได พอแมพาไปรักษาตัว มาหลายโรงพยาบาลแตไมหายขาด สุดทายตองมารักษาตัวที่บานตามยถากรรม จนอาการทรุดหนัก และมีอาการ เกร็งตามกลามเนื้ออยูบอยครั้ง แมเด็กเลาวาเคยมีลูกคนแรกเปนชายชื่อนองเมท หลังคลอดก็แข็งแรงสมบูรณทุกอยาง มีพัฒนาการ เหมือนเด็กทั่วๆไปกระทั้งอายุ ๔ ขวบ เกิดลมปวยดวงตาพรามัวมองไมเห็น พาไปหาหมอ ถึง รพ.กรุงเทพฯ แหงหนึ่ง หมดตรวจดูอาการ แลวบอกวารักษายาก เพราะเปนโรคที่โอกาสปวยแค ๑ ในลานรายเทานั้น แตไมบอกวาเปนโรค อะไร แถมบอกวาถาเปนลูกผูหญิงมีโอกาสรอดสูง แตเปนลูกชาย โอกาสอดเพียง รอยละ ๑๐ หมอก็รักษา จนสุดความสามารถ และพาลูกกลับมารักษาตัวที่บานและเสียชีวิตลงใน ๒ ปตอมา ตอมาทีมแพทยที่เชี่ยวชาญทางสมอง วินิจฉัยอาการและเอ็กซเรยดู อาการของนองจาบวา เปนโรคประหลาด เชนเดียวกับลูกคนแรก คือสมองสวนกลางมีลักษณะหดตัว มีรอยแยกหางออกจากกัน การเจริญเติบโตของสมอง ไมตอเนื่อง มีลักษณะถดถอย สงผลใหประสาทสวนกลางทํางานผิดปกติ เปนโรคที่พบยากมาในประเทศไทย โอกาสเปนแค ๑ ในลานคนเทานั้น แตเคยพบมาแลวที่ญี่ปุน การรักษามีวิธีเดียวคือ การผาตัดปลูกถายไขสันหลังใหม แตมีโอกาสรอดเพียง รอยละ ๕๐ เทานั้น เดลินิวส ๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ หนา ๒ ๓๐
  • 31. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว ๖. ขาวขางตนเปนขาวประเภทใด ก. ขาวการเมือง ข. ขาวเศรษฐกิจ ค. ขาวธุรกิจ ง. ขาวสังคม “ตะลึงเด็กวัย ๑๒ ปวยโรคพิสดาร อาการประสาทถดถอย สมองสวนกลางหด พบยาก แค ๑ ในลานพี่ชายเปน-ตายไปแลว นองจาบ อายุ ๑๒ ป จากเด็กที่อวนทวนสมบูรณแข็งแรง ฉลาดเกินวัย เรียนเกง จูๆ กลับตาพรามัวจนบอดสนิท พูดจาออแอไมรูเรื่อง เหมือนหวน กลับมาเปนทารกแถมเดินไมได ตองนอนใหอาหารทางสายยางรางกายผายผอมเหลือ แตหนังหุมกระดูก พอเผย ลูกชายคนแรก ปวยเปนโรคประหลาดแบบเดียวกัน จนตายตอน อายุ ๖ ขวบ หมอระบุเปนโรคแปลกพบไดแต ๑ ในลานเทานั้น ตองผาตัดเปลี่ยนไขสันหลัง โอกาสรอด รอยละ ๕๐: ๕๐” ๗. ขอความที่ปรากฏในขาวสวนที่ยกมานี้เปนองคประกอบใดของขาว ก. พาดหัวขาว ข. ขาวนา ค. สวนเชื่อม ง. เนื้อขาว ๓๑
  • 32. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว ๘. นักเรียนคิดวาอะไรคือสาเหตุสําคัญของการเกิดโรคนี้ ก. เกิดจากพันธุกรรม ข. เกิดจากโรคเนื้องอกในสมอง ค. เกิดจากสมองไดรับความกระทบกระเทือน ง. เกิดจากเด็กใชสมองมากเกินไป ๙. การผาตัดเปลี่ยนไขสันหลังผาตัดใครกับใคร ก. ของตัวเราเอง ข. ของญาติฝายพอ ค. ของญาติฝายแม ง. บุคคลในสายเลือดเดียวกัน ๑๐. หากนักเรียนเปน พอ หรือแม ของนองจาบนักเรียนจะทําอยางไรจึงจะปองกัน ไมใหเกิดโรคแบบนี้อีก ก. ตรวจสุขภาพประจําป ข. ปองกันไมใหมีลูก ค. มีลูกไดแตตองระวังและทําใจ ง. ปรึกษาแพทยทุกป ๓๒
  • 33. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว เฉลยแบบฝกทักษะกอนเรียน- หลังเรียน เลมที่ ๑ สืบคนวิเคราะหเจาะขาว ขอที่ ๑ ข ขอที่ ๒ ง ขอที่ ๓ ง ขอที่ ๔ ก ขอที่ ๔ ง ขอที่ ๖ ง ขอที่ ๗ ง ขอที่ ๘ ง ขอที่ ๙ ค ขอที่ ๑๐ ค ๓๓
  • 34. เลมที่ ๑ : สืบคนวิเคราะหเจาะขาว บรรณานุกรม “ตะลึงเด็กวัย ๑๒ ปวยโรคพิสดาร” เดลินิวส. ๔ มิถุนายน ๒๕๕๒. หนา ๒ “นักเรียนปวช.หึงโหดแทงคูอริดับ”. คมชัดลึก. ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๒. หนา ๓ ประภาศรี สีหอาไพ. (๒๕๔๕). วัฒนธรรมทางภาษา. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาพปริศนาลวงตา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://www.watcharina.com/board/index.php?topic=๒๘๒.๐ ( วันที่คนขอมูล: ๑๕ เมษายน ๒๕๕๒) แววมยุรา เหมือนนิล. (๒๕๔๑) การอานจับใจความ. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : ชมรมเด็ก เสริมศรี หอทิมวรกุล. (๒๕๔๐ ). การพัฒนาทักษะการอานระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ, เอกสารการสอน ชุดวิชาการสอนกลุมทักษะ ๑ (ภาษาไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สุวัฒน วิวัฒนานนท. (๒๕๕๐) ทักษะการอาน คิดวิเคราะห และเขียน. พิมพครั้งที่ ๒ . นนทบุร:ี ซี.ซี. นอลลิดจลิงคส สุวิทย มูลคํา. ครบเครื่องเรื่องการคิด (๒๕๔๗ ). พิมพครั้งที่ ๖. กรุงเทพมหานคร: หางหุนสวนภาพพิมพ ๓๔