SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
Descargar para leer sin conexión
กระบวนการออกแบบแบบย้อนกลับ (Backward Design) เริ่มจากคิดทุกอย่างให้จบสิ้นสุด จากนั้น
จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ผลผลิตที่ต้องการ (เป้าหมายหรือมาตรฐานการเรียนรู) สิ่งนี้ได้มาจากหลักสูตร เป็น
                                                                       ้
หลักฐานพยานแห่งการเรียนรู้ (Performances) ซึ่งเรียกว่า มาตรฐานการ

                                    หลักการแนวคิด Backward Design

       Backward Design วิธีนี้ได้เผยแพร่โดย Grant Wiggins และ Jay McTighe เมื่อปี ค.ศ. 2
๑๙๙๘ ซึ่งเป็นกระบวนการการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่กําหนดพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียน หรือการ
ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนก่อน แล้วจึงมาออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน มี
ความรู้ ความสามารถ และแสดงความรู้ ความสามารถตามที่กําหนดไว้
หลักการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ๓ ขั้นตอนดังนี้
       ขั้นตอนที่ ๑ การกําหนดความรู้ความสามารถของผู้เรียน
       ขั้นตอนที่ ๒ การกําหนดวิธีการวัดผลประเมินผล
       ขึ้นตอนที่ ๓ การออกแบบการเรียนรู้

        ขั้นตอนที่ 1 การกําหนดความรู้ความสามารถของผู้เรียน
        ในการกําหนดเป้าหมายที่พึงประสงค์ ผู้สอนจะพิจารณาว่าผู้เรียนควรรู้อะไร ควรมีความเข้าใจในเรื่อง
ใด และควรทําอะไรได้บ้าง อะไรที่ควรค่าแก่การเรียนรู้ ควรมีความเข้าใจที่ยงยืน
                                                                         ั่
อะไรบ้าง
            ในการพิจารณาลําดับความสําคัญ ขอเสนอเกณฑ์เพื่อพิจารณา ๔ ประการได้แก่
            ๑. แนวคิด หัวข้อ หรือ กระบวนการนั้น เป็นประเด็นหลักที่จะมีคุณค่านอกบริบทการเรียนการสอน
ในห้องเรียนหรือไม่ ความเข้าใจที่ยั่งยืนต้องไม่เป็นเพียงข้อมูลหรือทักษะ เฉพาะเรื่องเท่านั้น แต่จะต้องเป็นเรื่อง
หลัก ประเด็นหลัก ที่สามารถนําไปปรับประยุกต์ ในสถานการณ์อื่น ๆ นอกห้องเรียน และต้องเป็นเสมือนดุมล้อ
ที่ยึดวงล้อ
           ๒. แนวคิด หัวข้อ กระบวนการนั้น เป็นหัวใจของศาสตร์ ที่เรียนหรือไม่ ผู้เรียนควรมีโอกาสผ่าน
กระบวนการของศาสตร์นั้น ๆ เพื่อจะได้เรียนรู้ว่าองค์ความรู้ในศาสตร์นั้น ๆ เกิดขึ้นได้อย่างไร ลองนึกถึงภาพ
ว่าผู้ประกอบวิชาชีพในศาสตร์นั้นต้องทําอะไรบ้าง เช่นทํา การทดลองทางวิทยาศาสตร์ เขียนรายงานเพื่อ
รายงานต่อกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับข้อค้นพบเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ โดยใช้หลักฐาน
ปฐมภูมิและทุติยภูมิ การเรียนรู้ในสภาพจริงจะช่วยให้ผู้เรียนปรับสถานภาพจากผู้เรียนที่รอรับความรู้ไปสู่ผู้เรียนที่
มีส่วนในการสร้างความรู้
            ๓. แนวคิด หัวข้อ และกระบวนการนั้นต้องมีการดูแลเป็นพิเศษ เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจเพียงใด มี
เนื้อหาสาระเป็นจํานวนมากที่ซับซ้อน ยาก และเป็นนามธรรมเกินที่ผู้เรียนจะเข้าใจได้ด้วยตนเอง หัวข้อ
เหล่านี้ ควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษ และควรบรรจุในการเรียน การสอนมากกว่าเนื้อหาที่เข้าใจง่าย ที่ผู้เรียน
อาจเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
๔. แนวคิด หัวข้อ กระบวนการใดที่เอื้อต่อการมีส่วนร่วมของผู้เรียน มีหลายหัวข้อ หลายกิจกรรมที่
ผู้เรียนสนใจตามวัยอยู่แล้ว สามารถเลือกมาใช้เพื่อเป็น “ประตู” ไปสู่เรื่องอื่นที่ใหญ่กว่า หากสามารถเชื่อมโยง
เรื่องที่เรียนไปสู่เรื่องที่ผู้เรียนสนใจ จะช่วยทําให้ ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าต่อเนื่องด้วยตนเองต่อไป
          ในขั้นตอนที่ ๑ นี้เป็นการกําหนดความรู้ความสามารถของผู้เรียนที่ต้องการให้เกิด คือ ครูผู้สอนจะต้อง
วิเคราะห์ให้ได้ว่า หน่วยการเรียนรู้ที่ออกแบบนั้นผู้เรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเรื่องอะไร สามารถทําอะไร
ได้ และมีสาระ/ความรู/ความสามารถอะไรบ้างที่ควรเป็นความเข้าใจที่ติดตัวผู้เรียนไปเป็นเวลานาน(ความเข้าใจที่
                             ้
คงทน) ในการจัดทําหน่วยการเรียนรู้และกําหนดความรูความสามารถของผู้เรียนที่ต้องการให้เกิดขึ้นนี้ ครูผู้สอน
                                                              ้
ต้องพิจารณาพันธกิจ เป้าประสงค์ และคุณลักษณะของหลักสูตรสถานศึกษา และพิจารณามาตรฐานการเรียนรู้
ของหน่วยการเรียนรู้ที่กําลังออกแบบการจัดการเรียนรู้ด้วย

           ขั้นตอนที่ 2 การกําหนดวิธีการวัดผลประเมินผล
           วิธีการ Backward Design กําหนดให้ครูคิดเหมือนนักประเมินผล ครูจะเริ่มการวางแผนการเรียนรู้
ด้วยการคิดถึงหลักฐานที่จะบ่งชี้ว่าผู้เรียนได้บรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ที่กําหนดไว้ ด้วยวิธีการประเมินที่
หลากหลายและต่อเนื่อง เป็นการกําหนดวิธีวัดผลประเมินผลการเรียนรู้เพื่อให้พฤติกรรมเกิดขึ้นที่
ชัดเจน ยอมรับได้ว่าผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้หลังจากที่ได้เรียนรู้แล้ว คําถามที่ครูต้องการหา
คําตอบให้ได้คือ
              - จะรู้ได้อย่างไรว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจตามมาตรฐานหรือผลการเรียนรู้ทคาดหวังของหน่วยการ
                                                                                          ี่
เรียนรู้ที่กําหนดไว้
            - การแสงออกของผู้เรียนเป็นอย่างไร จึงจะยอบรับได้ว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจตามที่กําหนด
ไว้ ครูผู้สอนจึงต้องประเมินผลการเรียนรู้ โดยการตรวจสอบพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียน การวัดและการ
ประเมินผลการเรียนรู้ที่เป็นความเข้าใจที่คงทนของผู้เรียน ไม่ควรใช้วิธีการประเมินผลการเรียนรู้เพียงครั้งเดียว
แล้วตัดสินผลการเรียนรู้ ควรใช้การประเมินผลตามสภาพจริง ใช้วิธีการประเมินที่หลากหลาย และอาจจะ
ประเมินด้วยการทดสอบด้วยก็ได้ และควรเป็นประเภทเขียนตอบเพื่อจะได้แน่ใจว่าผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่
สําคัญอย่างแท้จริง

       ขั้นตอนที่ 3 การออกแบบการเรียนรู้
      เมื่อมีความชัดเจนเกี่ยวกับเป้าหมายการเรียนรู้และหลักฐานที่เป็นรูปธรรมแล้วผู้สอนสามารถเริ่มวาง
แผนการเรียนการสอนได้ โดยอาจตั้งคําถามดังต่อไปนี้
       ๑. ความรู้และทักษะอะไรจะช่วยให้ผู้เรียนมีความสามารถตามเป้าหมายที่กําหนดไว้
       ๒. กิจกรรมอะไรจะช่วยพัฒนาผู้เรียนไปสู่เป้าหมายดังกล่าว
       ๓. สื่อการสอนจึงจะเหมาะสมสําหรับกิจกรรมการเรียนรู้ข้างต้น
       ๔. การออกแบบโดยรวมสอดคล้องและลงตัวหรือไม่
     ในการออกแบบการเรียนรู้ การวางแผนการจัดกิจกรรมและสร้างเสริมประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อให้
ผู้เรียนได้แสดงพฤติกรรมตามที่ระบุในขั้นที่ ๒ ซึ่งถ้าผู้เรียนแสดงพฤติกรรมตามที่กําหนดไว้ได้ในระดับที่น่า
พอใจ ก็จะแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดในขั้นที่ ๑ ครูควรกําหนดกิจกรรมต่างๆให้
ผู้เรียนปฏิบัติ คือ กําหนดพฤติกรรมที่ให้ผู้เรียนแสดงออกที่แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนมีความรู้และทักษะ/
กระบวนการตามมาตรฐาน/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหน่วยการเรียนรู้ที่กําหนดที่สอดคล้องกับขั้นที่ ๒ ที่
กําหนดไว้
           ๑. กําหนดกิจกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ (ข้อเท็จจริง
ความคิดรอบยอดและหลักการต่างๆ) และมีทักษะตามาตรฐาน/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหน่วยการเรียนรู้
           ๒. การกําหนดสาระการเรียนรู้ที่ใช้เป็นสื่อในการจัดการเรียนรูและวิธีการชี้แนะ และ
                                                                      ้
กําหนดวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมที่สุด ที่จะทําให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะตามมาตรฐาน/ผลการ
เรียนรู้ที่คาดหวังของหน่วยการเรียนรู้
           ๓. กําหนดสื่ออุปกรณ์และแหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสมที่จะทําให้ผู้เรียนพัฒนาตาม
มาตรฐาน/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหน่วยการเรียนรู้นั้นๆ สื่ออุปกรณ์และแหล่งเรียนรู้ควรมรความเหมาะสม
และมีความเป็นไปได้ที่จะทําให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะและความเข้าใจที่คงทน

          ความเข้าใจใน ๖ ด้าน สําหรับการออกแบบโดยวิธี Backward Design เพื่อความชัดเจนว่า ความ
เข้าใจที่เป็นหัวใจหลักของการเรียนรู้คืออะไร หนังสือเล่มนี้ได้นําเสนอว่าเมื่อผู้เรียนเกิดความเข้าใจที่ลึกซึ้งจะ
สามารถทําสิ่งดังต่อไปนี้
       ๑. Can explain สามารถอธิบายแนวคิด เหตุการณ์ หรือปรากฏการณ์อย่างชัดเจน พร้อม
ข้อมูล ทฤษฎี และองค์ความรู้ ที่เกี่ยวข้อง สามารถอธิบายเหตุผลและวิธีการ (Why and How) ทั้งยัง
สามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆได้
       ๒. Can interpret สามารถแปลความให้เกิดความหมายที่ชัดเจน ชี้ให้เห็นคุณค่า แสดงให้เห็นความ
เชื่อมโยงสู่ชีวิตจริง และผลกระทบที่อาจมีต่อผู้เกี่ยวข้อง
       ๓. Can apply สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ใหม่ ๆ ที่ต่างไปจากที่เรียนรู้มา
       ๔. Have perspective สามารถมองข้อดี ข้อเสีย จากมุมมองที่หลากหลาย
       ๕. Can empathize มีความละเอียดอ่อนที่จะซึมซับ รับทราบถึงความรู้สึกนึกคิดของผู้ที่เกี่ยวข้อง
       ๖. Have self-knowledge รู้จักตนเอง ตระหนักถึงจุดอ่อน วิธีคิด วิธีปฏิบัติ ค่านิยม
อคติ ของตนเอง ตลอดจนปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้และความเข้าใจของตนเอง
 เทคนิคการประเมิน
          ในการประเมินผลเพื่อมุ่งหวังให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมาย ควรใช้วิธีการประเมินต่างๆ ดังนี้
          ๑. การเลือกคําตอบที่ถูกต้อง (Selected Response) เช่น การจับคู่คําตอบ ให้เลือกตอบ
          ๒. การเขียนหรือตอบตามเค้าโครง (Constructed Response) เช่น เขียนรายงานผลการ
ทดลอง เขียนตามรูปแบบที่ร่างไว้ การเขียนตอบสั้นๆ
          ๓. การตอบอัตนัย (Essay) เช่น เขียนบทความ เขียนตอบโดยกําหนดเค้าโครงเอง
๔. การผลิตชิ้นงาน โครงการ การแสดง การปฏิบัติอยู่ที่
โรงเรียน (School products/performance)
        ๕. การผลิตชิ้นงาน โครงการ การแสดง การปฏิบัติตามสภาพจริง ซึ่งมีความซับซ้อน
ของสถานการณ์และการจัดการมากกว่า นักเรียนต้องมีทักษะและความรู้ ในการทํางานหรือการปฏิบัติงาน
นั้นๆ (Contexual products/performance)
        ๖. การประเมินต่อเนื่อง เช่น การสังเกตพัฒนาการของนักเรียน การประเมินทักษะของนักเรียน การ
ประเมินตนเองของนักเรียน (On-going tools)

          สรุป
         Backward Design เป็นวิธีการออกแบบผลการเรียนรู้แบบปลายทาง เน้นไปที่ความรู้และ
ทักษะ อนาคต รวมไปถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่โรงเรียนกําหนดให้เกิดกับตัวผู้เรียน มีกระบวนการ
ออกแบบที่ไม่เน้นเนื้อหาว่ารู้อะไร แต่จะเน้นที่การเรียนรู้ว่า จะต้องเรียนรู้อย่างไรจึงจะเพิ่มทักษะให้ผู้เรียน เกิด
เป็นความรู้ความเข้าใจที่ยั่งยืน และสามารถนําไปใช้ได้จริง ผลงานของผู้เรียนเมื่อจบบทเรียนเป็นสิ่งสําคัญ ที่
ผ่านการออกแบบจากครูเป็นอย่างดีแล้ว คิดอย่างดีแล้ว จึงนําองค์ประกอบสําคัญต่างๆ ที่กําหนดไว้ในแบบไปลง
ในแผนการสอน ขยายเพิ่มเติมรายละเอียด ให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ เพื่อนําไปสอนจริงก็จะเกิดผลการ
เรียนรู้ คุณภาพตามที่ระบุไว้จริง Backward Design จึงไม่ใช่แผนการสอน แต่เป็นภาพรวมสําคัญของแผนการ
สอน มีองค์ประกอบสําคัญของแผน หรือจะเรียกว่า แผนในระดับกรอบความคิดรวมก็ได้ จุดที่จะ
วาง Backward Design ในระบบการทํางานของครูก็คือ ครูจะต้องคิดออกแบบก่อนลงมือเขียนแผน หรือแผน
ที่ดีต้องมีกรอบที่เป็นเหตุเป็นผลที่สัมพันธ์กันก่อน แล้วจึงจะไปเขียนแผนตามแนวหรือกรอบที่ตั้งไว้

        แหล่งอ้างอิง
        wwww.nitesonline.net

        www.kasidetp.com

        www.nsru.ac.th

       www.yantakao.ac.th
เข้าชม : 1393

             นําเสนอโดย : นิตยา ทองดียิ่ง
             โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
             สพม. เขต 13 ตรัง
             อยู่ในขั้น : ปรมาจารย์
บทความการออกแบบการสอน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
สุเทพ สอนนิล
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
poms0077
 
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
Jintana Kujapan
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
mickyindbsk
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
kruteerapol
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
BB_FF
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
BB_FF
 

La actualidad más candente (17)

งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผล
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนที่มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 

Destacado (9)

บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
9
99
9
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
กำลังใจฝากมา
กำลังใจฝากมากำลังใจฝากมา
กำลังใจฝากมา
 
ความน่าจะเป็นสรุป PP
ความน่าจะเป็นสรุป PPความน่าจะเป็นสรุป PP
ความน่าจะเป็นสรุป PP
 
รายการรูป
รายการรูปรายการรูป
รายการรูป
 
learn 4 d lifecycle and prepare a document on supply & demand
 learn 4 d lifecycle and prepare a document on supply & demand learn 4 d lifecycle and prepare a document on supply & demand
learn 4 d lifecycle and prepare a document on supply & demand
 
Scratch Radio - BCU BA Marketing
Scratch Radio - BCU BA MarketingScratch Radio - BCU BA Marketing
Scratch Radio - BCU BA Marketing
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 

Similar a บทความการออกแบบการสอน

Teahingint[1]
Teahingint[1]Teahingint[1]
Teahingint[1]
numpueng
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingint
prisana2
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingint
korakate
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
Jiramet Ponyiam
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
powe1234
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
Prachyanun Nilsook
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 

Similar a บทความการออกแบบการสอน (20)

Teahingint[1]
Teahingint[1]Teahingint[1]
Teahingint[1]
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingint
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingint
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
Backward Design ผอ เบญจลักษณ์
Backward  Design ผอ เบญจลักษณ์Backward  Design ผอ เบญจลักษณ์
Backward Design ผอ เบญจลักษณ์
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
 
Com 1
Com 1Com 1
Com 1
 
Bbl ๘
Bbl ๘Bbl ๘
Bbl ๘
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
งานส่งคศ.3
งานส่งคศ.3งานส่งคศ.3
งานส่งคศ.3
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
Curriculum to learn
Curriculum to learnCurriculum to learn
Curriculum to learn
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Gor3
Gor3Gor3
Gor3
 
Surapol3
Surapol3Surapol3
Surapol3
 

Más de นิตยา ทองดียิ่ง

หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา  หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
นิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
นิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
นิตยา ทองดียิ่ง
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
นิตยา ทองดียิ่ง
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
นิตยา ทองดียิ่ง
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
นิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
นิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
นิตยา ทองดียิ่ง
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
นิตยา ทองดียิ่ง
 

Más de นิตยา ทองดียิ่ง (20)

หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา  หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
 
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่ายPptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
 
ปก
ปกปก
ปก
 
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
Microsoft word หนึ่งแสนครูดี
Microsoft word   หนึ่งแสนครูดีMicrosoft word   หนึ่งแสนครูดี
Microsoft word หนึ่งแสนครูดี
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
 
Microsoft word แบบฝึกตำรา
Microsoft word   แบบฝึกตำราMicrosoft word   แบบฝึกตำรา
Microsoft word แบบฝึกตำรา
 

บทความการออกแบบการสอน

  • 1. กระบวนการออกแบบแบบย้อนกลับ (Backward Design) เริ่มจากคิดทุกอย่างให้จบสิ้นสุด จากนั้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ผลผลิตที่ต้องการ (เป้าหมายหรือมาตรฐานการเรียนรู) สิ่งนี้ได้มาจากหลักสูตร เป็น ้ หลักฐานพยานแห่งการเรียนรู้ (Performances) ซึ่งเรียกว่า มาตรฐานการ หลักการแนวคิด Backward Design Backward Design วิธีนี้ได้เผยแพร่โดย Grant Wiggins และ Jay McTighe เมื่อปี ค.ศ. 2 ๑๙๙๘ ซึ่งเป็นกระบวนการการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่กําหนดพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียน หรือการ ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนก่อน แล้วจึงมาออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน มี ความรู้ ความสามารถ และแสดงความรู้ ความสามารถตามที่กําหนดไว้ หลักการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ๓ ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ การกําหนดความรู้ความสามารถของผู้เรียน ขั้นตอนที่ ๒ การกําหนดวิธีการวัดผลประเมินผล ขึ้นตอนที่ ๓ การออกแบบการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 1 การกําหนดความรู้ความสามารถของผู้เรียน ในการกําหนดเป้าหมายที่พึงประสงค์ ผู้สอนจะพิจารณาว่าผู้เรียนควรรู้อะไร ควรมีความเข้าใจในเรื่อง ใด และควรทําอะไรได้บ้าง อะไรที่ควรค่าแก่การเรียนรู้ ควรมีความเข้าใจที่ยงยืน ั่ อะไรบ้าง ในการพิจารณาลําดับความสําคัญ ขอเสนอเกณฑ์เพื่อพิจารณา ๔ ประการได้แก่ ๑. แนวคิด หัวข้อ หรือ กระบวนการนั้น เป็นประเด็นหลักที่จะมีคุณค่านอกบริบทการเรียนการสอน ในห้องเรียนหรือไม่ ความเข้าใจที่ยั่งยืนต้องไม่เป็นเพียงข้อมูลหรือทักษะ เฉพาะเรื่องเท่านั้น แต่จะต้องเป็นเรื่อง หลัก ประเด็นหลัก ที่สามารถนําไปปรับประยุกต์ ในสถานการณ์อื่น ๆ นอกห้องเรียน และต้องเป็นเสมือนดุมล้อ ที่ยึดวงล้อ ๒. แนวคิด หัวข้อ กระบวนการนั้น เป็นหัวใจของศาสตร์ ที่เรียนหรือไม่ ผู้เรียนควรมีโอกาสผ่าน กระบวนการของศาสตร์นั้น ๆ เพื่อจะได้เรียนรู้ว่าองค์ความรู้ในศาสตร์นั้น ๆ เกิดขึ้นได้อย่างไร ลองนึกถึงภาพ ว่าผู้ประกอบวิชาชีพในศาสตร์นั้นต้องทําอะไรบ้าง เช่นทํา การทดลองทางวิทยาศาสตร์ เขียนรายงานเพื่อ รายงานต่อกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลาย ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับข้อค้นพบเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ โดยใช้หลักฐาน ปฐมภูมิและทุติยภูมิ การเรียนรู้ในสภาพจริงจะช่วยให้ผู้เรียนปรับสถานภาพจากผู้เรียนที่รอรับความรู้ไปสู่ผู้เรียนที่ มีส่วนในการสร้างความรู้ ๓. แนวคิด หัวข้อ และกระบวนการนั้นต้องมีการดูแลเป็นพิเศษ เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจเพียงใด มี เนื้อหาสาระเป็นจํานวนมากที่ซับซ้อน ยาก และเป็นนามธรรมเกินที่ผู้เรียนจะเข้าใจได้ด้วยตนเอง หัวข้อ เหล่านี้ ควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษ และควรบรรจุในการเรียน การสอนมากกว่าเนื้อหาที่เข้าใจง่าย ที่ผู้เรียน อาจเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
  • 2. ๔. แนวคิด หัวข้อ กระบวนการใดที่เอื้อต่อการมีส่วนร่วมของผู้เรียน มีหลายหัวข้อ หลายกิจกรรมที่ ผู้เรียนสนใจตามวัยอยู่แล้ว สามารถเลือกมาใช้เพื่อเป็น “ประตู” ไปสู่เรื่องอื่นที่ใหญ่กว่า หากสามารถเชื่อมโยง เรื่องที่เรียนไปสู่เรื่องที่ผู้เรียนสนใจ จะช่วยทําให้ ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าต่อเนื่องด้วยตนเองต่อไป ในขั้นตอนที่ ๑ นี้เป็นการกําหนดความรู้ความสามารถของผู้เรียนที่ต้องการให้เกิด คือ ครูผู้สอนจะต้อง วิเคราะห์ให้ได้ว่า หน่วยการเรียนรู้ที่ออกแบบนั้นผู้เรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเรื่องอะไร สามารถทําอะไร ได้ และมีสาระ/ความรู/ความสามารถอะไรบ้างที่ควรเป็นความเข้าใจที่ติดตัวผู้เรียนไปเป็นเวลานาน(ความเข้าใจที่ ้ คงทน) ในการจัดทําหน่วยการเรียนรู้และกําหนดความรูความสามารถของผู้เรียนที่ต้องการให้เกิดขึ้นนี้ ครูผู้สอน ้ ต้องพิจารณาพันธกิจ เป้าประสงค์ และคุณลักษณะของหลักสูตรสถานศึกษา และพิจารณามาตรฐานการเรียนรู้ ของหน่วยการเรียนรู้ที่กําลังออกแบบการจัดการเรียนรู้ด้วย ขั้นตอนที่ 2 การกําหนดวิธีการวัดผลประเมินผล วิธีการ Backward Design กําหนดให้ครูคิดเหมือนนักประเมินผล ครูจะเริ่มการวางแผนการเรียนรู้ ด้วยการคิดถึงหลักฐานที่จะบ่งชี้ว่าผู้เรียนได้บรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ที่กําหนดไว้ ด้วยวิธีการประเมินที่ หลากหลายและต่อเนื่อง เป็นการกําหนดวิธีวัดผลประเมินผลการเรียนรู้เพื่อให้พฤติกรรมเกิดขึ้นที่ ชัดเจน ยอมรับได้ว่าผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้หลังจากที่ได้เรียนรู้แล้ว คําถามที่ครูต้องการหา คําตอบให้ได้คือ - จะรู้ได้อย่างไรว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจตามมาตรฐานหรือผลการเรียนรู้ทคาดหวังของหน่วยการ ี่ เรียนรู้ที่กําหนดไว้ - การแสงออกของผู้เรียนเป็นอย่างไร จึงจะยอบรับได้ว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจตามที่กําหนด ไว้ ครูผู้สอนจึงต้องประเมินผลการเรียนรู้ โดยการตรวจสอบพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียน การวัดและการ ประเมินผลการเรียนรู้ที่เป็นความเข้าใจที่คงทนของผู้เรียน ไม่ควรใช้วิธีการประเมินผลการเรียนรู้เพียงครั้งเดียว แล้วตัดสินผลการเรียนรู้ ควรใช้การประเมินผลตามสภาพจริง ใช้วิธีการประเมินที่หลากหลาย และอาจจะ ประเมินด้วยการทดสอบด้วยก็ได้ และควรเป็นประเภทเขียนตอบเพื่อจะได้แน่ใจว่าผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่ สําคัญอย่างแท้จริง ขั้นตอนที่ 3 การออกแบบการเรียนรู้ เมื่อมีความชัดเจนเกี่ยวกับเป้าหมายการเรียนรู้และหลักฐานที่เป็นรูปธรรมแล้วผู้สอนสามารถเริ่มวาง แผนการเรียนการสอนได้ โดยอาจตั้งคําถามดังต่อไปนี้ ๑. ความรู้และทักษะอะไรจะช่วยให้ผู้เรียนมีความสามารถตามเป้าหมายที่กําหนดไว้ ๒. กิจกรรมอะไรจะช่วยพัฒนาผู้เรียนไปสู่เป้าหมายดังกล่าว ๓. สื่อการสอนจึงจะเหมาะสมสําหรับกิจกรรมการเรียนรู้ข้างต้น ๔. การออกแบบโดยรวมสอดคล้องและลงตัวหรือไม่ ในการออกแบบการเรียนรู้ การวางแผนการจัดกิจกรรมและสร้างเสริมประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อให้
  • 3. ผู้เรียนได้แสดงพฤติกรรมตามที่ระบุในขั้นที่ ๒ ซึ่งถ้าผู้เรียนแสดงพฤติกรรมตามที่กําหนดไว้ได้ในระดับที่น่า พอใจ ก็จะแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดในขั้นที่ ๑ ครูควรกําหนดกิจกรรมต่างๆให้ ผู้เรียนปฏิบัติ คือ กําหนดพฤติกรรมที่ให้ผู้เรียนแสดงออกที่แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนมีความรู้และทักษะ/ กระบวนการตามมาตรฐาน/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหน่วยการเรียนรู้ที่กําหนดที่สอดคล้องกับขั้นที่ ๒ ที่ กําหนดไว้ ๑. กําหนดกิจกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ (ข้อเท็จจริง ความคิดรอบยอดและหลักการต่างๆ) และมีทักษะตามาตรฐาน/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหน่วยการเรียนรู้ ๒. การกําหนดสาระการเรียนรู้ที่ใช้เป็นสื่อในการจัดการเรียนรูและวิธีการชี้แนะ และ ้ กําหนดวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมที่สุด ที่จะทําให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะตามมาตรฐาน/ผลการ เรียนรู้ที่คาดหวังของหน่วยการเรียนรู้ ๓. กําหนดสื่ออุปกรณ์และแหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสมที่จะทําให้ผู้เรียนพัฒนาตาม มาตรฐาน/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหน่วยการเรียนรู้นั้นๆ สื่ออุปกรณ์และแหล่งเรียนรู้ควรมรความเหมาะสม และมีความเป็นไปได้ที่จะทําให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะและความเข้าใจที่คงทน ความเข้าใจใน ๖ ด้าน สําหรับการออกแบบโดยวิธี Backward Design เพื่อความชัดเจนว่า ความ เข้าใจที่เป็นหัวใจหลักของการเรียนรู้คืออะไร หนังสือเล่มนี้ได้นําเสนอว่าเมื่อผู้เรียนเกิดความเข้าใจที่ลึกซึ้งจะ สามารถทําสิ่งดังต่อไปนี้ ๑. Can explain สามารถอธิบายแนวคิด เหตุการณ์ หรือปรากฏการณ์อย่างชัดเจน พร้อม ข้อมูล ทฤษฎี และองค์ความรู้ ที่เกี่ยวข้อง สามารถอธิบายเหตุผลและวิธีการ (Why and How) ทั้งยัง สามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆได้ ๒. Can interpret สามารถแปลความให้เกิดความหมายที่ชัดเจน ชี้ให้เห็นคุณค่า แสดงให้เห็นความ เชื่อมโยงสู่ชีวิตจริง และผลกระทบที่อาจมีต่อผู้เกี่ยวข้อง ๓. Can apply สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ใหม่ ๆ ที่ต่างไปจากที่เรียนรู้มา ๔. Have perspective สามารถมองข้อดี ข้อเสีย จากมุมมองที่หลากหลาย ๕. Can empathize มีความละเอียดอ่อนที่จะซึมซับ รับทราบถึงความรู้สึกนึกคิดของผู้ที่เกี่ยวข้อง ๖. Have self-knowledge รู้จักตนเอง ตระหนักถึงจุดอ่อน วิธีคิด วิธีปฏิบัติ ค่านิยม อคติ ของตนเอง ตลอดจนปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้และความเข้าใจของตนเอง เทคนิคการประเมิน ในการประเมินผลเพื่อมุ่งหวังให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมาย ควรใช้วิธีการประเมินต่างๆ ดังนี้ ๑. การเลือกคําตอบที่ถูกต้อง (Selected Response) เช่น การจับคู่คําตอบ ให้เลือกตอบ ๒. การเขียนหรือตอบตามเค้าโครง (Constructed Response) เช่น เขียนรายงานผลการ ทดลอง เขียนตามรูปแบบที่ร่างไว้ การเขียนตอบสั้นๆ ๓. การตอบอัตนัย (Essay) เช่น เขียนบทความ เขียนตอบโดยกําหนดเค้าโครงเอง
  • 4. ๔. การผลิตชิ้นงาน โครงการ การแสดง การปฏิบัติอยู่ที่ โรงเรียน (School products/performance) ๕. การผลิตชิ้นงาน โครงการ การแสดง การปฏิบัติตามสภาพจริง ซึ่งมีความซับซ้อน ของสถานการณ์และการจัดการมากกว่า นักเรียนต้องมีทักษะและความรู้ ในการทํางานหรือการปฏิบัติงาน นั้นๆ (Contexual products/performance) ๖. การประเมินต่อเนื่อง เช่น การสังเกตพัฒนาการของนักเรียน การประเมินทักษะของนักเรียน การ ประเมินตนเองของนักเรียน (On-going tools) สรุป Backward Design เป็นวิธีการออกแบบผลการเรียนรู้แบบปลายทาง เน้นไปที่ความรู้และ ทักษะ อนาคต รวมไปถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่โรงเรียนกําหนดให้เกิดกับตัวผู้เรียน มีกระบวนการ ออกแบบที่ไม่เน้นเนื้อหาว่ารู้อะไร แต่จะเน้นที่การเรียนรู้ว่า จะต้องเรียนรู้อย่างไรจึงจะเพิ่มทักษะให้ผู้เรียน เกิด เป็นความรู้ความเข้าใจที่ยั่งยืน และสามารถนําไปใช้ได้จริง ผลงานของผู้เรียนเมื่อจบบทเรียนเป็นสิ่งสําคัญ ที่ ผ่านการออกแบบจากครูเป็นอย่างดีแล้ว คิดอย่างดีแล้ว จึงนําองค์ประกอบสําคัญต่างๆ ที่กําหนดไว้ในแบบไปลง ในแผนการสอน ขยายเพิ่มเติมรายละเอียด ให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ เพื่อนําไปสอนจริงก็จะเกิดผลการ เรียนรู้ คุณภาพตามที่ระบุไว้จริง Backward Design จึงไม่ใช่แผนการสอน แต่เป็นภาพรวมสําคัญของแผนการ สอน มีองค์ประกอบสําคัญของแผน หรือจะเรียกว่า แผนในระดับกรอบความคิดรวมก็ได้ จุดที่จะ วาง Backward Design ในระบบการทํางานของครูก็คือ ครูจะต้องคิดออกแบบก่อนลงมือเขียนแผน หรือแผน ที่ดีต้องมีกรอบที่เป็นเหตุเป็นผลที่สัมพันธ์กันก่อน แล้วจึงจะไปเขียนแผนตามแนวหรือกรอบที่ตั้งไว้ แหล่งอ้างอิง wwww.nitesonline.net www.kasidetp.com www.nsru.ac.th www.yantakao.ac.th เข้าชม : 1393 นําเสนอโดย : นิตยา ทองดียิ่ง โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ สพม. เขต 13 ตรัง อยู่ในขั้น : ปรมาจารย์