SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
Descargar para leer sin conexión
ความรู้ทั่วไปเกียวกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ สมองเป็ นฐาน
                                 ่
ความเป็ นมาของการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ สมองเป็ นฐาน
            การค้นพบในเรื่ อง ของสมองที่สาคัญของโรเจอร์ สเปอร์ รี่ (Roger Sperry) ที่พบว่าสมองซี กซ้ายทา
หน้าที่ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับความสามารถในหลายด้าน ทั้งเรื่ องของคณิ ตศาสตร์ ภาษา และความคิดที่มี
รู ปแบบที่ซบซ้อน ในขณะที่สมองซี กขวาส่ วนใหญ่ทาหน้าที่เกี่ยวกับความสามารถด้านดนตรี และงานศิลปะ
              ั
แต่โดยทัวไปการทางานของสมองทุกส่ วนจะทางานร่ วมกัน และมีปฏิกิริยาต่อกันซึ่งการค้นพบดังกล่าว
            ่
ทาให้ โรเจอร์ได้รับรางวัลโนเบลในสาขาสรี รวิทยา และการแพทย์ในปี 1981 หลังจากนั้นทาให้หลาย ๆ
ฝ่ ายมีการตื่นตัวอย่างมากในเรื่ องของสมอง จนทาให้เกิดคาว่า “ทศวรรษแห่งสมอง” (Decade of the Brain)
        ในปั จจุบนมีผลงานการศึกษาของนักการศึกษาทางสมองที่มีขอค้นพบเกี่ยวกับความสามารถทาง
                  ั                                                    ้
สมอง โดยเฉพาะข้อค้นพบที่แสดงให้เห็นว่าสมองสามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้างได้ถามีการกระตุนที่     ้         ้
เหมาะสม ดังนั้นการศึกษาจึงได้มีการเสนอถึงวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ที่สอดคล้องกับการทางานของสมอง
Brain Based Learning (BBL) ซึ่ งเป็ นการเรี ยนรู ้ที่สอดคล้องกับวิธีการเรี ยนรู ้หรื อวิธีการทางานของสมอง
ทางธรรมชาติซ่ ึ งเดิมนั้นการจัดการเรี ยนรู ้คานึงถึงหลักการหรื ออายุของผูเ้ รี ยนและความพร้อมหรื อวุฒิภาวะ
ของผูเ้ รี ยนเท่านั้น การจัดการเรี ยนรู ้ที่กระตุนการเรี ยนรู้ตามแนวทาง BBL จะทาให้ผเู้ รี ยนมีระดับสติปัญญา
                                                 ้
และวุฒิภาวะทางอารมณ์สูงขึ้น ดังนั้นในปั จจุบนแนวโน้มทางการศึกษาจึงนาองค์ความรู ้ทางสมอง
                                                    ั
จิตวิทยาพัฒนา จิตวิทยาการเรี ยนรู้ และทฤษฎีการเรี ยนรู้ มาผนวกเข้าด้วยกัน แล้วจัดการเรี ยนรู ้ตาม
องค์ประกอบต่าง ๆ ทาให้การเรี ยนรู้มีประสิ ทธิภาพ และเด็กได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ

ความหมายของการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ สมองเป็ นฐาน

            เยาวพา เดชะคุปต์ (2548 : 36-37 อ้างถึงใน ฐิตาภรณ์ ธนูพราน 2553 ) ได้ให้ความหมายการเรี ยนรู้ที่
สอดคล้องกับการทางานของสมอง หมายถึง การจัดการศึกษาที่มีพ้ืนฐานกับการศึกษาวิจยเกี่ยวกับสมองและ
                                                                                          ั
การเรี ยนรู้ของสมอง โครงสร้างและหน้าที่ของสมอง ในแต่ละช่วงพัฒนาการของมนุ ษย์และนาผลการ
ศึกษาวิจยเกี่ยวกับสมองมาใช้ในวงการศึกษา พบว่าการใช้สมองเป็ นฐานสามารถนามาใช้สร้างการเรี ยนการ
            ั
สอนที่ดีได้ แนวคิดนี้จะช่วยอธิ บายเกี่ยวกับพฤติกรรมการเรี ยนรู ้จากชีวตจริ ง ได้รับประสบการณ์ดาน
                                                                        ิ                           ้
อารมณ์ ประสบการณ์ส่วนตัวและประสบการณ์ การแก้ปัญหาจากชีวิตจริ ง
            นัยพินิจ คชภักดี (2548) ได้ให้คาจากัดความของการเรี ยนรู ้โดยใช้สมองเป็ นฐานว่าเป็ นทฤษฎีการ
               ั ่                                                    ่
เรี ยนรู้ที่ต้ งอยูบนพื้นฐานของโครงสร้างและการทางานของสมองที่วา ตราบใดที่สมองยังไม่หยุดทางาน
การเรี ยนรู ้ก็ยงคงเกิดขึ้นอยูเ่ รื่ อยไป
                  ั
                                                                                            ่
            คนเรามักจะพูดว่าทุกคนมีโอกาสที่จะเรี ยนได้ แต่ในความจริ งแล้วทุกคนเรี ยนอยูตลอดเวลา
ทุกคนเกิดมาพร้อมกับสมองที่ทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากอย่างจนเหลือเชื่อ การเรี ยนการสอนแบบ
ดั้งเดิมมักจะขัดขวางการทางานของสมอง โดยการขัดขวางไม่สนับสนุน หรื อการเมินเฉย หรื อลงโทษต่อ
ขบวนการต่างๆในทางานตามปกติของสมอง ซึ่ งทาให้ไม่เกิดการเรี ยนรู ้ได้
               เคน และเคน (Caine & Caine. 1994 : 339 อ้างถึงใน ฐิตาภรณ์ ธนูพราน 2553) สรุ ปว่าการเรี ยนรู ้ที่
สอดคล้องกับการทางานของสมอง ว่าเป็ นการที่เด็กได้รับประสบการณ์ที่หลากหลายทั้งที่เป็ นจริ งและวาด
ฝันการหาวิธีการต่าง ๆ ในการรับประสบการณ์เข้ามารวมถึงการสะท้อนความคิดการคิดวิจารณญาณ และ
การแสดงออกทางศิลปะ ซึ่ งเป็ นการสรุ ปความรู ้ที่เกี่ยวกับการเรี ยนรู ้หลักการดังกล่าวเป็ นการมองดูผเู ้ รี ยนใน
                                                                                                ั
ฐานะที่เป็ นระบบที่มีชีวต (Living systems) ซึ่ งร่ างกายและจิตใจจะทางานประสานสัมพันธ์กนหรื อที่เรี ยกว่า
                             ิ
การเรี ยนรู ้เป็ นการกระทาทั้งร่ างกาย จิตใจและสังคม (Psychophysiological)
               กุลยา ตันติผลาชีวะ (2549 : 21 – 29 อ้างถึงใน ฐิตาภรณ์ ธนูพราน 2553) กล่าวว่าการเรี ยนรู ้ที่
สอดคล้องกับการทางานของสมอง หมายถึง การมองความสัมพันธ์ของสมองกับจิตใจและการทางานของ
สมอง ซึ่งการจัดการเรี ยนการสอนเด็กปฐมวัย ครู ควรมองการทางานของสมองเกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ 5 ประการ
คือการทางานร่ วมกันของสมองซี กซ้ายและซี กขวา กระบวนการสารสนเทศ การจา สัมผัสรับรู้และจิตสัมผัส
รู ้สิ่งที่ครู ตองระลึกคือ เด็กมีสมอง มีจิตใจ และมีตวตนดังนั้นครู จึงต้องคานึงถึงความรู ้สึกนิสัยและ
                 ้                                    ั
ความคุนเคยของเด็ก
            ้
                                                              ่
              จากความหมายของนักการศึกษาข้างต้น สรุ ปได้วา การจัดการเรี ยนรู้โดยใช้สมองเป็ นฐาน (Brain –
Based Learning) คือ การใช้ความรู้ความเข้าใจเรื่ องการทางานของสมองเป็ นเครื่ องมือในการออกแบบ
กระบวนการเรี ยนรู ้แลกระบวนการอื่นๆที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างศักยภาพสู งสุ ดในการเรี ยนรู ้ของมนุษย์ โดยเชื่ อ
                                     ่
ว่าโอกาสทองของการเรี ยนรู ้อยูระหว่างแรกเกิด ถึง 10 ปี

หลักการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ สมองเป็ นฐาน
          การเรี ยนรู้โดยใช้สมองเป็ นฐาน เคยถูกเรี ยกว่าเป็ นการผสมผสานระหว่างวิทยาศาสตร์ การทางาน
ของสมองกับสามัญสานึก เคนย์ และ เคนย์ (Caine and Caine, 1991 อ้างถึงใน นัยพินิจ คชภักดี :2548) ได้
พัฒนาหลักการทั้ง 12 ข้อมาจากสิ่ งที่เรารู ้เกี่ยวกับการทางานของสมองในการเรี ยน และการสอน หลักการ
เหล่านี้มีตนกาเนิดมาจากการศึกษาวิทยาศาสตร์ แขนงต่างๆ ที่เป็ นกรอบทางความคิดเกี่ยวกับเทคนิคและ
            ้
วิธีการในการสอน
           1. สมองเป็ นเครื่องประมวลผลทีทางานในเชิงขนาน (The Brain is a Parallel Processor)
                                                  ่
            ความคิด อารมณ์ จินตนาการ และแรงจูงใจในการเรี ยน จะเกิดขึ้นไปพร้อมๆ กันอย่างมี
ปฏิสัมพันธ์ประหนึ่งว่าเป็ นระบบเดียวกันเพื่อใช้ในการโต้ตอบ และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับสิ่ งแวดล้อม
           2. การเรี ยนรู้ ต้องอาศัยการทางานของระบบสรีระทั้งหมด (Learning engages the entire
physiology
           การเรี ยนรู ้เป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเช่นเดียวกับการหายใจ เพียงแต่การเรี ยนรู ้ถูกยับยั้ง หรื อ
ส่ งเสริ มด้วยปั จจัยบางอย่างได้ การเจริ ญเติบโตการบารุ ง และการทางานตอบสนองกันของเซลล์ประสาทมี
ความเกี่ยวข้องกับการแปรผลของประสบการณ์ ความเครี ยด และภาวะที่รู้สึกเหมือนถูกข่มขู่จะทาให้สมอง
                                   ่
ทางานต่างไปจากสมองที่อยูสภาวะสงบ แต่ได้รับท้าทายต่อสิ่ งแปลกใหม่ และยังเบื่อ
หน่ายกับความจาเจ ในขณะเดียวกันก็มีความสุ ข และพึงพอใจ การเกิดการเชื่ อมโยงของระบบประสาท
               ่ ั
นั้นยังขึ้นอยูกบปั จจัยทางสิ่ งแวดล้อมนันก็คือลักษณะของโรงเรี ยนกับสิ่ งที่พบในชีวตประจาวันด้วย
                                            ่                                                 ิ
           3. มนุษย์ มีความอยากทีจะค้ นหาความหมายแต่ กาเนิด (The search for meaning is innate)
                                     ่
           ความพยายามค้นหาความหมาย (หรื อความพยายามที่จะหาเหตุผลถึงเหตุการณ์ที่เผชิ ญอยู) และ              ่
ความต้องการที่จะตอบสนองต่อสิ่ งแวดล้อมเป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นเองโดยไม่ตองมีใครสอน ความพยายาม
                                                                                    ้
                                                                          ิ ่
ค้นหาความหมายเป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นเพราะมนุษย์ตองการที่จะมีชีวตอยูรอด สิ่ งนี้จึงเป็ นพื้นฐานของการ
                                                     ้
ทางานของสมองของมนุษย์ สมองมีความจาเป็ นต้องจดจาสิ่ งที่คุนเคยในขณะที่ตองพยายามค้นหาและ
                                                                           ้                ้
ตอบสนองต่อสิ่ งเร้าใหม่ๆ เราไม่สามารถหยุดความพยายามค้นหาความหมายได้ แต่เราสามารถเพ่งเป้ า
และจดจ่อไปยังสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งที่สนใจได้
           4. การค้ นหาความหมายของมนุษย์ เป็ นกิจกรรมทีเ่ ป็ นรู ปแบบ (The Search for meaning occurs
through “Patterning”)
           กิจกรรมที่เป็ นระบบหมายถึงการจัดการกับข้อมูลต่างๆ ให้เป็ นระเบียบอย่างมีเหตุผล และการจัด
หมวดหมู่ของข้อมูล สมองถูกออกแบบให้เข้าใจรู ปแบบและสร้างระบบที่มีแบบแผน และสมองก็ยงพยายาม                     ั
ที่จะนาระบบที่ไม่ก่อให้เกิดความความหมายมาจัดการกับข้อมูลด้วย ระบบที่ไม่ก่อให้เกิด
ความหมายนั้นก็คือ ข้อมูลที่ไม่ปะติดปะต่อกัน และไม่มีความเกี่ยวข้องกับสิ่ งที่ทาให้นกเรี ยนเข้าใจได้
                                                                                                 ั
           5. อารมณ์ มีความสาคัญต่ อการทางานแบบมีรูปแบบ (Emotion are Critical to Patterning.)
           เราไม่ได้เรี ยนรู ้อะไรได้ง่ายๆ เพราะสิ่ งที่เราเรี ยนรู ้น้ นมักได้รับอิทธิ พล และถูกควบคุมจากอารมณ์
                                                                        ั
และสภาวะของจิตใจจากความคาดหวัง ความลาเอียง และความมีอคติ ความมันใจในตัวเอง และความ       ่
                                 ั
ต้องการที่จะมีปฏิสัมพันธ์กบสังคม อารมณ์จะเป็ นตัวที่หล่อหลอมความคิด และความคิดก็จะเป็ นตัวที่หล่อ
หลอมอารมณ์โดยทั้งสองตัวไม่สามารถแยกจากกันได้
           6. สมองประมวลข้ อมูลแบบเป็ นส่ วนย่ อยๆ และแบบทั้งหมดพร้ อมๆ กัน (The Brain processes
parts and whole simultaneously.)
                                                                                  ่
           มีหลักฐานว่ามีความแตกต่างระหว่างสมองซี กซ้ายและขวาอยูจริ ง แต่อย่างไรก็ตามในคนที่มี
                                                                ั
สุ ขภาพดีปกติ สมองทั้งสองข้างจะทางานปฏิสัมพันธ์กนในประสบการณ์ทุกๆ อย่างในชีวตประจาวัน              ิ
ความเข้าใจถึงเรื่ องสมองสองซี กนั้นเป็ นการเปรี ยบเทียบกันตรงๆ ซึ่ งมีประโยชน์ในการช่วยให้ผทาการ        ู้
สอนเข้าใจถึงการทางานที่สองรู ปแบบที่แตกต่างกันเพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูล รู ปแบบหนึ่งก็คือการที่
แบ่งข้อมูลเป็ นข้อมูลย่อยต่างๆ และอีกรู ปแบบหนึ่งก็คือการรับรู ้ถึงข้อมูลย่อยๆ และนามาทางาน
ประสานกันหรื อเป็ นขั้นตอนที่ประสานกัน
7. การเรี ยนรู้ อาศัยทั้งการจดจ่ อต่ อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งและการรั บรู้ ต่อสภาพรอบข้ าง (Learning involves
both focused attention and peripheral perception)
            สมองจดจาทั้งข้อมูลที่กาลังจดจ่ออยู่ และข้อมูลที่เกิดขึ้นนอกเหนื อจากสิ่ งที่กาลังสนใจอยู่
หมายความว่าสมองจะตอบสนองต่อข้อมูลทั้งหมดจากทุกประสาทสัมผัสที่เกิดขึ้นรอบๆ บริ เวณที่มีการ
เรี ยนการสอนหรื อการสื่ อสาร
            8. การเรี ยนรู้ เกิดขึนเกียวข้ องกับขบวนการรับรู้ ต่างๆทั้งขณะมีสติรับรู้ และขณะไม่ มีสติรับรู้ อยู่
                                   ้ ่
เสมอ(Learning always involves conscious and unconscious processes)
                                                                                   ่
            การเรี ยนรู ้มากมายของมนุษย์น้ นเกิดขึ้นในจิตใต้สานึก และอยูต่ากว่าความรู ้สึกนึกคิด เราเกิดการ
                                                  ั
เรี ยนรู ้มากกว่าที่เรารู ้สึกและเข้าใจมากนัก ประสบการณ์ท่ีเรี ยนรู ้ในอดีตจะเป็ นส่ วนหนึ่ งในความรู ้พ้นฐาน
                                                                                                            ื
                                 ่
ของคนเราในแบบทั้งที่อยูต่ากว่าความรู ้สึกนึกคิด และแบบที่มีความรู้สึก
            9. เรามีวธีจัดการกับการจดจาอย่างน้ อยสองวิธี ก็คือการจดจาโดยใช้ ความสั มพันธ์ ของตาแหน่ งกับ
                       ิ
ตัวเรา และการจดจาโดยใช้ ระบบท่องจา (We have at least two ways of organizing memory: a spatial
memory and a set of system for rote learning)
            การจดจาโดยใช้ความสัมพันธ์ตาแหน่งกับตัวเราเป็ นการจดจาที่ไม่จาเป็ นต้องมีการทบทวน และยัง
เป็ นความจาที่เรี ยกมาใช้ได้ทนที วิธีน้ ีมกจะเกี่ยวข้องและได้รับการชักจูงจากสิ่ งที่แปลกใหม่รอบตัวการ
                                    ั         ั
จดจาชนิ ดนี้จะใช้วธีเก็บแตกต่างจากการจดจาอีกชนิดก็คือระบบท่องจา
                         ิ
            10. เราเข้ าใจได้ ง่ายและจดจาได้ อย่ างแม่ นยาเมื่อสิ่ งนั้นหรื อทักษะนั้นมีอยู่ในระบบการจดจาแบบ
ธรรมชาติทใช้ ตาแหน่ งและความสั มพันธ์ กบตัวเรา (We understand and remember best when facts and
                ี่                                  ั
skills are embedded in natural, spatial memory)
            มนุษย์เรี ยนคาศัพท์ และไวยากรณ์ของภาษาที่เป็ นภาษาแม่จากกระบวนทางประสบการณ์ที่
เชื่อมโยงกันอย่างซับซ้อน หลังจากนั้นสิ่ งเหล่านั้นก็จะถูกปรับปรุ งแก้ไขโดยการคิด และการเข้ามาอยู่
ในสังคม การเรี ยนภาษานั้นเป็ นตัวอย่างของการเรี ยนรู ้โดยการกาหนดความหมายของสิ่ งต่างๆ ใน
ประสบการณ์ทวไป การเรี ยนรู ้ในรู ปแบบนี้ จะเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการเรี ยนรู ้ได้ดีมาก
                    ั่
            11. การเรี ยนรู้ แบบซับซ้ อนจะถูกกระตุ้นโดยความท้ าทายและถูกยับยั้งโดยการถูกข่ มขู่ (Complex
learning is enhanced by challenge and inhibited by threat)
            สมองจะเกิดการเชื่อมโยงของระบบประสาทมากที่สุดเมื่อมีโอกาสให้ได้ลองเสี่ ยงกับอะไรอย่าง
หนึ่ง แต่สมองจะทางานลดลงเมื่อตกอยูในสภาวะที่ถูกข่มขู่ (เพราะจะรู ้สึกถึงสถานการณ์น้ นว่าช่วยเหลือ
                                                ่                                                   ั
ตัวเองไม่ได้)
            12. สมองของแต่ ละคนมีความเฉพาะตัวไม่ เหมือนกัน (Every brain is uniquely organized)
            มนุษย์ทุกคนมีสมองซึ่งทางานเหมือนๆกัน แต่เราก็ยงแตกต่างกันเนื่ องจากความแตกต่างทาง
                                                                        ั
                               ่ ั
กรรมพันธุ์ ความรู ้ที่มีอยูด้ งเดิม และสภาพแวดล้อมรอบตัว ยิงเราเรี ยนรู ้มากเท่าใดคนเราก็จะยิงแตกต่างกัน
                                                                      ่                               ่
ปัจจัยทีมผลต่ อพัฒนาการของสมองและการเรียนรู้
        ่ ี
          ปัจจัยทีมีผลต่ อพัฒนาการของสมองและการเรียนรู้
                    ่
          1. สภาพแวดล้อม (enriched environment) ของเด็กมีผลต่อการเชื่อมต่อเพิ่มขึ้น (synapses) หรื อ
                                                                                  ่ ั
ตัดแต่งให้ลดลงของเซลล์สมอง (pruning) ถึงร้อยละ 25 หรื อมากกว่า ขึ้นอยูกบว่าสภาพแวดล้อมนั้น
ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้หรื อไม่ (K.,Ron,1993)
          2. แสงสว่าง (Lighting) แสงสว่างที่พอเหมาะในการมีกิจกรรมการเรี ยนรู ้ คือ แสงสว่างจาก
ธรรมชาติ ซึ่ งเป็ นส่ วนประกอบของสี รุ้ง (Full Spectrum Light) โดยต้องมีหน้าต่างให้แสงสว่างส่ องผ่าน
อย่างน้อย ร้อยละ 20 ของผนังและต้องจัดให้เด็ก ๆ มีกิจกรรมกลางแจ้ง อย่างน้อยวันละ 1 ชัวโมง มีการ     ่
                                                     ่                                           ่
เปิ ดหน้าต่างให้แสงสว่างส่ องเข้าถึงในขณะเด็กอยูในอาคาร (Hawkins & Lilley, 1992) การอยูในแสงสว่างที่
ไม่เพียงพอหรื อไม่ใช่แสงจากธรรมชาติ เช่น จากหลอด ไฟฟ้ าฟลูออเรสเซนส์สีขาว จะทาให้ร่างกายหลัง                  ่
                           ั
ฮอร์ โมนซึ่ งสัมพันธ์กบการเกิดภาวะเครี ยดและยับยั้งการเจริ ญเติบโต ในสถานพยาบาลของเยอรมัน ห้ามใช้
หลอดไฟฟ้ ามี่มีเฉพาะแสงสี ขาว ที่ไม่มีส่วนประกอบของแสงสี แดง น้ าเงินและม่วง (Libertman, 1991)
          3. นา องค์ประกอบของเนื้อเยือสมอง ร้อยละ 85 คือ น้ า หากได้รับน้ าไม่เพียพองจะเกิดภาวะขาด
                ้                          ่
น้ า (dehydration) มีผลให้ระดับพลังงานในสมองลดลง และมีผลต่อการส่ งข้อมูล (neuro transmitter) จาก
เซลล์สมองไปสู่ กนและกัน นอกจากนี้ ภาวะขาดน้ าก่อให้เกิดภาวะเครี ยดมีผลร่ วมกันทาให้การรับรู ้เรี ยนรู ้
                      ั
เกิดขึ้นได้นอย (Madewell., 1998, E. Conturo, 2002) เด็ก ๆ ควรได้ดื่มน้ าสะอาด ปริ มาณน้ าดื่มที่ตองการ
              ้                                                                                       ้
อย่างน้อยต่อวัน คือ ครึ่ งหนึ่ งของน้ าหนักตัว (ก.ก.) x น้ า 30 ซี ซี เช่น น้ าหนัก 30 กิโลกรัม ต้องได้ดื่มน้ า
สะอาดต่อวัน อย่างน้อย 900 ซี ซี และยิงดื่มมากยิงดีต่อสมองและร่ างกาย ควรดื่มน้ าสะอาดประมาณ 1200
                                             ่     ่
-2000 ซี่ซี หรื อ 6-8 แก้ว โดยเฉพาะเด็กปฐมวัยต้องได้ดื่มน้ าทุก 45 นาที เพื่อส่ งเสริ มการทางานของสมอง
เพราะเด็กปฐมวัยมีการใช้พลังงานในการทางานของสมองมากกว่าผูใหญ่ นอกจากน้ าสะอาดซึ่งเป็ นที่มา
                                                                          ้
ของน้ าสาหรับเด็กปฐมวัยแล้ว ยังได้จากนม น้ าผลไม้
          น้ าเป็ นองค์ประกอบของเลือด ฮอร์ โมน และน้ าเป็ นตัวช่วยในการทางานของระบบการส่ งสารหรื อ
ข้อมูลของเซลล์ประสาท (synapses) (Batmanghelidj, 2001)
          4. อาหาร (Nutrition) อาหารมีความสาคัญต่อการเจริ ญเติบโตของเซลล์สมอง (neurons) ในช่วง
ขวบปี แรก นมแม่เป็ นอาหารสาคัญในการพัฒนาสมอง ทาให้ผนังของ axon มีความหนาสามารนาส่ งข้อมูล
ไปเชื่อมต่อกับเซลล์สมองตัวอื่นได้อย่างแคล่วคล่องว่องไว (Fancourt, 2000, p. 61 ) ในขวบปี ต่อไป โปรตีน
จากแหล่งอื่น เช่น ปลา เนื้ อสัตว์ ไข่ ถัวต่าง ๆ เข้ามามีบทบาทร่ วมกับนมโอเมกา 3 และ 6 (Omega 3 and
                                               ่
6 ) ในโปรตีนจากปลาต่าง ๆ เป็ นสารอาหารสาคัญที่จาเป็ นต่อการทางานของสมอง เด็กอายุ 4-6 ปี ควร
บริ โภค วันละ 2-3 มื้อ คือ มื้อหลัก เช้า กลางวัน เย็น และควรบริ โภคนมวันละ 2 มื้อ ๆ ละ 1 กล่อง หรื อ 1
แก้ว
5. แปง ได้จากข้าว ขนมปั ง เผือก มันต่าง ๆ ช่วยให้พลังงาน เด็กอายุ 4-6 ปี ควรบริ โภค วันละ 5-6
                  ้
มือ คือ มื้อหลัก เช้า กลางวัน เย็น และระหว่างมื้อ เป็ นขอว่าง อีก 2-3 มื้อ แต่ละมื้อหลักประกอบด้วย
ข้าว เส้นก๋ วยเตี๋ยว 1 ทัพพี ของว่าง เป็ นขนมปั ง 1 – 2 แผ่น หรื อคุกกี้ 3 -4 ชิ้น ขนมไทย 1 ชิ้น ส่ วนเด็ก อายุ
2-3 ปี ลดปริ มาณลงแต่ไม่ลดจานวนมื้อ
             6. ไขมัน และนาตาล จาเป็ นแต่ควรบริ โภคพอควร ไขมันควรเป็ นไขจากปลา จากพืช เช่น น้ ามัน
                            ้
มะกอก น้ ามันงา น้ ามันจากเมล็ดทานตะวัน ถัว เมล็ดแห้งจากผลไม้ เช่น กล้วยน้ าว้า กล้วยไข่
                                                 ่
             7. ผัก และผลไม้ ให้วตามินและเกลือแร่ ใยอาหารผลักควรบริ โภคครบทั้ง 3 มื้อหลัก ส่ วนผลไม้
                                   ิ
ควรบริ โภคอย่างน้อย 2 มื้อหลัก วิตามินและเกลือแร่ ช่วยให้สมองและระบบประสาททาหน้าที่อย่างดี
ตามปกติ คือวิตามิน บี 1 บี 2 บี 3 บี 5 บี 6 วิตามินซี วิตามินดี กรดโฟลิค แคลเซี่ยม โครเมียม
เหล็ก แมกเนเซี่ยม ซีเรเนียม สังกะสี ซึ่งสาคัญในการเติบโตของสมองและการทาหน้าที่ของสมองและ
ระบบประสาท
             8. ความรักใคร่ ผูกพัน (Attachment) ความมันคงในสัมพันธภาพระหว่างทารกกับผูเ้ ลี้ยงดูคนแรก
                                                        ่
ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นแม่ เป็ นปั จจัยสาคัญต่อการพัฒนาการสมองของทารก ความรักใคร่ ผกพันขยายจากผูเ้ ลี้ยงดู
                                                                                        ู
คนแรกหรื อแม่สู่พอและสมาชิกในครอบครัว ศูนย์เด็ก สถานเลี้ยงดูเด็กและโรงเรี ยนอนุ บาล ต้องดูแลให้
                       ่
เกิดความมันคงในความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับครู หรื อผูดูแล และกับเพื่อนเพื่อให้ประสบการณ์ของความ
                ่                                         ้
รักใคร่ ผกพันพัฒนาอย่างต่อเนื่องจะส่ งเสริ มพัฒนาการของสมองและการเรี ยนรู ้ของเด็กปฐมวัย (New
           ู
Zealand Ministry of Education, 1998 )
             9. ภาวะเครียด (Stress) และความกลัวในระดับสู งเป็ นอุปสรรคในการพัฒนาสมองและการเรี ยนรู้
ในเด็กปฐมวัย (Porter. 2001) ความมันคงในความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับครู หรื อผูดูแล และกับเพื่อนจะ
                                          ่                                           ้
ช่วยลดความกลัวและความเครี ยดได้ ร่ วมกับการดูแลให้เด็กได้กินอยู่ นอนหลับ รู ้สึกปลอดภัย และเป็ นตัว
ของตัวเองจะช่วยลดความเครี ยดได้ท้ งในเด็กและผูปกครอง
                                        ั           ้

ข้ อควรคานึงเกียวกับการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ สมองเป็ นฐาน
               ่
                                                                      ่
            1. หลักสู ตร ครู จะต้องออกแบบการเรี ยนรู ้ที่อยูในความสนใจของผูเ้ รี ยน(ไม่ใช่สิ่งที่ครู คิดว่า
นักเรี ยนควรรู้) และช่วยให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจเรื่ องที่เรี ยน อย่างสัมพันธ์เชื่อมโยงกับประสบการณ์และชีวตจริ ง
                                                                                                          ิ
ของพวกเขา(Contextual) ไม่ใช่สอนเกี่ยวกับข้อมูลต่าง ๆ แบบแยกเป็ นส่ วน ๆ หลักสู ตรชั้นประถมและ
มัธยม ที่มีสาขาวิชาที่หลากหลายนั้น ควรออกแบบให้มีความเชื่อมโยงกันอย่างเป็ นบูรณาการ
            2. การสอน ครู ควรส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้เป็ นกลุ่ม และใช้กระบวนการเรี ยนรู ้จากการสัมผัส
                                                                    ั
สภาพแวดล้อมรอบด้าน กาหนดเรื่ องที่เรี ยนให้สัมพันธ์กบปั ญหาที่เป็ นจริ ง สนับสนุนให้นกเรี ยนออกไป    ั
เรี ยนรู ้โลกจริ งนอกห้องเรี ยน จัดตารางสอนและลาดับการสอนให้นกเรี ยนได้เรี ยนข้อมูลแบบเชื่อมโยงกัน
                                                                              ั
ทางใดทางหนึ่ง ซึ่ งจะช่วยให้นกเรี ยนเข้าใจเพิ่มขึ้น แทนที่จะต่างวิชาต่างคนต่างสอน
                                    ั
3. การวัดผล นักเรี ยนทุกคนกาลังเรี ยนรู ้ทางใดทางหนึ่ง การวัดผลควรจะอนุญาตให้นกเรี ยนั
เข้าใจรู ปแบบ การเรี ยนรู ้และความชอบส่ วนตัวของนักเรี ยนแต่ละคน นันคือต้องหาวิธีวดผลที่ช่วยให้
                                                                    ่                ั
นักเรี ยนติดตามประเมินผลและเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการเรี ยนรู ้ได้ดวยตนเอง เพื่อที่นกเรี ยนจะได้เรี ยนรู ้และ
                                                              ้                ั
พัฒนาตนเองได้ ไม่ใช่การฟั งการวัดผลโดยผูสอนเพื่อคะแนนอย่างเดียว (พรพิไล เลิศวิชา และ อัครภูมิ จารุ
                                            ้
ภากร :2550 อ้างถึงใน พิมพ์ทอง สังสุ ทธิพงศ์ : 8)
                                           เอกสารอ้างอิง
ฐิตาภรณ์ ธนูพราน. (2553). การพัฒนาความคิดสร้ างสรรค์ ของเด็กปฐมวัยทีได้ รับการจัดประสบการณ์
                                                                             ่
        การเรี ยนรู้ ทสอดคล้ องกับการทางานของสมอง (Brain - Based Learning)
                      ี่
       โดยใช้ การวิจัยปฏิบัติการ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจยการศึกษา
                                                                                   ั
       มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นัยพินิจ คชภักดี. (2548). การเรี ยนรู้ โดยใช้ สมองเป็ นฐาน: จากภาคทฤษฎีส่ ู ภาคปฏิบัติ. โครงการวิจย
                                                                                                  ั
         ชีววิทยาระบบประสาทและพฤติกรรม สถาบันวิจยและพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และ
                                                           ั
        โครงการวิจยเพื่อส่ งเสริ มพัฒนาการของสมองและพฤติกรรม สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนา
                         ั
         เด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล
พิมพ์ทอง สังสุ ทธิพงศ์. Brain-Based Learning ทฤษฏีส่ ู การปฏิบัติ.
           www.er.cmru.ac.th/pimthong/BBL.pdf สื บค้นเมื่อ 20 /12/55
พรพิไล เลิศวิชา. (2552). ท่ องโลกสมอง. กรุ งเทพฯ : สานักวิชาการและมาตรฐานการเรี ยนรู้.

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Natida Boonyadetwong
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Aoun หมูอ้วน
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้April1904
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการRukvicha Jitsumrawy
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนKritsadin Khemtong
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education Weerachat Martluplao
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2poms0077
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการtassanee chaicharoen
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt yuapawan
 

La actualidad más candente (20)

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรียนรู้
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1
 
instructional design
instructional design instructional design
instructional design
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 

Similar a บทความทางวิชาการ

Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersofia-m15
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersoh26
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1maina052
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1sitipatimoh050
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1azmah055
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ai-sohyanya
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1oppalove
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Ameena021
 

Similar a บทความทางวิชาการ (20)

Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 

บทความทางวิชาการ

  • 1. ความรู้ทั่วไปเกียวกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ สมองเป็ นฐาน ่ ความเป็ นมาของการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ สมองเป็ นฐาน การค้นพบในเรื่ อง ของสมองที่สาคัญของโรเจอร์ สเปอร์ รี่ (Roger Sperry) ที่พบว่าสมองซี กซ้ายทา หน้าที่ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับความสามารถในหลายด้าน ทั้งเรื่ องของคณิ ตศาสตร์ ภาษา และความคิดที่มี รู ปแบบที่ซบซ้อน ในขณะที่สมองซี กขวาส่ วนใหญ่ทาหน้าที่เกี่ยวกับความสามารถด้านดนตรี และงานศิลปะ ั แต่โดยทัวไปการทางานของสมองทุกส่ วนจะทางานร่ วมกัน และมีปฏิกิริยาต่อกันซึ่งการค้นพบดังกล่าว ่ ทาให้ โรเจอร์ได้รับรางวัลโนเบลในสาขาสรี รวิทยา และการแพทย์ในปี 1981 หลังจากนั้นทาให้หลาย ๆ ฝ่ ายมีการตื่นตัวอย่างมากในเรื่ องของสมอง จนทาให้เกิดคาว่า “ทศวรรษแห่งสมอง” (Decade of the Brain) ในปั จจุบนมีผลงานการศึกษาของนักการศึกษาทางสมองที่มีขอค้นพบเกี่ยวกับความสามารถทาง ั ้ สมอง โดยเฉพาะข้อค้นพบที่แสดงให้เห็นว่าสมองสามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้างได้ถามีการกระตุนที่ ้ ้ เหมาะสม ดังนั้นการศึกษาจึงได้มีการเสนอถึงวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ที่สอดคล้องกับการทางานของสมอง Brain Based Learning (BBL) ซึ่ งเป็ นการเรี ยนรู ้ที่สอดคล้องกับวิธีการเรี ยนรู ้หรื อวิธีการทางานของสมอง ทางธรรมชาติซ่ ึ งเดิมนั้นการจัดการเรี ยนรู ้คานึงถึงหลักการหรื ออายุของผูเ้ รี ยนและความพร้อมหรื อวุฒิภาวะ ของผูเ้ รี ยนเท่านั้น การจัดการเรี ยนรู ้ที่กระตุนการเรี ยนรู้ตามแนวทาง BBL จะทาให้ผเู้ รี ยนมีระดับสติปัญญา ้ และวุฒิภาวะทางอารมณ์สูงขึ้น ดังนั้นในปั จจุบนแนวโน้มทางการศึกษาจึงนาองค์ความรู ้ทางสมอง ั จิตวิทยาพัฒนา จิตวิทยาการเรี ยนรู้ และทฤษฎีการเรี ยนรู้ มาผนวกเข้าด้วยกัน แล้วจัดการเรี ยนรู ้ตาม องค์ประกอบต่าง ๆ ทาให้การเรี ยนรู้มีประสิ ทธิภาพ และเด็กได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ความหมายของการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ สมองเป็ นฐาน เยาวพา เดชะคุปต์ (2548 : 36-37 อ้างถึงใน ฐิตาภรณ์ ธนูพราน 2553 ) ได้ให้ความหมายการเรี ยนรู้ที่ สอดคล้องกับการทางานของสมอง หมายถึง การจัดการศึกษาที่มีพ้ืนฐานกับการศึกษาวิจยเกี่ยวกับสมองและ ั การเรี ยนรู้ของสมอง โครงสร้างและหน้าที่ของสมอง ในแต่ละช่วงพัฒนาการของมนุ ษย์และนาผลการ ศึกษาวิจยเกี่ยวกับสมองมาใช้ในวงการศึกษา พบว่าการใช้สมองเป็ นฐานสามารถนามาใช้สร้างการเรี ยนการ ั สอนที่ดีได้ แนวคิดนี้จะช่วยอธิ บายเกี่ยวกับพฤติกรรมการเรี ยนรู ้จากชีวตจริ ง ได้รับประสบการณ์ดาน ิ ้ อารมณ์ ประสบการณ์ส่วนตัวและประสบการณ์ การแก้ปัญหาจากชีวิตจริ ง นัยพินิจ คชภักดี (2548) ได้ให้คาจากัดความของการเรี ยนรู ้โดยใช้สมองเป็ นฐานว่าเป็ นทฤษฎีการ ั ่ ่ เรี ยนรู้ที่ต้ งอยูบนพื้นฐานของโครงสร้างและการทางานของสมองที่วา ตราบใดที่สมองยังไม่หยุดทางาน การเรี ยนรู ้ก็ยงคงเกิดขึ้นอยูเ่ รื่ อยไป ั ่ คนเรามักจะพูดว่าทุกคนมีโอกาสที่จะเรี ยนได้ แต่ในความจริ งแล้วทุกคนเรี ยนอยูตลอดเวลา ทุกคนเกิดมาพร้อมกับสมองที่ทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากอย่างจนเหลือเชื่อ การเรี ยนการสอนแบบ
  • 2. ดั้งเดิมมักจะขัดขวางการทางานของสมอง โดยการขัดขวางไม่สนับสนุน หรื อการเมินเฉย หรื อลงโทษต่อ ขบวนการต่างๆในทางานตามปกติของสมอง ซึ่ งทาให้ไม่เกิดการเรี ยนรู ้ได้ เคน และเคน (Caine & Caine. 1994 : 339 อ้างถึงใน ฐิตาภรณ์ ธนูพราน 2553) สรุ ปว่าการเรี ยนรู ้ที่ สอดคล้องกับการทางานของสมอง ว่าเป็ นการที่เด็กได้รับประสบการณ์ที่หลากหลายทั้งที่เป็ นจริ งและวาด ฝันการหาวิธีการต่าง ๆ ในการรับประสบการณ์เข้ามารวมถึงการสะท้อนความคิดการคิดวิจารณญาณ และ การแสดงออกทางศิลปะ ซึ่ งเป็ นการสรุ ปความรู ้ที่เกี่ยวกับการเรี ยนรู ้หลักการดังกล่าวเป็ นการมองดูผเู ้ รี ยนใน ั ฐานะที่เป็ นระบบที่มีชีวต (Living systems) ซึ่ งร่ างกายและจิตใจจะทางานประสานสัมพันธ์กนหรื อที่เรี ยกว่า ิ การเรี ยนรู ้เป็ นการกระทาทั้งร่ างกาย จิตใจและสังคม (Psychophysiological) กุลยา ตันติผลาชีวะ (2549 : 21 – 29 อ้างถึงใน ฐิตาภรณ์ ธนูพราน 2553) กล่าวว่าการเรี ยนรู ้ที่ สอดคล้องกับการทางานของสมอง หมายถึง การมองความสัมพันธ์ของสมองกับจิตใจและการทางานของ สมอง ซึ่งการจัดการเรี ยนการสอนเด็กปฐมวัย ครู ควรมองการทางานของสมองเกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ 5 ประการ คือการทางานร่ วมกันของสมองซี กซ้ายและซี กขวา กระบวนการสารสนเทศ การจา สัมผัสรับรู้และจิตสัมผัส รู ้สิ่งที่ครู ตองระลึกคือ เด็กมีสมอง มีจิตใจ และมีตวตนดังนั้นครู จึงต้องคานึงถึงความรู ้สึกนิสัยและ ้ ั ความคุนเคยของเด็ก ้ ่ จากความหมายของนักการศึกษาข้างต้น สรุ ปได้วา การจัดการเรี ยนรู้โดยใช้สมองเป็ นฐาน (Brain – Based Learning) คือ การใช้ความรู้ความเข้าใจเรื่ องการทางานของสมองเป็ นเครื่ องมือในการออกแบบ กระบวนการเรี ยนรู ้แลกระบวนการอื่นๆที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างศักยภาพสู งสุ ดในการเรี ยนรู ้ของมนุษย์ โดยเชื่ อ ่ ว่าโอกาสทองของการเรี ยนรู ้อยูระหว่างแรกเกิด ถึง 10 ปี หลักการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ สมองเป็ นฐาน การเรี ยนรู้โดยใช้สมองเป็ นฐาน เคยถูกเรี ยกว่าเป็ นการผสมผสานระหว่างวิทยาศาสตร์ การทางาน ของสมองกับสามัญสานึก เคนย์ และ เคนย์ (Caine and Caine, 1991 อ้างถึงใน นัยพินิจ คชภักดี :2548) ได้ พัฒนาหลักการทั้ง 12 ข้อมาจากสิ่ งที่เรารู ้เกี่ยวกับการทางานของสมองในการเรี ยน และการสอน หลักการ เหล่านี้มีตนกาเนิดมาจากการศึกษาวิทยาศาสตร์ แขนงต่างๆ ที่เป็ นกรอบทางความคิดเกี่ยวกับเทคนิคและ ้ วิธีการในการสอน 1. สมองเป็ นเครื่องประมวลผลทีทางานในเชิงขนาน (The Brain is a Parallel Processor) ่ ความคิด อารมณ์ จินตนาการ และแรงจูงใจในการเรี ยน จะเกิดขึ้นไปพร้อมๆ กันอย่างมี ปฏิสัมพันธ์ประหนึ่งว่าเป็ นระบบเดียวกันเพื่อใช้ในการโต้ตอบ และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับสิ่ งแวดล้อม 2. การเรี ยนรู้ ต้องอาศัยการทางานของระบบสรีระทั้งหมด (Learning engages the entire physiology การเรี ยนรู ้เป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเช่นเดียวกับการหายใจ เพียงแต่การเรี ยนรู ้ถูกยับยั้ง หรื อ ส่ งเสริ มด้วยปั จจัยบางอย่างได้ การเจริ ญเติบโตการบารุ ง และการทางานตอบสนองกันของเซลล์ประสาทมี
  • 3. ความเกี่ยวข้องกับการแปรผลของประสบการณ์ ความเครี ยด และภาวะที่รู้สึกเหมือนถูกข่มขู่จะทาให้สมอง ่ ทางานต่างไปจากสมองที่อยูสภาวะสงบ แต่ได้รับท้าทายต่อสิ่ งแปลกใหม่ และยังเบื่อ หน่ายกับความจาเจ ในขณะเดียวกันก็มีความสุ ข และพึงพอใจ การเกิดการเชื่ อมโยงของระบบประสาท ่ ั นั้นยังขึ้นอยูกบปั จจัยทางสิ่ งแวดล้อมนันก็คือลักษณะของโรงเรี ยนกับสิ่ งที่พบในชีวตประจาวันด้วย ่ ิ 3. มนุษย์ มีความอยากทีจะค้ นหาความหมายแต่ กาเนิด (The search for meaning is innate) ่ ความพยายามค้นหาความหมาย (หรื อความพยายามที่จะหาเหตุผลถึงเหตุการณ์ที่เผชิ ญอยู) และ ่ ความต้องการที่จะตอบสนองต่อสิ่ งแวดล้อมเป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นเองโดยไม่ตองมีใครสอน ความพยายาม ้ ิ ่ ค้นหาความหมายเป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นเพราะมนุษย์ตองการที่จะมีชีวตอยูรอด สิ่ งนี้จึงเป็ นพื้นฐานของการ ้ ทางานของสมองของมนุษย์ สมองมีความจาเป็ นต้องจดจาสิ่ งที่คุนเคยในขณะที่ตองพยายามค้นหาและ ้ ้ ตอบสนองต่อสิ่ งเร้าใหม่ๆ เราไม่สามารถหยุดความพยายามค้นหาความหมายได้ แต่เราสามารถเพ่งเป้ า และจดจ่อไปยังสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งที่สนใจได้ 4. การค้ นหาความหมายของมนุษย์ เป็ นกิจกรรมทีเ่ ป็ นรู ปแบบ (The Search for meaning occurs through “Patterning”) กิจกรรมที่เป็ นระบบหมายถึงการจัดการกับข้อมูลต่างๆ ให้เป็ นระเบียบอย่างมีเหตุผล และการจัด หมวดหมู่ของข้อมูล สมองถูกออกแบบให้เข้าใจรู ปแบบและสร้างระบบที่มีแบบแผน และสมองก็ยงพยายาม ั ที่จะนาระบบที่ไม่ก่อให้เกิดความความหมายมาจัดการกับข้อมูลด้วย ระบบที่ไม่ก่อให้เกิด ความหมายนั้นก็คือ ข้อมูลที่ไม่ปะติดปะต่อกัน และไม่มีความเกี่ยวข้องกับสิ่ งที่ทาให้นกเรี ยนเข้าใจได้ ั 5. อารมณ์ มีความสาคัญต่ อการทางานแบบมีรูปแบบ (Emotion are Critical to Patterning.) เราไม่ได้เรี ยนรู ้อะไรได้ง่ายๆ เพราะสิ่ งที่เราเรี ยนรู ้น้ นมักได้รับอิทธิ พล และถูกควบคุมจากอารมณ์ ั และสภาวะของจิตใจจากความคาดหวัง ความลาเอียง และความมีอคติ ความมันใจในตัวเอง และความ ่ ั ต้องการที่จะมีปฏิสัมพันธ์กบสังคม อารมณ์จะเป็ นตัวที่หล่อหลอมความคิด และความคิดก็จะเป็ นตัวที่หล่อ หลอมอารมณ์โดยทั้งสองตัวไม่สามารถแยกจากกันได้ 6. สมองประมวลข้ อมูลแบบเป็ นส่ วนย่ อยๆ และแบบทั้งหมดพร้ อมๆ กัน (The Brain processes parts and whole simultaneously.) ่ มีหลักฐานว่ามีความแตกต่างระหว่างสมองซี กซ้ายและขวาอยูจริ ง แต่อย่างไรก็ตามในคนที่มี ั สุ ขภาพดีปกติ สมองทั้งสองข้างจะทางานปฏิสัมพันธ์กนในประสบการณ์ทุกๆ อย่างในชีวตประจาวัน ิ ความเข้าใจถึงเรื่ องสมองสองซี กนั้นเป็ นการเปรี ยบเทียบกันตรงๆ ซึ่ งมีประโยชน์ในการช่วยให้ผทาการ ู้ สอนเข้าใจถึงการทางานที่สองรู ปแบบที่แตกต่างกันเพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูล รู ปแบบหนึ่งก็คือการที่ แบ่งข้อมูลเป็ นข้อมูลย่อยต่างๆ และอีกรู ปแบบหนึ่งก็คือการรับรู ้ถึงข้อมูลย่อยๆ และนามาทางาน ประสานกันหรื อเป็ นขั้นตอนที่ประสานกัน
  • 4. 7. การเรี ยนรู้ อาศัยทั้งการจดจ่ อต่ อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งและการรั บรู้ ต่อสภาพรอบข้ าง (Learning involves both focused attention and peripheral perception) สมองจดจาทั้งข้อมูลที่กาลังจดจ่ออยู่ และข้อมูลที่เกิดขึ้นนอกเหนื อจากสิ่ งที่กาลังสนใจอยู่ หมายความว่าสมองจะตอบสนองต่อข้อมูลทั้งหมดจากทุกประสาทสัมผัสที่เกิดขึ้นรอบๆ บริ เวณที่มีการ เรี ยนการสอนหรื อการสื่ อสาร 8. การเรี ยนรู้ เกิดขึนเกียวข้ องกับขบวนการรับรู้ ต่างๆทั้งขณะมีสติรับรู้ และขณะไม่ มีสติรับรู้ อยู่ ้ ่ เสมอ(Learning always involves conscious and unconscious processes) ่ การเรี ยนรู ้มากมายของมนุษย์น้ นเกิดขึ้นในจิตใต้สานึก และอยูต่ากว่าความรู ้สึกนึกคิด เราเกิดการ ั เรี ยนรู ้มากกว่าที่เรารู ้สึกและเข้าใจมากนัก ประสบการณ์ท่ีเรี ยนรู ้ในอดีตจะเป็ นส่ วนหนึ่ งในความรู ้พ้นฐาน ื ่ ของคนเราในแบบทั้งที่อยูต่ากว่าความรู ้สึกนึกคิด และแบบที่มีความรู้สึก 9. เรามีวธีจัดการกับการจดจาอย่างน้ อยสองวิธี ก็คือการจดจาโดยใช้ ความสั มพันธ์ ของตาแหน่ งกับ ิ ตัวเรา และการจดจาโดยใช้ ระบบท่องจา (We have at least two ways of organizing memory: a spatial memory and a set of system for rote learning) การจดจาโดยใช้ความสัมพันธ์ตาแหน่งกับตัวเราเป็ นการจดจาที่ไม่จาเป็ นต้องมีการทบทวน และยัง เป็ นความจาที่เรี ยกมาใช้ได้ทนที วิธีน้ ีมกจะเกี่ยวข้องและได้รับการชักจูงจากสิ่ งที่แปลกใหม่รอบตัวการ ั ั จดจาชนิ ดนี้จะใช้วธีเก็บแตกต่างจากการจดจาอีกชนิดก็คือระบบท่องจา ิ 10. เราเข้ าใจได้ ง่ายและจดจาได้ อย่ างแม่ นยาเมื่อสิ่ งนั้นหรื อทักษะนั้นมีอยู่ในระบบการจดจาแบบ ธรรมชาติทใช้ ตาแหน่ งและความสั มพันธ์ กบตัวเรา (We understand and remember best when facts and ี่ ั skills are embedded in natural, spatial memory) มนุษย์เรี ยนคาศัพท์ และไวยากรณ์ของภาษาที่เป็ นภาษาแม่จากกระบวนทางประสบการณ์ที่ เชื่อมโยงกันอย่างซับซ้อน หลังจากนั้นสิ่ งเหล่านั้นก็จะถูกปรับปรุ งแก้ไขโดยการคิด และการเข้ามาอยู่ ในสังคม การเรี ยนภาษานั้นเป็ นตัวอย่างของการเรี ยนรู ้โดยการกาหนดความหมายของสิ่ งต่างๆ ใน ประสบการณ์ทวไป การเรี ยนรู ้ในรู ปแบบนี้ จะเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการเรี ยนรู ้ได้ดีมาก ั่ 11. การเรี ยนรู้ แบบซับซ้ อนจะถูกกระตุ้นโดยความท้ าทายและถูกยับยั้งโดยการถูกข่ มขู่ (Complex learning is enhanced by challenge and inhibited by threat) สมองจะเกิดการเชื่อมโยงของระบบประสาทมากที่สุดเมื่อมีโอกาสให้ได้ลองเสี่ ยงกับอะไรอย่าง หนึ่ง แต่สมองจะทางานลดลงเมื่อตกอยูในสภาวะที่ถูกข่มขู่ (เพราะจะรู ้สึกถึงสถานการณ์น้ นว่าช่วยเหลือ ่ ั ตัวเองไม่ได้) 12. สมองของแต่ ละคนมีความเฉพาะตัวไม่ เหมือนกัน (Every brain is uniquely organized) มนุษย์ทุกคนมีสมองซึ่งทางานเหมือนๆกัน แต่เราก็ยงแตกต่างกันเนื่ องจากความแตกต่างทาง ั ่ ั กรรมพันธุ์ ความรู ้ที่มีอยูด้ งเดิม และสภาพแวดล้อมรอบตัว ยิงเราเรี ยนรู ้มากเท่าใดคนเราก็จะยิงแตกต่างกัน ่ ่
  • 5. ปัจจัยทีมผลต่ อพัฒนาการของสมองและการเรียนรู้ ่ ี ปัจจัยทีมีผลต่ อพัฒนาการของสมองและการเรียนรู้ ่ 1. สภาพแวดล้อม (enriched environment) ของเด็กมีผลต่อการเชื่อมต่อเพิ่มขึ้น (synapses) หรื อ ่ ั ตัดแต่งให้ลดลงของเซลล์สมอง (pruning) ถึงร้อยละ 25 หรื อมากกว่า ขึ้นอยูกบว่าสภาพแวดล้อมนั้น ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้หรื อไม่ (K.,Ron,1993) 2. แสงสว่าง (Lighting) แสงสว่างที่พอเหมาะในการมีกิจกรรมการเรี ยนรู ้ คือ แสงสว่างจาก ธรรมชาติ ซึ่ งเป็ นส่ วนประกอบของสี รุ้ง (Full Spectrum Light) โดยต้องมีหน้าต่างให้แสงสว่างส่ องผ่าน อย่างน้อย ร้อยละ 20 ของผนังและต้องจัดให้เด็ก ๆ มีกิจกรรมกลางแจ้ง อย่างน้อยวันละ 1 ชัวโมง มีการ ่ ่ ่ เปิ ดหน้าต่างให้แสงสว่างส่ องเข้าถึงในขณะเด็กอยูในอาคาร (Hawkins & Lilley, 1992) การอยูในแสงสว่างที่ ไม่เพียงพอหรื อไม่ใช่แสงจากธรรมชาติ เช่น จากหลอด ไฟฟ้ าฟลูออเรสเซนส์สีขาว จะทาให้ร่างกายหลัง ่ ั ฮอร์ โมนซึ่ งสัมพันธ์กบการเกิดภาวะเครี ยดและยับยั้งการเจริ ญเติบโต ในสถานพยาบาลของเยอรมัน ห้ามใช้ หลอดไฟฟ้ ามี่มีเฉพาะแสงสี ขาว ที่ไม่มีส่วนประกอบของแสงสี แดง น้ าเงินและม่วง (Libertman, 1991) 3. นา องค์ประกอบของเนื้อเยือสมอง ร้อยละ 85 คือ น้ า หากได้รับน้ าไม่เพียพองจะเกิดภาวะขาด ้ ่ น้ า (dehydration) มีผลให้ระดับพลังงานในสมองลดลง และมีผลต่อการส่ งข้อมูล (neuro transmitter) จาก เซลล์สมองไปสู่ กนและกัน นอกจากนี้ ภาวะขาดน้ าก่อให้เกิดภาวะเครี ยดมีผลร่ วมกันทาให้การรับรู ้เรี ยนรู ้ ั เกิดขึ้นได้นอย (Madewell., 1998, E. Conturo, 2002) เด็ก ๆ ควรได้ดื่มน้ าสะอาด ปริ มาณน้ าดื่มที่ตองการ ้ ้ อย่างน้อยต่อวัน คือ ครึ่ งหนึ่ งของน้ าหนักตัว (ก.ก.) x น้ า 30 ซี ซี เช่น น้ าหนัก 30 กิโลกรัม ต้องได้ดื่มน้ า สะอาดต่อวัน อย่างน้อย 900 ซี ซี และยิงดื่มมากยิงดีต่อสมองและร่ างกาย ควรดื่มน้ าสะอาดประมาณ 1200 ่ ่ -2000 ซี่ซี หรื อ 6-8 แก้ว โดยเฉพาะเด็กปฐมวัยต้องได้ดื่มน้ าทุก 45 นาที เพื่อส่ งเสริ มการทางานของสมอง เพราะเด็กปฐมวัยมีการใช้พลังงานในการทางานของสมองมากกว่าผูใหญ่ นอกจากน้ าสะอาดซึ่งเป็ นที่มา ้ ของน้ าสาหรับเด็กปฐมวัยแล้ว ยังได้จากนม น้ าผลไม้ น้ าเป็ นองค์ประกอบของเลือด ฮอร์ โมน และน้ าเป็ นตัวช่วยในการทางานของระบบการส่ งสารหรื อ ข้อมูลของเซลล์ประสาท (synapses) (Batmanghelidj, 2001) 4. อาหาร (Nutrition) อาหารมีความสาคัญต่อการเจริ ญเติบโตของเซลล์สมอง (neurons) ในช่วง ขวบปี แรก นมแม่เป็ นอาหารสาคัญในการพัฒนาสมอง ทาให้ผนังของ axon มีความหนาสามารนาส่ งข้อมูล ไปเชื่อมต่อกับเซลล์สมองตัวอื่นได้อย่างแคล่วคล่องว่องไว (Fancourt, 2000, p. 61 ) ในขวบปี ต่อไป โปรตีน จากแหล่งอื่น เช่น ปลา เนื้ อสัตว์ ไข่ ถัวต่าง ๆ เข้ามามีบทบาทร่ วมกับนมโอเมกา 3 และ 6 (Omega 3 and ่ 6 ) ในโปรตีนจากปลาต่าง ๆ เป็ นสารอาหารสาคัญที่จาเป็ นต่อการทางานของสมอง เด็กอายุ 4-6 ปี ควร บริ โภค วันละ 2-3 มื้อ คือ มื้อหลัก เช้า กลางวัน เย็น และควรบริ โภคนมวันละ 2 มื้อ ๆ ละ 1 กล่อง หรื อ 1 แก้ว
  • 6. 5. แปง ได้จากข้าว ขนมปั ง เผือก มันต่าง ๆ ช่วยให้พลังงาน เด็กอายุ 4-6 ปี ควรบริ โภค วันละ 5-6 ้ มือ คือ มื้อหลัก เช้า กลางวัน เย็น และระหว่างมื้อ เป็ นขอว่าง อีก 2-3 มื้อ แต่ละมื้อหลักประกอบด้วย ข้าว เส้นก๋ วยเตี๋ยว 1 ทัพพี ของว่าง เป็ นขนมปั ง 1 – 2 แผ่น หรื อคุกกี้ 3 -4 ชิ้น ขนมไทย 1 ชิ้น ส่ วนเด็ก อายุ 2-3 ปี ลดปริ มาณลงแต่ไม่ลดจานวนมื้อ 6. ไขมัน และนาตาล จาเป็ นแต่ควรบริ โภคพอควร ไขมันควรเป็ นไขจากปลา จากพืช เช่น น้ ามัน ้ มะกอก น้ ามันงา น้ ามันจากเมล็ดทานตะวัน ถัว เมล็ดแห้งจากผลไม้ เช่น กล้วยน้ าว้า กล้วยไข่ ่ 7. ผัก และผลไม้ ให้วตามินและเกลือแร่ ใยอาหารผลักควรบริ โภคครบทั้ง 3 มื้อหลัก ส่ วนผลไม้ ิ ควรบริ โภคอย่างน้อย 2 มื้อหลัก วิตามินและเกลือแร่ ช่วยให้สมองและระบบประสาททาหน้าที่อย่างดี ตามปกติ คือวิตามิน บี 1 บี 2 บี 3 บี 5 บี 6 วิตามินซี วิตามินดี กรดโฟลิค แคลเซี่ยม โครเมียม เหล็ก แมกเนเซี่ยม ซีเรเนียม สังกะสี ซึ่งสาคัญในการเติบโตของสมองและการทาหน้าที่ของสมองและ ระบบประสาท 8. ความรักใคร่ ผูกพัน (Attachment) ความมันคงในสัมพันธภาพระหว่างทารกกับผูเ้ ลี้ยงดูคนแรก ่ ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นแม่ เป็ นปั จจัยสาคัญต่อการพัฒนาการสมองของทารก ความรักใคร่ ผกพันขยายจากผูเ้ ลี้ยงดู ู คนแรกหรื อแม่สู่พอและสมาชิกในครอบครัว ศูนย์เด็ก สถานเลี้ยงดูเด็กและโรงเรี ยนอนุ บาล ต้องดูแลให้ ่ เกิดความมันคงในความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับครู หรื อผูดูแล และกับเพื่อนเพื่อให้ประสบการณ์ของความ ่ ้ รักใคร่ ผกพันพัฒนาอย่างต่อเนื่องจะส่ งเสริ มพัฒนาการของสมองและการเรี ยนรู ้ของเด็กปฐมวัย (New ู Zealand Ministry of Education, 1998 ) 9. ภาวะเครียด (Stress) และความกลัวในระดับสู งเป็ นอุปสรรคในการพัฒนาสมองและการเรี ยนรู้ ในเด็กปฐมวัย (Porter. 2001) ความมันคงในความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับครู หรื อผูดูแล และกับเพื่อนจะ ่ ้ ช่วยลดความกลัวและความเครี ยดได้ ร่ วมกับการดูแลให้เด็กได้กินอยู่ นอนหลับ รู ้สึกปลอดภัย และเป็ นตัว ของตัวเองจะช่วยลดความเครี ยดได้ท้ งในเด็กและผูปกครอง ั ้ ข้ อควรคานึงเกียวกับการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ สมองเป็ นฐาน ่ ่ 1. หลักสู ตร ครู จะต้องออกแบบการเรี ยนรู ้ที่อยูในความสนใจของผูเ้ รี ยน(ไม่ใช่สิ่งที่ครู คิดว่า นักเรี ยนควรรู้) และช่วยให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจเรื่ องที่เรี ยน อย่างสัมพันธ์เชื่อมโยงกับประสบการณ์และชีวตจริ ง ิ ของพวกเขา(Contextual) ไม่ใช่สอนเกี่ยวกับข้อมูลต่าง ๆ แบบแยกเป็ นส่ วน ๆ หลักสู ตรชั้นประถมและ มัธยม ที่มีสาขาวิชาที่หลากหลายนั้น ควรออกแบบให้มีความเชื่อมโยงกันอย่างเป็ นบูรณาการ 2. การสอน ครู ควรส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้เป็ นกลุ่ม และใช้กระบวนการเรี ยนรู ้จากการสัมผัส ั สภาพแวดล้อมรอบด้าน กาหนดเรื่ องที่เรี ยนให้สัมพันธ์กบปั ญหาที่เป็ นจริ ง สนับสนุนให้นกเรี ยนออกไป ั เรี ยนรู ้โลกจริ งนอกห้องเรี ยน จัดตารางสอนและลาดับการสอนให้นกเรี ยนได้เรี ยนข้อมูลแบบเชื่อมโยงกัน ั ทางใดทางหนึ่ง ซึ่ งจะช่วยให้นกเรี ยนเข้าใจเพิ่มขึ้น แทนที่จะต่างวิชาต่างคนต่างสอน ั
  • 7. 3. การวัดผล นักเรี ยนทุกคนกาลังเรี ยนรู ้ทางใดทางหนึ่ง การวัดผลควรจะอนุญาตให้นกเรี ยนั เข้าใจรู ปแบบ การเรี ยนรู ้และความชอบส่ วนตัวของนักเรี ยนแต่ละคน นันคือต้องหาวิธีวดผลที่ช่วยให้ ่ ั นักเรี ยนติดตามประเมินผลและเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการเรี ยนรู ้ได้ดวยตนเอง เพื่อที่นกเรี ยนจะได้เรี ยนรู ้และ ้ ั พัฒนาตนเองได้ ไม่ใช่การฟั งการวัดผลโดยผูสอนเพื่อคะแนนอย่างเดียว (พรพิไล เลิศวิชา และ อัครภูมิ จารุ ้ ภากร :2550 อ้างถึงใน พิมพ์ทอง สังสุ ทธิพงศ์ : 8) เอกสารอ้างอิง ฐิตาภรณ์ ธนูพราน. (2553). การพัฒนาความคิดสร้ างสรรค์ ของเด็กปฐมวัยทีได้ รับการจัดประสบการณ์ ่ การเรี ยนรู้ ทสอดคล้ องกับการทางานของสมอง (Brain - Based Learning) ี่ โดยใช้ การวิจัยปฏิบัติการ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจยการศึกษา ั มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นัยพินิจ คชภักดี. (2548). การเรี ยนรู้ โดยใช้ สมองเป็ นฐาน: จากภาคทฤษฎีส่ ู ภาคปฏิบัติ. โครงการวิจย ั ชีววิทยาระบบประสาทและพฤติกรรม สถาบันวิจยและพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และ ั โครงการวิจยเพื่อส่ งเสริ มพัฒนาการของสมองและพฤติกรรม สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนา ั เด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล พิมพ์ทอง สังสุ ทธิพงศ์. Brain-Based Learning ทฤษฏีส่ ู การปฏิบัติ. www.er.cmru.ac.th/pimthong/BBL.pdf สื บค้นเมื่อ 20 /12/55 พรพิไล เลิศวิชา. (2552). ท่ องโลกสมอง. กรุ งเทพฯ : สานักวิชาการและมาตรฐานการเรี ยนรู้.