SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 24
Descargar para leer sin conexión
บทที่5
แรงเสียดทาน
บทที่ 5 แรงเสียดทาน
5.1.1 นิยามของแรงเสียดทาน (Definition of Friction)
แรงเสียดทาน คือ คือ แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุเกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ 2 ชิ้น
มีทิศตรงข้ามกันกับทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุ
จากนิยามของแรงเสียดทานข้างต้นอาจทาให้หลายคนคิดว่าแรงเสียดทานนั้นคืออุปสรรค
ต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ เพราะแรงเสียดทานนั้นเป็นแรงที่เกิดในทิศตรงข้ามกับการเคลื่อนที่
ของวัตถุ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือแรงที่ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปในทิศทางตามแนวแรง
พยายามหรือทิศทางการเคลื่อนที่เดิมได้ยากขึ้น อันที่จริง แรงเสียดทานนั้นมีประโยชน์
มากกว่านั้นมาก เช่น
๑. แรงเสียดทานช่วยให้วัตถุหยุดเคลื่อนที่ หากปราศจากแรงเสียดทานแล้ววัตถุก็ไม่อาจ
หยุดเคลื่อนที่ในเวลาที่ต้องการจะหยุดได้เพราะไม่มีแรงที่มาช่วยต้านการเคลื่อนที่ไว้
๒. แรงเสียดทานช่วยในการเคลื่อนที่ เช่น เมื่อผู้หญิงออกแรงเดิน แรงจะถูกส่งจากเท้าไป
ดันพื้นที่เหยียบ เมื่อพื้นมีแรงมากระทาพื้นก็จะส่งแรงไปดันวัตถุกลับตามกฎข้อที่ ๓ นิว
ตันที่ว่า เมื่อเกิดแรงกิริยา จะมีแรงปฏิกิริยาเกิดขึ้นเสมอ โดยที่แรงปฏิกิริยาจะมีขนาด
เท่ากับแรงกิริยาแต่มีทิศตรงข้ามกัน ซึ่งแรงปฏิกิริยาที่พื้นดันเท้าของผู้หญิงในรูปกลับมา
จะเป็นแรงที่ทาให้ผู้หญิงสามารถเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้
๓. แรงเสียดทานช่วยในการเคลื่อนที่เลี้ยวไป-มาของวัตถุ
เช่นเมื่อนักแข่งเอียงตัวทามุมθกับพื้น จะเกิดแรง F ทามุม θ กับพื้น เมื่อแตกแรง F
เป็นแรงองค์ประกอบจะได้เป็น Fcos θและ Fsin θหากปราศจากแรงเสียดทาน
รถจักรยานยนต์คันนี้จะเคลื่อนที่หลุดออกจากแนวการวิ่งไปไม่สามารเลี้ยวได้ แต่หาก
เนื่องจากกฎข้อที่ 3 ของ
นิวตัน รถจักรยานยนต์ดันพื้นในแนวระดับด้วยแรง Fsin θจะเกิดแรงเสียดทาน f มา
กระทาต่อรถจักรยานยนต์ ซึ่งแรงเสียดทานนี้จะกลายเป็นแรงสู่ศูนย์กลางของ
รถจักรยานยนต์ ทาให้รถจักรยานยนต์สามารถเลี้ยวได้
7.1.2 ประเภทของแรงเสียดทาน (Type of Friction)
ประเภทของแรงเสียดทานแบ่งได้ตามลักษณะการเกิดแรงได้ 2 ประเภท ได้แก่
แรงเสียดทานสถิต (Static frictional force)
เป็นแรงเสียดทานระหว่างผิวทั้งสองของวัตถุที่สัมผัสกัน เกิดขึ้นเมื่อมีแรงกระทากับวัตถุ
หนึ่งแต่ยังไม่เคลื่อนที่ แรงเสียดทานสถิตมีค่าสูงสุดเมื่อวัตถุเริ่มเคลื่อนที่บนอีกผิวหนึ่ง
แรงเสียดทานจลน์ (Dynamic frictional force or sliding
frictional force)
เป็นแรงเสียดทานเมื่อผิวหนึ่งเคลื่อนที่บนอึกผิวหนึ่งที่อัตราเร็วคงตัว แรงเสียดทานจลน์
มีค่าน้อยกว่าแรงเสียดทานสถิตเล็กน้อย
5.2คุณสมบัติของแรงเสียดทาน (Property of Friction)
1.พื้นที่ของผิวสัมผัสไม่มีอิทธิพลต่อแรงเสียดทาน
2.การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ มีอิทธิพลต่อแรงเสียดทานไม่มากเท่าใดนัก
3.แรงเสียดทานจะเป็นปฏิภาคกับแรงปฏิกิริยาที่ตั้งฉากกับพื้นผิวสัมผัส
4.แรงเสียดทางจะมีทิศทางตรงกับทิศทางของการเคลื่อนที่ ดังรูปที่7.1
m ทิศทางการเคลื่อนที่
รูปที่ 7.1 ทิศทางของแรงเสียดทาน
5.วัตถุที่มีการเคลื่อนที่ในอัตราเร็วสูง ค่าของแรงเสียดทานจะมีค่าน้อยลงเมื่อมีความเร็ว
เพิ่มขึ้น
6.วัตถุที่มีการเคลื่อนที่ในอัตราเร็วต่า ค่าของแรงเสียดทานจะไม่ขึ้นอยู่กับอัตราเร็ว
5.3 สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน ( Coefficient of Friction)
สัมประสิทธิ์ความเสียด คือค่าอัตราส่าวนระหว่าง แรงเสียดทาน f กับแรงปฏิกิริยาที่
ผิวสัมผัสกระทากับวัตถุในแนวตั้งฉาก N ดังนั้น
µ = f
N
เมื่อ µ = สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
f = แรงเสียดทาน,(N)
N = แรงปฏิกิริยาที่ผิวสัมผัสกระทากับวัตถุในแนวตั้งฉาก
5.3.1 สัมประสิทธิ์ความเสียดทานในแนวระดับ
mg
P
ϴ F
N R
รูปที่ 7.2 การหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานในแนวระดับ
จากรูปที่7.2 วัตถุมวล m ถูกดึงด้วยแรง P มีแรงเสียดทาน F ต้านทานของแรงP ไว้
โดยที่รงเสียดทาน f มีค่าสูงสุดเมื่อวัตถุเกือบจะเคลื่อนที่ และทีผิวสัมผัสที่แรงปฏิกิริยา
N กระทาตั้งฉากกับแนวระดับ
จากสมการที่ 7.1 เขียนใหม่ได้ว่า
f = µ · N ………..(7.2)
หรือ f = µ· m · g …….(7.3)
เมื่อ m = มวลของวัตถุ, (kg)
g = แรงโน้มถ่วงของโลก
= 9.81 m/sec²
ในส่วนของมุมของแรงเสียดทาน (Angle of friction) ซึ้งเป็นมุมระหว่างแรง
ปฏิกิริยา N กับแรงลัพธ์ R อาจจะหาได้จากหลักการของตรีโกณมิติดังนี้
tan Ө = f
N
ฉะนั้น Ө = tanˉ¹ f ……….(7.4)
N
หรือ Ө = tanˉ¹ µ ……..(7.5)
เมื่อ Ө= มุมของแรงเสียดทาน
สาหรับค่าสาประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ของวัตถุต่างๆ สามารถใช้วิธีการหาเช่นเดียวกับ
ของแรงเสียดทานสถิต เพียงแต่แรงเสียดทานจลน์จะพิจารณาต่อวัตถุเมื่อมีการเคลื่อนที่ ส่วน
แรงเสียดทานสถิตจะพิจารณาต่อวัตถุไม่เคลื่อนที่
ตารางที่7.1 ค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิต µ
วัสดุที่สัมผัสกัน ค่าสัมประสิทธ์
ไม ้ ไม ้ 0.380-0.700
โลหะ โลหะ 0.150-0.300
ไม ้ โลหะ 0.200-0.600
หนัง ไม ้ 0.250-0.500
หนัง โลหะ 0.300-0.600
หิน หิน 0.400-0.650
ตัวอย่างที่ 5.1 แท่งคอนกรีตทรงลูกบาศก์ขนาด 1×1×1 m³ วางอยู่บนผิวราบที่มีค่า
สัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน 0.500 จงคานวณหาแรงสูงสุดที่ใช้ในการดึงแท่งคอนกรีต และ
มุมของแรงเสียดทาน เมือคอนกรีตมีความหนาแน่น 2400 kg/m³
วิธีทา หามวลของคอนกรีต
m = ρ·v
= (2400 kg/m³)(1 m³)
= 2400
หาแรงดึงสูงสุดที่ใช้ในการดึงแท่งคอนกรีต
เนื่องจาก P=f = μ·m·g
=(0.500)(2400kg)(9.81m/sec²)
= 11.772kN ตอบ
หามุมของแรงเสียดทาน
เนื่องจาก ϴ = tan¯¹ μ
= tan¯¹ 0.500
= 26.57° ตอบ
ตัวอย่างที่ 5.2 จงคานวณหาแรงเสียดทาน ในการที่จะออกแรงดึงแทงโลหะมวล100kg ไปบน
แผ่นกระดานไม้
วิธีทา จากตารางที่7.1 อ่านค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้μ=0.400
หาค่าแรงเสียดทาน
เนื่องจาก f = μ·m·g
= (0.400)(100kg)(9.81m/sec²)
=392.4 N ตอบ
ตัวอย่างที่ 5.3 จงคานวณหามวลของโลหะ ที่วางอยู่บนผืนหนัง โดยมีแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเมื่อ
กาลังจะเริ่มเคลื่อนมวลนี้100 N
วิธีทา จากตารางที่ 7.1 อ่านค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้µ=0.450
เนื่องจาก f = μ·m·g
ฉะนั้น มวลโลหะ m= f
µ·g
= 100 N
(0.450)(9.81 m/sec²)
= 22.65 kg ตอบ
7.3.2 สัมประสิทธิ์ความเสียดทานในแนวเอียง
รูปที่ 7.4 การหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานในแนวอียง
จากรูปที่ 7.4 วัตถุมวล m วางอยู่บนพื้นเอียงมุมกับแนวระดับ Ө มีแรงเสียดทาน f ต้านทาน
การเคลื่อนไถลงจากพื้นเอียง
แรงที่ทาให้มอง M เคลื่อนที่ลงจากพื้นเอียง มีค่าเท่ากับ mg sin Ө
เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ แสดงว่าแรงเสียดทานสูงสุดเกิดขึ้นเท่ากับแรงที่ทาให้มวลเคลื่อนที่ลงจากพื้น
เอียง ดังนั้น
F = mg sin Ө ……….(7.6)
F = แรงเสียดทาน, (N)
M = มวลของวัตถุ, (kg)
G= แรงโน้นถ่วงของโลก
= 9.81 m/sec²
ขณะที่แรงปฏิกิริยาที่ผิวสัมผัส N คานวณได้ตามสมการ
N = mg · cos Ө ………………(7.7)
ดังนั้น จากสมการที่ 5.1 เขียนใหม่ได้ว่า
µ=f
N
µ = mg sin Ө
mg cos Ө
µ = tan Ө ………..(7.3)
ตัวอย่างที่ 7.8 วัตถุมวล 500 kg วางอยู่บนพื้นเอียง 15° กาลังจะเคลื่อนที่ไถลลงจากพื้น จง
คานวรหาแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นและสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
วิธีทา หาแรงเสียดทาน
เนื่องจาก f = mg sin Ө
= (500kg)(9.81 m/sec²)(sin 15°)
=1.27 kN ตอบ
หาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน
เนื่องจาก µ = tan Ө
µ = tan 15°
= 0.268
ตัวอย่างที่ 5.4 มวล 100 kg วางบนระนาบเอียงทามุม 20° กับแนวระดับ มีแรงในแนวระดับ
ขนาด 200 N ออกแรงดึงดังรูป ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างพื้นกับมวลมีค่า 0.700
จงคานวณหาแรงเสียดทานที่เกิดขึ้น
200 N µ=0.70
_ _ _20° _ _
ผลรวมของแรงในแนวแกน y ∑F =0
ฉะนั้น แรงปฏิกิริยาที่ผิวสัมผัส N = mg cos 20° - 20N sin 20°
=(100 kg)(9.81 m/sec²)(cos 20°)-
(200 N) (sin 20°)
= 853.43 N
เนื่องจาก µ = f
N
ฉะนั้น แรงเสียดทาน F = µ·N
= (0.700)(853.45 N)
= 597.401 N ตอบ
ตัวอย่างที่ 7.10 จงคานวณหาแรงเสียดทาน และพิสูจน์ว่าวัตถุมวล 100 kg จะเคลื่อนที่เมื่อถูก
ดันด้วยแรงในแนวระดับ 100 m เพื่อให้เกิดเนินเอียง 20° กับแนวระดับ โดยที่แรงเสียดทาน
สถิตและมีแรงเสียดทานจลน์มีค่า 0.20 และ 0.17 ตามลาดับ
m
_ _ _20°
ผลรวมของแรงในแนวแกม x ∑F =0
ฉะนั้น แรงเสียดทาน f = mg sin 20°- 100 N cos 20°
= (100 kg )(9.81 m/sec²)(sin 20°)-(100N)
(cos 20°)
= 241.55N
ผลรวมของแรงในแนวแกน y ∑F = 0
ฉะนั้น รงปฏิกิริยา N = mg sin 20°- 100 N cos 20°
= (100 kg )(9.81 m/sec²)(cos
20°)+(100N)(sin 20°)
= 956.04
หาค่าแรงเสียดทานสถิตสูงสุด จากสมการ
ฉะนั้น f = µ∙N
= (0.20)(956.04 N)
f = 191.21 N
= 241.55 N
ฉะนั้น เมื่อมีแรง 100 N มาดันวัตถุจะเกิดการเคลื่อนที่ ดังรูปแรงเสียดทานที่จะเกิดขึ้น
จึงเป็นแรงเสียดทานจลน์ ซึ่งหาได้จากสมการ
เนื่อง
F = µk∙N
= (0.17) (956.04)
= 162.53 N ตอบ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
Champ Wachwittayakhang
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
Wijitta DevilTeacher
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
Kittichai Pinlert
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
Aui Ounjai
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
rutchaneechoomking
 

La actualidad más candente (20)

แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
1ความหนาแน่น และความดันในของไหล
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 

Similar a บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)

บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Wannalak Santipapwiwatana
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
Taweesak Poochai
 
สมดุลกล
สมดุลกลสมดุลกล
สมดุลกล
aoffiz
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
Janesita Sinpiang
 

Similar a บทที่7แรงเสียดทาน1 (2) (19)

บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
สมดุลกล
สมดุลกลสมดุลกล
สมดุลกล
 
Lesson05
Lesson05Lesson05
Lesson05
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดาดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
ดงมะไฟพิทยาคม กลุ่มพรสุดา
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
3
33
3
 
3
33
3
 
Content work
Content workContent work
Content work
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่นสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
แรงและการเคลื่อนที่ ทางฟิสิกส์ มหาลัยค่ะ
แรงและการเคลื่อนที่ ทางฟิสิกส์ มหาลัยค่ะแรงและการเคลื่อนที่ ทางฟิสิกส์ มหาลัยค่ะ
แรงและการเคลื่อนที่ ทางฟิสิกส์ มหาลัยค่ะ
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 
P03
P03P03
P03
 

บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)

  • 2. บทที่ 5 แรงเสียดทาน 5.1.1 นิยามของแรงเสียดทาน (Definition of Friction) แรงเสียดทาน คือ คือ แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุเกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ 2 ชิ้น มีทิศตรงข้ามกันกับทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุ จากนิยามของแรงเสียดทานข้างต้นอาจทาให้หลายคนคิดว่าแรงเสียดทานนั้นคืออุปสรรค ต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ เพราะแรงเสียดทานนั้นเป็นแรงที่เกิดในทิศตรงข้ามกับการเคลื่อนที่ ของวัตถุ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือแรงที่ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปในทิศทางตามแนวแรง พยายามหรือทิศทางการเคลื่อนที่เดิมได้ยากขึ้น อันที่จริง แรงเสียดทานนั้นมีประโยชน์ มากกว่านั้นมาก เช่น
  • 3. ๑. แรงเสียดทานช่วยให้วัตถุหยุดเคลื่อนที่ หากปราศจากแรงเสียดทานแล้ววัตถุก็ไม่อาจ หยุดเคลื่อนที่ในเวลาที่ต้องการจะหยุดได้เพราะไม่มีแรงที่มาช่วยต้านการเคลื่อนที่ไว้ ๒. แรงเสียดทานช่วยในการเคลื่อนที่ เช่น เมื่อผู้หญิงออกแรงเดิน แรงจะถูกส่งจากเท้าไป ดันพื้นที่เหยียบ เมื่อพื้นมีแรงมากระทาพื้นก็จะส่งแรงไปดันวัตถุกลับตามกฎข้อที่ ๓ นิว ตันที่ว่า เมื่อเกิดแรงกิริยา จะมีแรงปฏิกิริยาเกิดขึ้นเสมอ โดยที่แรงปฏิกิริยาจะมีขนาด เท่ากับแรงกิริยาแต่มีทิศตรงข้ามกัน ซึ่งแรงปฏิกิริยาที่พื้นดันเท้าของผู้หญิงในรูปกลับมา จะเป็นแรงที่ทาให้ผู้หญิงสามารถเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้ ๓. แรงเสียดทานช่วยในการเคลื่อนที่เลี้ยวไป-มาของวัตถุ เช่นเมื่อนักแข่งเอียงตัวทามุมθกับพื้น จะเกิดแรง F ทามุม θ กับพื้น เมื่อแตกแรง F เป็นแรงองค์ประกอบจะได้เป็น Fcos θและ Fsin θหากปราศจากแรงเสียดทาน รถจักรยานยนต์คันนี้จะเคลื่อนที่หลุดออกจากแนวการวิ่งไปไม่สามารเลี้ยวได้ แต่หาก เนื่องจากกฎข้อที่ 3 ของ นิวตัน รถจักรยานยนต์ดันพื้นในแนวระดับด้วยแรง Fsin θจะเกิดแรงเสียดทาน f มา กระทาต่อรถจักรยานยนต์ ซึ่งแรงเสียดทานนี้จะกลายเป็นแรงสู่ศูนย์กลางของ รถจักรยานยนต์ ทาให้รถจักรยานยนต์สามารถเลี้ยวได้
  • 4. 7.1.2 ประเภทของแรงเสียดทาน (Type of Friction) ประเภทของแรงเสียดทานแบ่งได้ตามลักษณะการเกิดแรงได้ 2 ประเภท ได้แก่ แรงเสียดทานสถิต (Static frictional force) เป็นแรงเสียดทานระหว่างผิวทั้งสองของวัตถุที่สัมผัสกัน เกิดขึ้นเมื่อมีแรงกระทากับวัตถุ หนึ่งแต่ยังไม่เคลื่อนที่ แรงเสียดทานสถิตมีค่าสูงสุดเมื่อวัตถุเริ่มเคลื่อนที่บนอีกผิวหนึ่ง แรงเสียดทานจลน์ (Dynamic frictional force or sliding frictional force) เป็นแรงเสียดทานเมื่อผิวหนึ่งเคลื่อนที่บนอึกผิวหนึ่งที่อัตราเร็วคงตัว แรงเสียดทานจลน์ มีค่าน้อยกว่าแรงเสียดทานสถิตเล็กน้อย
  • 5. 5.2คุณสมบัติของแรงเสียดทาน (Property of Friction) 1.พื้นที่ของผิวสัมผัสไม่มีอิทธิพลต่อแรงเสียดทาน 2.การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ มีอิทธิพลต่อแรงเสียดทานไม่มากเท่าใดนัก 3.แรงเสียดทานจะเป็นปฏิภาคกับแรงปฏิกิริยาที่ตั้งฉากกับพื้นผิวสัมผัส 4.แรงเสียดทางจะมีทิศทางตรงกับทิศทางของการเคลื่อนที่ ดังรูปที่7.1 m ทิศทางการเคลื่อนที่ รูปที่ 7.1 ทิศทางของแรงเสียดทาน
  • 7. 5.3 สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน ( Coefficient of Friction) สัมประสิทธิ์ความเสียด คือค่าอัตราส่าวนระหว่าง แรงเสียดทาน f กับแรงปฏิกิริยาที่ ผิวสัมผัสกระทากับวัตถุในแนวตั้งฉาก N ดังนั้น µ = f N เมื่อ µ = สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน f = แรงเสียดทาน,(N) N = แรงปฏิกิริยาที่ผิวสัมผัสกระทากับวัตถุในแนวตั้งฉาก
  • 8. 5.3.1 สัมประสิทธิ์ความเสียดทานในแนวระดับ mg P ϴ F N R รูปที่ 7.2 การหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานในแนวระดับ
  • 9. จากรูปที่7.2 วัตถุมวล m ถูกดึงด้วยแรง P มีแรงเสียดทาน F ต้านทานของแรงP ไว้ โดยที่รงเสียดทาน f มีค่าสูงสุดเมื่อวัตถุเกือบจะเคลื่อนที่ และทีผิวสัมผัสที่แรงปฏิกิริยา N กระทาตั้งฉากกับแนวระดับ จากสมการที่ 7.1 เขียนใหม่ได้ว่า f = µ · N ………..(7.2) หรือ f = µ· m · g …….(7.3) เมื่อ m = มวลของวัตถุ, (kg) g = แรงโน้มถ่วงของโลก = 9.81 m/sec²
  • 10. ในส่วนของมุมของแรงเสียดทาน (Angle of friction) ซึ้งเป็นมุมระหว่างแรง ปฏิกิริยา N กับแรงลัพธ์ R อาจจะหาได้จากหลักการของตรีโกณมิติดังนี้ tan Ө = f N ฉะนั้น Ө = tanˉ¹ f ……….(7.4) N หรือ Ө = tanˉ¹ µ ……..(7.5) เมื่อ Ө= มุมของแรงเสียดทาน
  • 11. สาหรับค่าสาประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ของวัตถุต่างๆ สามารถใช้วิธีการหาเช่นเดียวกับ ของแรงเสียดทานสถิต เพียงแต่แรงเสียดทานจลน์จะพิจารณาต่อวัตถุเมื่อมีการเคลื่อนที่ ส่วน แรงเสียดทานสถิตจะพิจารณาต่อวัตถุไม่เคลื่อนที่ ตารางที่7.1 ค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิต µ วัสดุที่สัมผัสกัน ค่าสัมประสิทธ์ ไม ้ ไม ้ 0.380-0.700 โลหะ โลหะ 0.150-0.300 ไม ้ โลหะ 0.200-0.600 หนัง ไม ้ 0.250-0.500 หนัง โลหะ 0.300-0.600 หิน หิน 0.400-0.650
  • 12. ตัวอย่างที่ 5.1 แท่งคอนกรีตทรงลูกบาศก์ขนาด 1×1×1 m³ วางอยู่บนผิวราบที่มีค่า สัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน 0.500 จงคานวณหาแรงสูงสุดที่ใช้ในการดึงแท่งคอนกรีต และ มุมของแรงเสียดทาน เมือคอนกรีตมีความหนาแน่น 2400 kg/m³ วิธีทา หามวลของคอนกรีต m = ρ·v = (2400 kg/m³)(1 m³) = 2400 หาแรงดึงสูงสุดที่ใช้ในการดึงแท่งคอนกรีต เนื่องจาก P=f = μ·m·g =(0.500)(2400kg)(9.81m/sec²) = 11.772kN ตอบ
  • 14. ตัวอย่างที่ 5.2 จงคานวณหาแรงเสียดทาน ในการที่จะออกแรงดึงแทงโลหะมวล100kg ไปบน แผ่นกระดานไม้ วิธีทา จากตารางที่7.1 อ่านค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้μ=0.400 หาค่าแรงเสียดทาน เนื่องจาก f = μ·m·g = (0.400)(100kg)(9.81m/sec²) =392.4 N ตอบ
  • 15. ตัวอย่างที่ 5.3 จงคานวณหามวลของโลหะ ที่วางอยู่บนผืนหนัง โดยมีแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเมื่อ กาลังจะเริ่มเคลื่อนมวลนี้100 N วิธีทา จากตารางที่ 7.1 อ่านค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานได้µ=0.450 เนื่องจาก f = μ·m·g ฉะนั้น มวลโลหะ m= f µ·g = 100 N (0.450)(9.81 m/sec²) = 22.65 kg ตอบ
  • 16. 7.3.2 สัมประสิทธิ์ความเสียดทานในแนวเอียง รูปที่ 7.4 การหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานในแนวอียง จากรูปที่ 7.4 วัตถุมวล m วางอยู่บนพื้นเอียงมุมกับแนวระดับ Ө มีแรงเสียดทาน f ต้านทาน การเคลื่อนไถลงจากพื้นเอียง แรงที่ทาให้มอง M เคลื่อนที่ลงจากพื้นเอียง มีค่าเท่ากับ mg sin Ө
  • 17. เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ แสดงว่าแรงเสียดทานสูงสุดเกิดขึ้นเท่ากับแรงที่ทาให้มวลเคลื่อนที่ลงจากพื้น เอียง ดังนั้น F = mg sin Ө ……….(7.6) F = แรงเสียดทาน, (N) M = มวลของวัตถุ, (kg) G= แรงโน้นถ่วงของโลก = 9.81 m/sec² ขณะที่แรงปฏิกิริยาที่ผิวสัมผัส N คานวณได้ตามสมการ N = mg · cos Ө ………………(7.7)
  • 18. ดังนั้น จากสมการที่ 5.1 เขียนใหม่ได้ว่า µ=f N µ = mg sin Ө mg cos Ө µ = tan Ө ………..(7.3)
  • 19. ตัวอย่างที่ 7.8 วัตถุมวล 500 kg วางอยู่บนพื้นเอียง 15° กาลังจะเคลื่อนที่ไถลลงจากพื้น จง คานวรหาแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นและสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน วิธีทา หาแรงเสียดทาน เนื่องจาก f = mg sin Ө = (500kg)(9.81 m/sec²)(sin 15°) =1.27 kN ตอบ หาค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน เนื่องจาก µ = tan Ө µ = tan 15° = 0.268
  • 20. ตัวอย่างที่ 5.4 มวล 100 kg วางบนระนาบเอียงทามุม 20° กับแนวระดับ มีแรงในแนวระดับ ขนาด 200 N ออกแรงดึงดังรูป ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างพื้นกับมวลมีค่า 0.700 จงคานวณหาแรงเสียดทานที่เกิดขึ้น 200 N µ=0.70 _ _ _20° _ _ ผลรวมของแรงในแนวแกน y ∑F =0 ฉะนั้น แรงปฏิกิริยาที่ผิวสัมผัส N = mg cos 20° - 20N sin 20° =(100 kg)(9.81 m/sec²)(cos 20°)- (200 N) (sin 20°) = 853.43 N
  • 21. เนื่องจาก µ = f N ฉะนั้น แรงเสียดทาน F = µ·N = (0.700)(853.45 N) = 597.401 N ตอบ
  • 22. ตัวอย่างที่ 7.10 จงคานวณหาแรงเสียดทาน และพิสูจน์ว่าวัตถุมวล 100 kg จะเคลื่อนที่เมื่อถูก ดันด้วยแรงในแนวระดับ 100 m เพื่อให้เกิดเนินเอียง 20° กับแนวระดับ โดยที่แรงเสียดทาน สถิตและมีแรงเสียดทานจลน์มีค่า 0.20 และ 0.17 ตามลาดับ m _ _ _20° ผลรวมของแรงในแนวแกม x ∑F =0 ฉะนั้น แรงเสียดทาน f = mg sin 20°- 100 N cos 20° = (100 kg )(9.81 m/sec²)(sin 20°)-(100N) (cos 20°) = 241.55N
  • 23. ผลรวมของแรงในแนวแกน y ∑F = 0 ฉะนั้น รงปฏิกิริยา N = mg sin 20°- 100 N cos 20° = (100 kg )(9.81 m/sec²)(cos 20°)+(100N)(sin 20°) = 956.04 หาค่าแรงเสียดทานสถิตสูงสุด จากสมการ ฉะนั้น f = µ∙N = (0.20)(956.04 N) f = 191.21 N = 241.55 N
  • 24. ฉะนั้น เมื่อมีแรง 100 N มาดันวัตถุจะเกิดการเคลื่อนที่ ดังรูปแรงเสียดทานที่จะเกิดขึ้น จึงเป็นแรงเสียดทานจลน์ ซึ่งหาได้จากสมการ เนื่อง F = µk∙N = (0.17) (956.04) = 162.53 N ตอบ