SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 25
การอ่ า นกั บ การพั ฒ นา
คุ ณ ภาพการศึ ก ษาระดั บ
       อุ ด มศึ ก ษา
          ศาสตราจารย์ ดร.ชุ ต ิ ม า สั จ จา
                           นั น ท์
         มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช
สิ ่ ง น่ า รู ้ เ กี ่ ย วกั บ การอ่ า นของนั ก ศึ ก ษา
                         ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา

       • วั ย
                                   กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มผู้ใหญ่


   • วั ต ถุ ป ระสงค์
                เน้นการศึกษา ค้นคว้า วิจัย รวมทั้งความบันเทิงพักผ่อนหย่อนใจ


 • ประเภทหรื อ สื ่ อ ที ่ อ ่ า น

                  สิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์
เนื ้ อ หา      เทคนิ ค การ
                       อ่ า น



เกี่ยวข้องกับสาขา     การอ่านทั่วไป
  วิชา/หลักสูตร/
                       การอ่านสรุป
      การเรียน
                     ความ ตีความ คิด
    การสอน การ
                         วิเคราะห์
     ค้นคว้าวิจัย
                        สังเคราะห์
ตั ว แปรที ่ ส ่ ง ผลต่ อ การอ่ า นของ
      นั ก ศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา
                                                     มีชั้นเรียน
   ปริญญาตรี                                         มหาวิทยาลัยเปิด

   ปริญญาโท                                          มหาวิทยาลัยทาง
                                       รู ป แบบ      ไกล
                   ระดั บ การ
   ปริญญาเอก                          การศึ ก ษา
                   ศึ ก ษา

                   สาขาวิ ช า/
                   หลั ก สู ต รที ่      ผู ้ ส อน
                     ศึ ก ษา
สังคมศาสตร์                                          ความรู้ ความเข้าใจ
                                                     ในเนือหาและแหล่ง
                                                           ้
                                                     การเรียนรู้ที่
                                                     เกี่ยวข้องการ
                                                     ติดตามวิทยาการ
มนุษยศาสตร์
ตั ว แปรที ่ ส ่ ง ผลต่ อ การอ่ า นของ
นั ก ศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ( ต่ อ )
              เทคนิ ค การสอน      เช่ น resourced –based teaching/
              learning, research-based teaching learning


                           กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน

          ตั ว แปร         การวั ด และประเมิ น ผลการศึ ก ษา

              สิ ่ ง แวดล้ อ มด้ า นสิ ่ อ การเรี ย นรู ้ โดยเฉพาะห้องสมุด

                        บรรณารั ก ษ์
การวิจัยเกี่ยวกับการอ่านของนักศึกษา
            ระดับอุดมศึกษา




      สาขาวิชาที่มการวิจัยเกียวกับการอ่าน
                  ี          ่
           - การศึกษาโดยเฉพาะ หลักสูตรและการ
  สอน
           - ภาษา เช่น ภาษาไทย และภาษา
  อังกฤษ
         - บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศ
  ศาสตร์
         - วิทยาการอื่นๆ และ สหวิทยาการ เช่น
           นิเทศศาสตร์/วารสารศาสตร์ จิตวิทยา
   คำาที่เกียวข้องกับการวิจัยการอ่าน เช่น การวิจัยเอกสาร
            ่
              การวิเคราะห์เนื้อหา การสังเคราะห์เนื้อหา
ประเด็ น การวิ จ ั ย การอ่ า นในสาขาการศึ ก ษา
           หลั ก สู ต รและการสอน


   เทคนิคการอ่าน /กลยุทธ์การอ่าน/ทักษะการอ่าน
   เทคนิคและวิธการสอนอ่าน โดยใช้เทคนิควิธการสอนแบบ
                  ี                         ี
    ต่างๆ การใช้ กิจกรรม แบบฝึก
   ความสามารถในการอ่าน เช่น การสร้าง การวัด
   ผลสัมฤทธิ์การอ่าน เช่น ปัจจัยทีส่งผล ปัญหาการอ่าน
                                   ่
   การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน เช่น ชุดการสอนอ่าน บท
    เรียนอิเล็กทรอนิกส์
ประเด็ น การวิ จ ั ย การอ่ า นในสาขาการศึ ก ษา
         หลั ก สู ต รและการสอน ( ต่ อ )
                                 (




     แรงจูงใจในการอ่าน
     พฤติกรรมการอ่าน
     นิสัยรักการอ่าน
     สิ่งแวดล้อมในการอ่าน
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
ประเด็ น การ
 วิ จ ั ย
     การอ่ า น
ในสาขาภาษา       การอ่านวรรณกรรม
ตั ว อย่ า ง

 เชิ ด ศั ก ดิ ์ ชื ่ น ตา สื่อการอ่านสำาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาการบริหาร
            วิทยานิพนธ์ศลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษ  
                               ิ
            มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2545    http://lib09.kku.ac.th/web/

 สุ ธ าจรี ดุ ร งค์ พ ั น ธุ ์ การทำานายความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษโดยอาศัย
           ความตะหนักในโครงสร้างของ ข้อเขียนในบทอ่านภาษาอังกฤษ
           เชิงสาธกโวหารของนิสิตชั้นปีที่ 1 วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์
            มหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษเพือการสื่อสาร มหาวิทยาลัยบูรพา 2544
                                                ่


สุ ว ั ฒ นา รั ช ตะกู ล วิธีการอ่านเรื่อง จากหลายแหล่งข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัย    
           วิทยานิพนธ์ศลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น
                        ิ
          2545 http://lib09.kku.ac.th/web/

 กาญจนา เตรี ย มธนาโชค ความสามารถในการอ่านและกลวิธีการอ่านภาษาอังกฤษ
     ของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยพายัพ เชียงใหม่  วิทยานิพนธ์ปริญญา
     ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต(ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยพายัพ 2542
     http://lib.payap.ac.th/
ประเด็ น การวิ จ ั ย การอ่ า นในสาขา
บรรณารั ก ษศาสตร์ แ ละสารสนเทศ
             ศาสตร์
 พัฒนาการจากการอ่านสู่การใช้ การแสวงหา การเข้าถึง การค้น
  คืน ตามพัฒนาการของศาสตร์และผลกระทบจากเทคโนโลยี
  สารสนเทศ
 การอ่านทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ เช่น หนังสือ
  วารสาร หนังสือพิมพ์
 การอ่านทรัพยากรสารสนเทศในเนื้อหาวิชา/สาขาต่างๆ เช่น
  วิชาการ สารคดี บันเทิงคดี นวนิยาย
 การอ่านทรัพยากรสารสนเทศของกลุ่มต่างๆ จำาแนกตามวัย เช่น
    นักศึกษาคณะต่างๆ สาขาวิชาต่างๆ
ประเด็ น การวิ จ ั ย การอ่ า นในสาขา
บรรณารั ก ษศาสตร์ แ ละสารสนเทศศาสตร์ (
                   ต่ อ )

      พฤติกรรมการอ่าน เช่น ความสนใจ
       ความต้องการ แรงจูงใจ
      การส่งเสริมการอ่าน
      ประสิทธิผลของการอ่าน
      ปัจจัยที่มีผลต่อการอ่าน
      บรรณบำาบัด
ประเด็ น การวิ จ ั ย การอ่ า นในสาขา
บรรณารั ก ษศาสตร์ แ ละสารสนเทศศาสตร์ (
                   ต่ อ )

     การแสวงหา (search)การเข้า
      ถึง(access)การค้นคืน(retrieve) สารสนเทศ
     พฤติกรรมสารสนเทศ
     การใช้สารสนเทศ/ทรัพยากรสารสนเทศ/โดยเน้น
      สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ฐานข้อมูลเว็บไซต์
     การรู้สารสนเทศ (information literacy)
ตั ว อย่ า งข้ อ เสนอแนะจากการวิ จ ั ย

กลวิ ธ ี ก ารอ่ า นภาษาอั ง กฤษ

       ควรอ่านเนื้อเรื่องคร่าวๆก่อนแล้วจึงค่อยกลับมาอ่าน
อีกรอบเพื่อจับใจความสำาคัญ รองลงมาคือ ควรมีการหาความ
หมายของศัพท์ยากในแต่ละประโยค แล้วแปลความหมายที
ละประโยค จนจบเนื้อเรื่อง ควรมีการตั้งคำาถามหลังการอ่าน
และควรสรุปย่อหลังจากอ่านเนื้อเรื่อง


พรพิมล ทะละถา และคณะ การศึกษากลวิธการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของ
                                     ี
     นักศึกษาวิชาภาษาอังกฤษ มรภ เชียงราย 2547
ตั ว อย่ า งข้ อ เสนอแนะจากการวิ จ ั ย
การใช้ ก ารอ่ า นเพื ่ อ กล่ อ มเกลาจิ ต ใจ

     การปลูกฝังนักศึกษาให้มีคุณธรรมและจริยธรรมควบคู่กับการเพิ่ม
ทักษะด้านภาษาอังกฤษ โดยนำาการอ่านภาษาอังกฤษมาใช้กล่อมเกลา
จิตใจในการพัฒนาความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษ พร้อมส่ง
เสริมคุณธรรมและจริยธรรมโดยเน้นหลักพุทธธรรม เรื่องอิทธิบาท 4 คือ
ฉันทะ วิริยะ จิตตะและวิมังสา ผลการวิจัยพบว่าทำาให้นักศึกษามีผล
สัมฤทธิ์การเรียนสูงขึน เรียนอย่างสนุกสนาน เข้าใจ มีแรงจูงใจ มี
                     ้
ทัศนคติที่ดีต่อการอ่านภาษาอังกฤษ และตระหนักเรื่องคุณธรรมและ
จริยธรรมมากขึน รวมทั้งทำาให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง พี่ง
                ้
ตนเอง เป็นหนทางไปสู่ความสำาเร็จทั้งการเรียนและการใช้ชีวิตประจำาวัน


บุษบามินตรา ฉลวยแสง การใช้การอ่านเพือกล่อมเกลาจิตใจในการพัฒนาความสามารถ
                                    ่
    ทางภาษาอังกฤษและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
    งานวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น2551
ประเด็ น การอ่ า นในสาขาวิ ท ยาการอื ่ น ๆ
            และสหวิ ท ยาการ


        1               2              3
      จิตวิทยา
        เช่น         จริยธรรม     นิเทศศาสตร์
    จิตวิทยาการ
        อ่าน
ตั ว อย่ า งงานวิ จ ั ย พฤติ ก รรมการอ่ า น
                   สาขานิ เ ทศศาสตร์
 ศุภนิตย์ วงศ์ทางสวัสดิ์ ลักษณะเนื้อหา พฤติกรรมการอ่านและการใช้
  ประโยชน์ของเยาวชนไทยจากบางกอกโพสต์ สติวเด้นท์ วีคลี่และเนชั่นจู
  เนียร์ วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต (วารสารสนเทศ) จุฬาลงกรณ
  มหาวิทยาลัย 2542

 พัชราวดี พลศักดิ์ พฤติกรรมการอ่าน การใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจ
  จากข่าวสารในหนังสือพิมพ์ธุรกิจ ของนักศึกษาระดับปริญญาโทด้าน
  บริหารธุรกิจ หลักสูตรผู้บริหาร ในเขตกรุงเทพมหานคร   วิทยานิพนธ์
  วารสารศาสตร์มหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน)มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2541

 ฐิติมาศ เพ็ชรัตน์ การศึกษาพฤติกรรมการอ่าน และความต้องการเนื้อหาจาก
  หนังสือ พิมพ์รายวัน ของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร วิทยานิพนธ์
  ปริญญานิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ธุรกิจมหาวิทยาลัยธุรกิจ
  บัณฑิตย์ 2538
ตั ว อย่ า งแหล่ ง ข้ อ มู ล เพื ่ อ ค้ น คว้ า งาน
   วิ จ ั ย /วิ ท ยานิ พ นธ์ ท ี ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง
http://www.thailis.or.th
การส่ ง เสริ ม การอ่ า นแก่ น ั ก ศึ ก ษาระดั บ
                                          อุ ด มศึ ก ษา

 การสร้างแรงจูงใจ ความเชื่อมโยงการอ่านกับการศึกษา
    และวิถชีวิต เกิดความตระหนักและเล็งเห็นความจำาเป็น
          ี
 ความร่วมมือระหว่างผู้สอนกับบรรณารักษ์
 ความร่วมมือระหว่างนักวิจัยในการวิจัยการอ่านลักษณะ
   สหสาขาวิชา
 ความร่วมมือในการส่งเสริมการอ่านอย่างครบวงจรตั้งแต่
  ระดับโรงเรียนจนถึงระดับอุดมศึกษา ระดับครอบครัวจนถึง
  สำานักงานและสังคม
 ความร่วมมือแก้ไขปัญหาและพัฒนาการอ่านในลักษณะ
  บูรณาการ
การอ่านภาษาอังกฤษ ม่อย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learning
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learningการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learning
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learningศิษย์ หอมหวล
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55ไชยยา มะณี
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)Asmataa
 
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษาสรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษาDuke Wongsatorn
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)Asmataa
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156Ajnawa Sing
 

La actualidad más candente (17)

การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learning
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learningการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learning
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learning
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษาสรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
สรุปงานวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156
 

Similar a การอ่านภาษาอังกฤษ ม่อย

การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋Kaekea Bio
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...Kobwit Piriyawat
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยpentanino
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยVachii Ra
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 

Similar a การอ่านภาษาอังกฤษ ม่อย (20)

การศึกษาก..
การศึกษาก..การศึกษาก..
การศึกษาก..
 
การศึกษาก..
การศึกษาก..การศึกษาก..
การศึกษาก..
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
การศึกษาก..
การศึกษาก..การศึกษาก..
การศึกษาก..
 
การศึกษาก..
การศึกษาก..การศึกษาก..
การศึกษาก..
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

การอ่านภาษาอังกฤษ ม่อย

  • 1. การอ่ า นกั บ การพั ฒ นา คุ ณ ภาพการศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ศาสตราจารย์ ดร.ชุ ต ิ ม า สั จ จา นั น ท์ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช
  • 2. สิ ่ ง น่ า รู ้ เ กี ่ ย วกั บ การอ่ า นของนั ก ศึ ก ษา ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา • วั ย กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มผู้ใหญ่ • วั ต ถุ ป ระสงค์ เน้นการศึกษา ค้นคว้า วิจัย รวมทั้งความบันเทิงพักผ่อนหย่อนใจ • ประเภทหรื อ สื ่ อ ที ่ อ ่ า น สิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์
  • 3. เนื ้ อ หา เทคนิ ค การ อ่ า น เกี่ยวข้องกับสาขา การอ่านทั่วไป วิชา/หลักสูตร/ การอ่านสรุป การเรียน ความ ตีความ คิด การสอน การ วิเคราะห์ ค้นคว้าวิจัย สังเคราะห์
  • 4. ตั ว แปรที ่ ส ่ ง ผลต่ อ การอ่ า นของ นั ก ศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา มีชั้นเรียน ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเปิด ปริญญาโท มหาวิทยาลัยทาง รู ป แบบ ไกล ระดั บ การ ปริญญาเอก การศึ ก ษา ศึ ก ษา สาขาวิ ช า/ หลั ก สู ต รที ่ ผู ้ ส อน ศึ ก ษา สังคมศาสตร์ ความรู้ ความเข้าใจ ในเนือหาและแหล่ง ้ การเรียนรู้ที่ เกี่ยวข้องการ ติดตามวิทยาการ มนุษยศาสตร์
  • 5. ตั ว แปรที ่ ส ่ ง ผลต่ อ การอ่ า นของ นั ก ศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ( ต่ อ ) เทคนิ ค การสอน เช่ น resourced –based teaching/ learning, research-based teaching learning กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน ตั ว แปร การวั ด และประเมิ น ผลการศึ ก ษา สิ ่ ง แวดล้ อ มด้ า นสิ ่ อ การเรี ย นรู ้ โดยเฉพาะห้องสมุด บรรณารั ก ษ์
  • 6. การวิจัยเกี่ยวกับการอ่านของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา สาขาวิชาที่มการวิจัยเกียวกับการอ่าน ี ่ - การศึกษาโดยเฉพาะ หลักสูตรและการ สอน - ภาษา เช่น ภาษาไทย และภาษา อังกฤษ - บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศ ศาสตร์ - วิทยาการอื่นๆ และ สหวิทยาการ เช่น นิเทศศาสตร์/วารสารศาสตร์ จิตวิทยา คำาที่เกียวข้องกับการวิจัยการอ่าน เช่น การวิจัยเอกสาร ่ การวิเคราะห์เนื้อหา การสังเคราะห์เนื้อหา
  • 7. ประเด็ น การวิ จ ั ย การอ่ า นในสาขาการศึ ก ษา หลั ก สู ต รและการสอน  เทคนิคการอ่าน /กลยุทธ์การอ่าน/ทักษะการอ่าน  เทคนิคและวิธการสอนอ่าน โดยใช้เทคนิควิธการสอนแบบ ี ี ต่างๆ การใช้ กิจกรรม แบบฝึก  ความสามารถในการอ่าน เช่น การสร้าง การวัด  ผลสัมฤทธิ์การอ่าน เช่น ปัจจัยทีส่งผล ปัญหาการอ่าน ่  การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน เช่น ชุดการสอนอ่าน บท เรียนอิเล็กทรอนิกส์
  • 8. ประเด็ น การวิ จ ั ย การอ่ า นในสาขาการศึ ก ษา หลั ก สู ต รและการสอน ( ต่ อ ) (  แรงจูงใจในการอ่าน  พฤติกรรมการอ่าน  นิสัยรักการอ่าน  สิ่งแวดล้อมในการอ่าน
  • 9. ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ประเด็ น การ วิ จ ั ย การอ่ า น ในสาขาภาษา การอ่านวรรณกรรม
  • 10. ตั ว อย่ า ง เชิ ด ศั ก ดิ ์ ชื ่ น ตา สื่อการอ่านสำาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาการบริหาร วิทยานิพนธ์ศลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษ   ิ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2545    http://lib09.kku.ac.th/web/ สุ ธ าจรี ดุ ร งค์ พ ั น ธุ ์ การทำานายความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษโดยอาศัย ความตะหนักในโครงสร้างของ ข้อเขียนในบทอ่านภาษาอังกฤษ เชิงสาธกโวหารของนิสิตชั้นปีที่ 1 วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษเพือการสื่อสาร มหาวิทยาลัยบูรพา 2544 ่ สุ ว ั ฒ นา รั ช ตะกู ล วิธีการอ่านเรื่อง จากหลายแหล่งข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัย     วิทยานิพนธ์ศลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษ  มหาวิทยาลัยขอนแก่น ิ 2545 http://lib09.kku.ac.th/web/ กาญจนา เตรี ย มธนาโชค ความสามารถในการอ่านและกลวิธีการอ่านภาษาอังกฤษ ของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยพายัพ เชียงใหม่  วิทยานิพนธ์ปริญญา ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต(ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยพายัพ 2542 http://lib.payap.ac.th/
  • 11. ประเด็ น การวิ จ ั ย การอ่ า นในสาขา บรรณารั ก ษศาสตร์ แ ละสารสนเทศ ศาสตร์  พัฒนาการจากการอ่านสู่การใช้ การแสวงหา การเข้าถึง การค้น คืน ตามพัฒนาการของศาสตร์และผลกระทบจากเทคโนโลยี สารสนเทศ  การอ่านทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์  การอ่านทรัพยากรสารสนเทศในเนื้อหาวิชา/สาขาต่างๆ เช่น วิชาการ สารคดี บันเทิงคดี นวนิยาย  การอ่านทรัพยากรสารสนเทศของกลุ่มต่างๆ จำาแนกตามวัย เช่น นักศึกษาคณะต่างๆ สาขาวิชาต่างๆ
  • 12. ประเด็ น การวิ จ ั ย การอ่ า นในสาขา บรรณารั ก ษศาสตร์ แ ละสารสนเทศศาสตร์ ( ต่ อ )  พฤติกรรมการอ่าน เช่น ความสนใจ ความต้องการ แรงจูงใจ  การส่งเสริมการอ่าน  ประสิทธิผลของการอ่าน  ปัจจัยที่มีผลต่อการอ่าน  บรรณบำาบัด
  • 13. ประเด็ น การวิ จ ั ย การอ่ า นในสาขา บรรณารั ก ษศาสตร์ แ ละสารสนเทศศาสตร์ ( ต่ อ )  การแสวงหา (search)การเข้า ถึง(access)การค้นคืน(retrieve) สารสนเทศ  พฤติกรรมสารสนเทศ  การใช้สารสนเทศ/ทรัพยากรสารสนเทศ/โดยเน้น สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ฐานข้อมูลเว็บไซต์  การรู้สารสนเทศ (information literacy)
  • 14. ตั ว อย่ า งข้ อ เสนอแนะจากการวิ จ ั ย กลวิ ธ ี ก ารอ่ า นภาษาอั ง กฤษ ควรอ่านเนื้อเรื่องคร่าวๆก่อนแล้วจึงค่อยกลับมาอ่าน อีกรอบเพื่อจับใจความสำาคัญ รองลงมาคือ ควรมีการหาความ หมายของศัพท์ยากในแต่ละประโยค แล้วแปลความหมายที ละประโยค จนจบเนื้อเรื่อง ควรมีการตั้งคำาถามหลังการอ่าน และควรสรุปย่อหลังจากอ่านเนื้อเรื่อง พรพิมล ทะละถา และคณะ การศึกษากลวิธการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของ ี นักศึกษาวิชาภาษาอังกฤษ มรภ เชียงราย 2547
  • 15. ตั ว อย่ า งข้ อ เสนอแนะจากการวิ จ ั ย การใช้ ก ารอ่ า นเพื ่ อ กล่ อ มเกลาจิ ต ใจ การปลูกฝังนักศึกษาให้มีคุณธรรมและจริยธรรมควบคู่กับการเพิ่ม ทักษะด้านภาษาอังกฤษ โดยนำาการอ่านภาษาอังกฤษมาใช้กล่อมเกลา จิตใจในการพัฒนาความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษ พร้อมส่ง เสริมคุณธรรมและจริยธรรมโดยเน้นหลักพุทธธรรม เรื่องอิทธิบาท 4 คือ ฉันทะ วิริยะ จิตตะและวิมังสา ผลการวิจัยพบว่าทำาให้นักศึกษามีผล สัมฤทธิ์การเรียนสูงขึน เรียนอย่างสนุกสนาน เข้าใจ มีแรงจูงใจ มี ้ ทัศนคติที่ดีต่อการอ่านภาษาอังกฤษ และตระหนักเรื่องคุณธรรมและ จริยธรรมมากขึน รวมทั้งทำาให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง พี่ง ้ ตนเอง เป็นหนทางไปสู่ความสำาเร็จทั้งการเรียนและการใช้ชีวิตประจำาวัน บุษบามินตรา ฉลวยแสง การใช้การอ่านเพือกล่อมเกลาจิตใจในการพัฒนาความสามารถ ่ ทางภาษาอังกฤษและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น งานวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น2551
  • 16. ประเด็ น การอ่ า นในสาขาวิ ท ยาการอื ่ น ๆ และสหวิ ท ยาการ 1 2 3 จิตวิทยา เช่น จริยธรรม นิเทศศาสตร์ จิตวิทยาการ อ่าน
  • 17. ตั ว อย่ า งงานวิ จ ั ย พฤติ ก รรมการอ่ า น สาขานิ เ ทศศาสตร์  ศุภนิตย์ วงศ์ทางสวัสดิ์ ลักษณะเนื้อหา พฤติกรรมการอ่านและการใช้ ประโยชน์ของเยาวชนไทยจากบางกอกโพสต์ สติวเด้นท์ วีคลี่และเนชั่นจู เนียร์ วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต (วารสารสนเทศ) จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย 2542  พัชราวดี พลศักดิ์ พฤติกรรมการอ่าน การใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจ จากข่าวสารในหนังสือพิมพ์ธุรกิจ ของนักศึกษาระดับปริญญาโทด้าน บริหารธุรกิจ หลักสูตรผู้บริหาร ในเขตกรุงเทพมหานคร   วิทยานิพนธ์ วารสารศาสตร์มหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน)มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2541  ฐิติมาศ เพ็ชรัตน์ การศึกษาพฤติกรรมการอ่าน และความต้องการเนื้อหาจาก หนังสือ พิมพ์รายวัน ของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร วิทยานิพนธ์ ปริญญานิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ธุรกิจมหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์ 2538
  • 18. ตั ว อย่ า งแหล่ ง ข้ อ มู ล เพื ่ อ ค้ น คว้ า งาน วิ จ ั ย /วิ ท ยานิ พ นธ์ ท ี ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24. การส่ ง เสริ ม การอ่ า นแก่ น ั ก ศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา  การสร้างแรงจูงใจ ความเชื่อมโยงการอ่านกับการศึกษา และวิถชีวิต เกิดความตระหนักและเล็งเห็นความจำาเป็น ี  ความร่วมมือระหว่างผู้สอนกับบรรณารักษ์  ความร่วมมือระหว่างนักวิจัยในการวิจัยการอ่านลักษณะ สหสาขาวิชา  ความร่วมมือในการส่งเสริมการอ่านอย่างครบวงจรตั้งแต่ ระดับโรงเรียนจนถึงระดับอุดมศึกษา ระดับครอบครัวจนถึง สำานักงานและสังคม  ความร่วมมือแก้ไขปัญหาและพัฒนาการอ่านในลักษณะ บูรณาการ