SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 6
Descargar para leer sin conexión
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
                       ปีการศึกษา 2555

              ชื่อโครงงาน : ภาษาประจาอาเซียน


                     ชื่อผู้ทาโครงงาน
           นางสาว ศุภรดา ฉัตรเงิน เลขที่ 7 ม.6/14
           นางสาว ปิยมาศ สูงตรง เลขที่ 10 ม.6/14
           นาย ภานุพงษ์ หมอเก่ง เลขที่ 15 ม.6/14




    ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์




 ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2555




        โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34

                                          ใบงาน
                            การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์


สมาชิกกลุ่ม
1.นางสาว ศุภรดา ฉัตรเงิน เลขที่ 7 ม.6/14
2.นางสาว ปิยมาศ สูงตรง เลขที่ 10 ม.6/14
3.นาย ภานุพงษ์ หมอเก่ง เลขที่ 15 ม.6/14


ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : ภาษาประจาชาติอาเซียน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Language of 10 Asians counties
ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาว ศุภรดา ฉัตรเงิน
                 นางสาว ปิยมาศ สูงตรง
                 นาย ภานุพงษ์ หมอเก่ง
ชื่อที่ปรึกษา : นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2555
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
        “ประชาคมอาเซียน” เป็นเป้าหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน เพือเพิมอานาจ
                                                                                       ่ ่
ต่อรองและขีดความสามารถการแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศในทุกด้าน รวมถึงความสามารถใน
การรับมือกับปัญหาใหม่ๆ ในระดับโลกที่สงผลกระทบมาถึงภูมิภาคอาเซียน เช่น ภาวะโลกร้อน การก่อการร้าย
                                         ่
หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การเป็นประชาคมอาเซียน คือการทาให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเป็น “ครอบครัว
เดียวกัน” ที่มีความแข็งแกร่งและมีภูมิต้านทานที่ดี โดยสมาชิกในครอบครัวมีสภาพความอยู่ที่ดี ปลอดภัย และ
สามารถทามาค้าขายได้อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น
แรงผลักดันสาคัญทีทาให้ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียนตกลงกันที่จัดตั้งประชาคมอาเซียน อันถือเป็น
                          ่
การปรับปรุงตัวครั้งใหญ่และวางรากฐานของการพัฒนาของอาเซียน คือ สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศที่
เปลี่ยนแปลงไปทังในด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ที่ทาให้อาเซียนต้องเผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ เช่น
               ้
โรคระบาด อาชญากรรมข้ามชาติ ภัยพิบัติธรรมชาติ และปัญหาสิงแวดล้อม ภาวะโลกร้อน และความเสี่ยงที่
                                                          ่
อาเซียนอาจจะไม่สามารถแข่งขันทางเศรษฐกิจได้กับประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะจีนและอินเดีย ซึ่งมีอัตราการ
ขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดด


หลักการและทฤษฎี
ประเทศที่เป็นสมาชิกอาเซียน ประกอบด้วย
    1. ประเทศไทย
    2. ประเทศกัมพูชา
    3. ประเทศบรูไน
    4. ประเทศพม่า
    5. ประเทศฟิลิปปินส์
    6. ประเทศสิงคโปร์
    7. ประเทศอินโดนีเซีย
    8. ประเทศลาว
    9. ประเทศมาเลเซีย
    10. ประเทศเวียดนาม
ภาษาประจาชาติในประเทศสมาชิกอาเซียน
    1. .ประเทศไทย – ภาษาไทย
        ภาษาไทย เป็นภาษาทางการของประเทศไทย และภาษาแม่ของชาวไทย และชนเชื้อสายอื่นใน
ประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไต ซึ่งเป็นกลุมย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า
                                                    ่
ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกาเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางท่านเสนอว่า ภาษาไทย
น่าจะมีความเชื่อมโยงกับ ตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต
ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคาแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับ ภาษาจีน และออกเสียงแยกคาต่อ
คา เป็นที่ลาบากของชาวต่างชาติเนื่องจาก การออกเสียงวรรณยุกต์ที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละคา และการ
สะกดคาทีซับซ้อน นอกจากภาษากลางแล้ว ในประเทศไทยมีการใช้ ภาษาไทยถิ่นอื่นด้วย
           ่
2. ประเทศกัมพูชา – ภาษาเขมร
           ภาษาเขมร (ភាសាខ្មែរ ภาสาแขฺมร) เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซีย
   ติก และได้รับอิทธิพลมาจากภาษาสันสกฤต และภาษาบาลี พอสมควร ซึงอิทธิพลเหล่านี้ มาจาก
                                                              ่
   อิทธิพลของศาสนาพุทธ และศาสนาฮินดู ต่อวัฒนธรรมของชาวเขมร ในขณะที่อิทธิพลอื่นๆ เช่น จาก
   ภาษาไทย และภาษาลาว เป็นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาษา และความใกล้ชิดกันในทาง
   ภูมิศาสตร์ ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน (ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษา
   เวียดนาม) เนื่องจากไม่มีเสียงวรรณยุกต์


3. ประเทศบรูไน, ประเทศมาเลเซีย - ภาษามาเลย์
            ภาษามาเลย์ หรือ ภาษามลายู (มาเลย์: Bahasa Melayu) เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเชียน ที่
   พูดโดยชนชาติมลายูซึ่งเป็นชนพื้นเมืองของคาบสมุทรมลายู ทางใต้ของประเทศไทย ประเทศ
   สิงคโปร์ และบางส่วนของเกาะสุมาตรา เป็นภาษาทางการของประเทศมาเลเซียและประเทศ
   บรูไน และเป็น 1 ใน 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ นอกจากนี้ยงใช้เป็นที่แพร่หลายใน
                                                                     ั
   ประเทศติมอร์ตะวันออก มาตรฐานอย่างเป็นทางการของภาษามลายูนั้น มีการตกลงร่วมกันระหว่าง
   อินโดนีเซีย มาเลเซีย และบรูไน ว่าใช้บาฮาซารีเยา (Bahasa Riau) เป็นมาตรฐาน อันเป็นภาษาของ
   หมู่เกาะรีเยา ซึ่งถือว่าเป็นต้นกาเนิดของภาษามลายูมาช้านาน


4. ประเทศพม่า – ภาษาพม่า
           ภาษาพม่า เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยู่ในในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อัน
   เป็นสาขาย่อยของตระกูลภาษาโดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป็นภาษาที่
   สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศบังคลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศ
   ไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและ
   เขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง
5. .ประเทศฟิลิปปินส์ – ภาษาตากาล็อก
        ภาษาตากาล็อกเป็ นหนึ่ ง ในภาษาหลัก ของสาธารณรั ฐ ฟิลิ ป ปิน ส์ เป็นหนึ่ง ในตระกู ล ภาษา
   ออสโตรนีเ ซียน มี ความสัม พั น ธ์กั บ ภาษาอินโดนีเ ซีย ภาษามาเลย์ ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษา
   ฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามั ว ภาษาตาฮิติ ภาษาชามอร์โ ร ภาษาเตตุม และตระกู ล ภาษา
   ออสโตรนีเ ซียนในไต้ห วัน เป็นภาษาประจ าชาติ และภาษาราชการคู่กั บ ภาษาอัง กฤษในประเทศ
   ฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาษากลางภายในประเทศ มีผู้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ ภาษาอังกฤษ
   มากกว่า
6. ประเทศอินโดนีเซีย – ภาษาอินโดนีเซีย
             ภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตใน
   หลายด้าน เริ่มต้นด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่พูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วน
   น้อยที่พูดเป็นภาษาแม่ในบางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ
   ในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนืองจากเกิดคาที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ อยู่
                                                             ่
   ตลอด การเรียนรู้ภาษาอินโดนีเซียเป็นประสบการณ์ที่ให้ผลตอบแทนแก่ชาวต่างชาติ เนื่องจากการ
   ออกเสียงและไวยากรณ์ค่อนข้างเรียบง่าย ความรู้เบื้องต้นทีจาเป็นสาหรับการสื่อสารประจาวัน
                                                           ่
   สามารถเรียนรู้ได้ในไม่กี่สปดาห์ ชื่อท้องถิ่นของภาษาอินโดนีเซียคือ บาฮาซา อินโดนีเซีย (Bahasa
                             ั
   Indonesia)

7. ประเทศลาว – ภาษาลาว
            ภาษาลาว ภาษาราชการของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นภาษาที่มี
   วรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไต และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ ภาษาอีสานของประเทศไทยซึ้งเป็นสาเนียงหนึ่งของ
   ภาษาลาว ระบบการเขียนในภาษาลาว จะใช้อักษรลาว ซึ่งเป็นระบบอักษรสระประกอบ (ระบบการ
   เขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระทีจะอยู่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง ของ
                                                           ่
   พยัญชนะ) และสัมพันธ์ ใกล้ชิดกับ อักษรไทย

8. ประเทศเวียดนาม - ภาษาเวียดนาม
             ภาษาเวียดนาม (Tiếng Việt, Việt ngữ) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ และเป็นภาษาทางการของ
   ประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึง 87% รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนาม
   ประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนาม-อเมริกันเป็นจานวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืม
   คาศัพท์จากภาษาจีน และเดิมใช้อักษรจีนเขียน แต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้
   เป็น ภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก ซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากทีสุด (10 เท่า ของภาษา ที่มี
                                                                        ่
   จานวนคนพูดเป็นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น แต่
   เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื๋อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษา
เวียดนาม เรียกว่า "อักษรจื๋อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรโรมันที่พฒนาขึ้นโดยมิชชันนารี
                                                                                       ั
             ชาวฝรั่งเศส โดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต์
    9. ประเทศสิงค์โปร -
             สิงคโปร์มีภาษาราชการถึง 4 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษามาเลย์ และทมิฬ โดยมีภาษามา
    เลย ์เป็น ภาษาประจาชาติ และภาษาอังกฤษที่ใช้ในวงการธุรกิจ และการศึกษา ส่วนภาษาจีนกลาง (แมนดา
    ริน) เป็นภาษาที่มการใช้ในการสื่อสารทาง สังคมมากที่สุด เนื่องจากประชากร ประกอบ ด้วยคนเชื้อชาติ จีน
                       ี
    มากกว่าครึ่ง แต่มั่นใจได้แน่นอนว่า เกือบทุกคนพูดภาษาอังกฤษได้

    ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน

                                                                สัปดาห์ที่                                  ผู้รับผิดชอบ
ลาดับที่           ขั้นตอน          1   2   3   4   5   6   7    8   9   10   11   12   13   14   15   16

   1       เลือกหัวข้อโครงงาน                                                                             สมาชิกกลุ่ม
   2       วางแผนการจัดทา                                                                                ปิยมาศ
           โครงงาน
   3       ค้นคว้าและหาข้อมูล                                                                             ศุภรดา
   4       นาข้อมูลที่ได้จัดทาตาม                                                                        ภานุพงศ์
           แผนที่วางไว้
   5       ตรวจสอบข้อมูล                                                                      สมาชิกกลุ่ม
   6       แก้ไข และปรับปรุง                                                                  สมาชิกกลุ่ม
   7       ตรวจสอบความเรียบร้อย                                                                สมาชิกกลุ่ม
   8       นาเสนอโครงงาน                                                                       สมาชิกกลุ่ม

    ผลที่คาดว่าจะได้รบ
                     ั

    แหล่งอ้างอิง
            http://hilight.kapook.com/view/67028 [วันที่ค้นข้อมูล : 3 พ.ย. 2555]

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
Kruthai Kidsdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
pantiluck
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
pantiluck
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 phonics review
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 phonics reviewแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 phonics review
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 phonics review
pantiluck
 

La actualidad más candente (9)

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
 
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยการสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 phonics ee sound
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
 
หนังสือราชการ (ใหม่)
หนังสือราชการ (ใหม่)หนังสือราชการ (ใหม่)
หนังสือราชการ (ใหม่)
 
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 phonics ch sh sound
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 phonics review
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 phonics reviewแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 phonics review
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 phonics review
 

Destacado

โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
suparada
 
โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22
tangmottmm
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
Mymi Santikunnukan
 
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
Thitinun Phoawleeklee
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานพัฒนาเครื่องมือโครงงานพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
pim12582
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
Aungkana Na Na
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
พัน พัน
 

Destacado (7)

โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
 
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ความหมายโครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานพัฒนาเครื่องมือโครงงานพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
 

Similar a โครงงานคอม1

Pdca เขมร
Pdca เขมรPdca เขมร
Pdca เขมร
Itnog Kamix
 
โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์
ต. เตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
Sutasinee Jakaew
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
Sutasinee Jakaew
 
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
Abcz F-ang
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
Pignoi Chimpong
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
kruthirachetthapat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
itnogkamix
 

Similar a โครงงานคอม1 (20)

Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
3 lang
3 lang3 lang
3 lang
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 
Pdca เขมร
Pdca เขมรPdca เขมร
Pdca เขมร
 
โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
P pby abus
P pby abusP pby abus
P pby abus
 
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
1370228618
13702286181370228618
1370228618
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 

Más de suparada

โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
suparada
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
suparada
 
สังคม 53
สังคม 53สังคม 53
สังคม 53
suparada
 
วิทย์ 53
วิทย์ 53วิทย์ 53
วิทย์ 53
suparada
 
ไทย 53
ไทย 53ไทย 53
ไทย 53
suparada
 
คณิต 53
คณิต 53คณิต 53
คณิต 53
suparada
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
suparada
 

Más de suparada (20)

โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
K15.
K15.K15.
K15.
 
K14
K14K14
K14
 
22
2222
22
 
สังคม 53
สังคม 53สังคม 53
สังคม 53
 
วิทย์ 53
วิทย์ 53วิทย์ 53
วิทย์ 53
 
ไทย 53
ไทย 53ไทย 53
ไทย 53
 
คณิต 53
คณิต 53คณิต 53
คณิต 53
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Eng 2552
Eng 2552Eng 2552
Eng 2552
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Eng 2552
Eng 2552Eng 2552
Eng 2552
 
K11
K11K11
K11
 
K10
K10K10
K10
 
9
99
9
 
7
77
7
 
6
66
6
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
K11
K11K11
K11
 

โครงงานคอม1

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2555 ชื่อโครงงาน : ภาษาประจาอาเซียน ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ศุภรดา ฉัตรเงิน เลขที่ 7 ม.6/14 นางสาว ปิยมาศ สูงตรง เลขที่ 10 ม.6/14 นาย ภานุพงษ์ หมอเก่ง เลขที่ 15 ม.6/14 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
  • 2. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกกลุ่ม 1.นางสาว ศุภรดา ฉัตรเงิน เลขที่ 7 ม.6/14 2.นางสาว ปิยมาศ สูงตรง เลขที่ 10 ม.6/14 3.นาย ภานุพงษ์ หมอเก่ง เลขที่ 15 ม.6/14 ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : ภาษาประจาชาติอาเซียน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Language of 10 Asians counties ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาว ศุภรดา ฉัตรเงิน นางสาว ปิยมาศ สูงตรง นาย ภานุพงษ์ หมอเก่ง ชื่อที่ปรึกษา : นางเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2555 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน “ประชาคมอาเซียน” เป็นเป้าหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน เพือเพิมอานาจ ่ ่ ต่อรองและขีดความสามารถการแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศในทุกด้าน รวมถึงความสามารถใน การรับมือกับปัญหาใหม่ๆ ในระดับโลกที่สงผลกระทบมาถึงภูมิภาคอาเซียน เช่น ภาวะโลกร้อน การก่อการร้าย ่ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การเป็นประชาคมอาเซียน คือการทาให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเป็น “ครอบครัว เดียวกัน” ที่มีความแข็งแกร่งและมีภูมิต้านทานที่ดี โดยสมาชิกในครอบครัวมีสภาพความอยู่ที่ดี ปลอดภัย และ สามารถทามาค้าขายได้อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น
  • 3. แรงผลักดันสาคัญทีทาให้ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียนตกลงกันที่จัดตั้งประชาคมอาเซียน อันถือเป็น ่ การปรับปรุงตัวครั้งใหญ่และวางรากฐานของการพัฒนาของอาเซียน คือ สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศที่ เปลี่ยนแปลงไปทังในด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ที่ทาให้อาเซียนต้องเผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ เช่น ้ โรคระบาด อาชญากรรมข้ามชาติ ภัยพิบัติธรรมชาติ และปัญหาสิงแวดล้อม ภาวะโลกร้อน และความเสี่ยงที่ ่ อาเซียนอาจจะไม่สามารถแข่งขันทางเศรษฐกิจได้กับประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะจีนและอินเดีย ซึ่งมีอัตราการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดด หลักการและทฤษฎี ประเทศที่เป็นสมาชิกอาเซียน ประกอบด้วย 1. ประเทศไทย 2. ประเทศกัมพูชา 3. ประเทศบรูไน 4. ประเทศพม่า 5. ประเทศฟิลิปปินส์ 6. ประเทศสิงคโปร์ 7. ประเทศอินโดนีเซีย 8. ประเทศลาว 9. ประเทศมาเลเซีย 10. ประเทศเวียดนาม ภาษาประจาชาติในประเทศสมาชิกอาเซียน 1. .ประเทศไทย – ภาษาไทย ภาษาไทย เป็นภาษาทางการของประเทศไทย และภาษาแม่ของชาวไทย และชนเชื้อสายอื่นใน ประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไต ซึ่งเป็นกลุมย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ่ ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกาเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางท่านเสนอว่า ภาษาไทย น่าจะมีความเชื่อมโยงกับ ตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคาแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับ ภาษาจีน และออกเสียงแยกคาต่อ คา เป็นที่ลาบากของชาวต่างชาติเนื่องจาก การออกเสียงวรรณยุกต์ที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละคา และการ สะกดคาทีซับซ้อน นอกจากภาษากลางแล้ว ในประเทศไทยมีการใช้ ภาษาไทยถิ่นอื่นด้วย ่
  • 4. 2. ประเทศกัมพูชา – ภาษาเขมร ภาษาเขมร (ភាសាខ្មែរ ภาสาแขฺมร) เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซีย ติก และได้รับอิทธิพลมาจากภาษาสันสกฤต และภาษาบาลี พอสมควร ซึงอิทธิพลเหล่านี้ มาจาก ่ อิทธิพลของศาสนาพุทธ และศาสนาฮินดู ต่อวัฒนธรรมของชาวเขมร ในขณะที่อิทธิพลอื่นๆ เช่น จาก ภาษาไทย และภาษาลาว เป็นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาษา และความใกล้ชิดกันในทาง ภูมิศาสตร์ ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน (ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษา เวียดนาม) เนื่องจากไม่มีเสียงวรรณยุกต์ 3. ประเทศบรูไน, ประเทศมาเลเซีย - ภาษามาเลย์ ภาษามาเลย์ หรือ ภาษามลายู (มาเลย์: Bahasa Melayu) เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเชียน ที่ พูดโดยชนชาติมลายูซึ่งเป็นชนพื้นเมืองของคาบสมุทรมลายู ทางใต้ของประเทศไทย ประเทศ สิงคโปร์ และบางส่วนของเกาะสุมาตรา เป็นภาษาทางการของประเทศมาเลเซียและประเทศ บรูไน และเป็น 1 ใน 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ นอกจากนี้ยงใช้เป็นที่แพร่หลายใน ั ประเทศติมอร์ตะวันออก มาตรฐานอย่างเป็นทางการของภาษามลายูนั้น มีการตกลงร่วมกันระหว่าง อินโดนีเซีย มาเลเซีย และบรูไน ว่าใช้บาฮาซารีเยา (Bahasa Riau) เป็นมาตรฐาน อันเป็นภาษาของ หมู่เกาะรีเยา ซึ่งถือว่าเป็นต้นกาเนิดของภาษามลายูมาช้านาน 4. ประเทศพม่า – ภาษาพม่า ภาษาพม่า เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยู่ในในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อัน เป็นสาขาย่อยของตระกูลภาษาโดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป็นภาษาที่ สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศบังคลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศ ไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและ เขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง
  • 5. 5. .ประเทศฟิลิปปินส์ – ภาษาตากาล็อก ภาษาตากาล็อกเป็ นหนึ่ ง ในภาษาหลัก ของสาธารณรั ฐ ฟิลิ ป ปิน ส์ เป็นหนึ่ง ในตระกู ล ภาษา ออสโตรนีเ ซียน มี ความสัม พั น ธ์กั บ ภาษาอินโดนีเ ซีย ภาษามาเลย์ ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษา ฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามั ว ภาษาตาฮิติ ภาษาชามอร์โ ร ภาษาเตตุม และตระกู ล ภาษา ออสโตรนีเ ซียนในไต้ห วัน เป็นภาษาประจ าชาติ และภาษาราชการคู่กั บ ภาษาอัง กฤษในประเทศ ฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาษากลางภายในประเทศ มีผู้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ ภาษาอังกฤษ มากกว่า 6. ประเทศอินโดนีเซีย – ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตใน หลายด้าน เริ่มต้นด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่พูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วน น้อยที่พูดเป็นภาษาแม่ในบางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ ในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนืองจากเกิดคาที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ อยู่ ่ ตลอด การเรียนรู้ภาษาอินโดนีเซียเป็นประสบการณ์ที่ให้ผลตอบแทนแก่ชาวต่างชาติ เนื่องจากการ ออกเสียงและไวยากรณ์ค่อนข้างเรียบง่าย ความรู้เบื้องต้นทีจาเป็นสาหรับการสื่อสารประจาวัน ่ สามารถเรียนรู้ได้ในไม่กี่สปดาห์ ชื่อท้องถิ่นของภาษาอินโดนีเซียคือ บาฮาซา อินโดนีเซีย (Bahasa ั Indonesia) 7. ประเทศลาว – ภาษาลาว ภาษาลาว ภาษาราชการของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นภาษาที่มี วรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไต และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ ภาษาอีสานของประเทศไทยซึ้งเป็นสาเนียงหนึ่งของ ภาษาลาว ระบบการเขียนในภาษาลาว จะใช้อักษรลาว ซึ่งเป็นระบบอักษรสระประกอบ (ระบบการ เขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระทีจะอยู่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง ของ ่ พยัญชนะ) และสัมพันธ์ ใกล้ชิดกับ อักษรไทย 8. ประเทศเวียดนาม - ภาษาเวียดนาม ภาษาเวียดนาม (Tiếng Việt, Việt ngữ) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ และเป็นภาษาทางการของ ประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึง 87% รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนาม ประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนาม-อเมริกันเป็นจานวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืม คาศัพท์จากภาษาจีน และเดิมใช้อักษรจีนเขียน แต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้ เป็น ภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก ซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากทีสุด (10 เท่า ของภาษา ที่มี ่ จานวนคนพูดเป็นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น แต่ เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื๋อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษา
  • 6. เวียดนาม เรียกว่า "อักษรจื๋อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรโรมันที่พฒนาขึ้นโดยมิชชันนารี ั ชาวฝรั่งเศส โดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต์ 9. ประเทศสิงค์โปร - สิงคโปร์มีภาษาราชการถึง 4 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษามาเลย์ และทมิฬ โดยมีภาษามา เลย ์เป็น ภาษาประจาชาติ และภาษาอังกฤษที่ใช้ในวงการธุรกิจ และการศึกษา ส่วนภาษาจีนกลาง (แมนดา ริน) เป็นภาษาที่มการใช้ในการสื่อสารทาง สังคมมากที่สุด เนื่องจากประชากร ประกอบ ด้วยคนเชื้อชาติ จีน ี มากกว่าครึ่ง แต่มั่นใจได้แน่นอนว่า เกือบทุกคนพูดภาษาอังกฤษได้ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ ลาดับที่ ขั้นตอน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 1 เลือกหัวข้อโครงงาน   สมาชิกกลุ่ม 2 วางแผนการจัดทา    ปิยมาศ โครงงาน 3 ค้นคว้าและหาข้อมูล   ศุภรดา 4 นาข้อมูลที่ได้จัดทาตาม    ภานุพงศ์ แผนที่วางไว้ 5 ตรวจสอบข้อมูล   สมาชิกกลุ่ม 6 แก้ไข และปรับปรุง   สมาชิกกลุ่ม 7 ตรวจสอบความเรียบร้อย  สมาชิกกลุ่ม 8 นาเสนอโครงงาน  สมาชิกกลุ่ม ผลที่คาดว่าจะได้รบ ั แหล่งอ้างอิง http://hilight.kapook.com/view/67028 [วันที่ค้นข้อมูล : 3 พ.ย. 2555]