SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
บรรยายโดย
พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร,ดร.
หลักการสัมพันธ์บทกาลสัตตมี
วิภัตติ
กาลสัตตมีวิภัตติ ลงในอรรถ ๑๒ อย่าง เข้ากับนาม
บ้าง กิริยาบ้าง
 ๑. แปลว่า ใน เป็นที่กำาบัง,เป็นที่ปกปิด เรียก
ว่า ปฏิจฺฉนฺนาธาร
 อุ. กรณฺฑเก มณิ อตฺถิ.
 ป. อ. แก้วมณี มีอยู่ ใน ซอกเขา.
 ส. มณิ สยกตฺตา ใน อตฺถิ ๆ อาขยาตบท
 กตฺตุวาจก กรณฺฑเก ปฏิจฺฉนฺนาธาร ใน
อตฺถิ ฯ​
 ๒.แปลว่า ใน เป็นที่ซึมซาบ เรียกว่า พฺยาปิกาธาร
 อุ. ติเลสุ เตลำ อตฺถิ.
 ป. อ.นำ้ามัน มีอยู่ ในงา ท.
 ส. เตลำ สยกตฺตา ใน อตฺถิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก
 ติเลสุ พฺยาปิกาธาร ใน อตฺถิ ฯ
 ๓. แปลว่า ใน เป็นที่อยู่อาศัย เรียกว่า วิสยาธาร
 อุ. ชเล มจฺฉา โหติ.
 ป. อ.ปลา ย่อมอยู่ ในนำ้า ฯ
 ส. มจฺฉา สยกตฺตา ใน โหติ ๆ อาขยาตบท
 กตฺตุวาจก ชเล วิสยาธาร ใน โหติ​ ฯ
 ๔. แปลว่า ใกล้, ณ เป็นที่ใกล้เคียง เรียกว่า
สมีปาธาร
 อุ. นครทฺวาเร คามา ติฏฺฐนฺติ.
 ป. อ.บ้าน ท. ตั้งอยู่ ใกล้ ประตูแห่งพระนคร
ฯ
 ส. คามา สยกตฺตา ใน ติฏฺฐนฺติ ๆ อาขยาตบท
กตฺตุวาจก
 นครทฺวาเร สมีปาธาร ใน ติฏฺฐนฺติ
 ๕. แปลว่า อันว่า (อ.) ลงในอรรถปฐมาวิภัตติ
เป็นประธาน เรียกว่า สตฺตมีปจฺจตฺตสยกตฺตา
 อุ. อชฺช สตฺตโม ทิวโส (โหติ).
 ป.​ อ.วันนี้ เป็นวันที่ ๗ ย่อมเป็น ฯ
 ส. อชฺช สตฺตมีปจฺจตฺตสยกตฺตา ใน โหติ ๆ
อาขยาตบท กตฺตุวาจก
 สตฺตโม วิเสสน ของ ทิวโส ๆ วิกติกตฺตา
ใน โหติ ฯ
 ๖. แปลว่า ใน...หนา (ประโยคถอน) เรียกว่า
 นิทฺธารณ (มี นิทฺธารณีย รับ)
 อ. ทนฺโต เสฏฺโฐ มนุสฺเสสุ (โหติ)​.
 ป. อ._ในมนุษย์ ท.หนา _บุคคลผู้ที่ฝึกแล้ว
เป็นผู้
 ประเสริฐที่สุด ย่อมเป็น ฯ
 ส. ทนฺโต วิเสสน ของ ปุคฺคโล ๆ สยกตฺตา ใน
 โหติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก มนุสฺเสสุ
 นิทฺธารณ ใน ปุคฺคโล ๆ นิทฺธาณีย และ
 วิกติกตฺตา ใน โหติ ฯ
 ๗. แปลว่า ใน, ณ เกี่ยวกับกาลเวลา เรียกว่า
กาลสตฺตมี
 อุ. ตสฺมึ สมเย ภิกฺขู โหนฺติ​.
 ป. ในสมัยนั้น อ.ภิกฺษุ ท. ย่อมมี ฯ
 ส. ภิกฺขู สยกตฺตา ใน โหนฺติ ๆ อาขยาตบท
กตฺตุวาจก ตสฺมึ วิเสสน
 ของ สมเย ๆ กาลสตฺตมี ใน โหนฺติ ฯ
 ๘. แปลว่า ในเพราะ เป็นเครื่องหมาย เข้ากับ
นามบ้าง กิริยาบ้าง เรียกว่า นิมิตตสตฺตมี
 เข้ากับนาม
 อุ. การเณเนตฺถ ภวิตพฺพํ.
 ป. อันเหตุ ในเพราะเรื่องนี้ พึงมี ฯ
 ส. เอตฺถ วิเสสน ของ วตฺถุมฺหิ ๆ นิมิตฺตสตฺตมี
ใน การเณน ๆ
 อนภิหิตกตฺตา ใน ภวิตพฺพํ ๆ กิริยาบท
ภาววาจก​ ฯ
 ๙. แปลว่า ครั้นเมื่อ เป็นประธานในประโยค
แทรก เรียกว่า ลกฺขณ
 อุ. สุริเย อฏฺฐงฺคเต, จนฺโท อุคฺคจฺฉติ.
 ป. ครั้นเมื่อพระอาทิตย์ ตกแล้ว, อ.พระจันท์
ย่อมขึ้นมา ฯ
 ส. สุริเย ลกฺขณ ใน อฏฺฐงฺคเต ๆ ลกฺขณ
กิริยา,
 จนฺโท สยกตฺตา ใน อุคฺคจฺฉติ ๆ อาขยาต
บท กตฺตุวาจก ฯ
 ๑๐. แปลว่า เหนือ,บน, ที่ เป็นที่รองรับไว้
เรียกว่า อุปสิเลสิกาธาร
 อุ. สตฺถา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ.
 ป. อ.พระศาสดา ประทับนั่งแล้ว บนอาสนะ
อันบุคคลปูลาดแล้ว ฯ
 ส. สตฺถา สยกตฺตา ใน นิสีทิ ๆ อาขยาตบท
กตฺตุวาจก ปญฺญตฺเต
 วิเสสน ของ อาสเน ๆ อุปสิเลสิกาธาร ใน
นิสีทิ ฯ
 ๑๑. แปลว่า ใน เข้ากับนาม ไม่ลงในอรรถ
ไหน เรียกว่า ภินฺนาธาร
 อุ. อิมสฺมึ สรีเร สาโร อตฺถิ.
 ป. อ.สาระ ในสรีระ นี้ มีอยู่​ ฯ
 ส. สาโร สยกตฺตา ใน อตฺถิ ๆ อาขยาตบท
กตฺตุวาจก อิมสฺมึ วิเสสน
 ของ สรีเร ๆ ภินฺนาธาร ใน สาโร ฯ
 ๑๒. แปลว่า ใน เข้ากับกิริยา ไม่ลงในอรรถไหน
เรียกว่า อาธาร
 อุ. โย ทณฺเฑน อทณฺเฑสุ อปฺปทุฏฺเฐสุ (ขีณาสเว
สุ) ทุสฺสติ.
 ป. อ.บุคคล ใด ย่อมประทุษร้าย ในพระขีณาสพ
ท. ผู้ไม่มีอาชญา
 ด้วยอาชญา ผู้ไม่ประทุษร้ายแล้ว ฯ
 ส. โย วิเสสน ของ ปุคฺคโล ๆ สยกตฺตา ใน ทุสฺ
สติ ๆ อาขยาตบท
 กตฺตุวาจก ทณฺเฑน กรณ ใน ทุสฺสติ อทณฺเฑ
สุ ก็ดี อปฺปทุฏฺเฐสุ ก็ดี
 วิเสสน ของ ขีณาสเวสุ ๆ อาธาร ใน ทุสฺสติ ฯ
 อุ. เอตฺถ (สรีเร) อาพาโธ โอทหิโต.
 ป. อ. อาพาธ ตั้งลงแล้ว ใน สรีระ นี้ ฯ
 ส. อาพาโธ สยกตฺตา ใน โอทหิโต ๆ กิตบท
กตฺตุวาจ เอตฺถ วิเสสน
 ของ สรีเร ๆ อาธาร ใน โอทหิโต ฯ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
Anchalee BuddhaBucha
 
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
Anchalee BuddhaBucha
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
Tongsamut vorasan
 

La actualidad más candente (20)

คู่มือพระอุปัชฌาย์ (ฉบับย่อ) ปี ๖๓.pdf
คู่มือพระอุปัชฌาย์ (ฉบับย่อ) ปี ๖๓.pdfคู่มือพระอุปัชฌาย์ (ฉบับย่อ) ปี ๖๓.pdf
คู่มือพระอุปัชฌาย์ (ฉบับย่อ) ปี ๖๓.pdf
 
ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์
 
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
 
ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์
 
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
 
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
๒๑ มหาสมัยสูตร มจร.pdf
 
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติหลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 

Destacado

Destacado (20)

วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
หลักการเรียงบทวิกติกัตตา
หลักการเรียงบทวิกติกัตตาหลักการเรียงบทวิกติกัตตา
หลักการเรียงบทวิกติกัตตา
 
หลักการเรียงบทกิริยาคุมพากย์
หลักการเรียงบทกิริยาคุมพากย์หลักการเรียงบทกิริยาคุมพากย์
หลักการเรียงบทกิริยาคุมพากย์
 
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
หลักาการเรียงสัตตมีวิภัตติ
หลักาการเรียงสัตตมีวิภัตติหลักาการเรียงสัตตมีวิภัตติ
หลักาการเรียงสัตตมีวิภัตติ
 
หลักการเรียงบทกิริยาวิเสสนะ
หลักการเรียงบทกิริยาวิเสสนะหลักการเรียงบทกิริยาวิเสสนะ
หลักการเรียงบทกิริยาวิเสสนะ
 
บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑ บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑
 
บาลีไวยากรณ์ ๔
บาลีไวยากรณ์ ๔บาลีไวยากรณ์ ๔
บาลีไวยากรณ์ ๔
 
บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)
บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)
บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษพระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
 
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทยภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
 
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 

Similar a หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑

1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
Wataustin Austin
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
Tongsamut vorasan
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80
Rose Banioki
 
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
Tongsamut vorasan
 
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
Wataustin Austin
 
บาลี 05 80
บาลี 05 80บาลี 05 80
บาลี 05 80
Rose Banioki
 
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
Tongsamut vorasan
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
Tongsamut vorasan
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran Jarurnphong
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
Tongsamut vorasan
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
Wataustin Austin
 
บาลี 09 80
บาลี 09 80บาลี 09 80
บาลี 09 80
Rose Banioki
 
บาลี 36 80
บาลี 36 80บาลี 36 80
บาลี 36 80
Rose Banioki
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
Tongsamut vorasan
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
Wataustin Austin
 

Similar a หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑ (20)

1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80
 
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
 
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
 
บาลี 05 80
บาลี 05 80บาลี 05 80
บาลี 05 80
 
1 05 บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์
1 05 บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์1 05 บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์
1 05 บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์
 
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
 
อธิบายสมาส
อธิบายสมาสอธิบายสมาส
อธิบายสมาส
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
 
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _ หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _  หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการหลักการแปลบาลี 8 ประการ _  หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _ หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
 
บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑ บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
 
บาลี 09 80
บาลี 09 80บาลี 09 80
บาลี 09 80
 
บาลี 36 80
บาลี 36 80บาลี 36 80
บาลี 36 80
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 

Más de วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

Más de วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
 
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
จิตปรมัตถ์
จิตปรมัตถ์จิตปรมัตถ์
จิตปรมัตถ์
 

หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑

  • 2. กาลสัตตมีวิภัตติ ลงในอรรถ ๑๒ อย่าง เข้ากับนาม บ้าง กิริยาบ้าง  ๑. แปลว่า ใน เป็นที่กำาบัง,เป็นที่ปกปิด เรียก ว่า ปฏิจฺฉนฺนาธาร  อุ. กรณฺฑเก มณิ อตฺถิ.  ป. อ. แก้วมณี มีอยู่ ใน ซอกเขา.  ส. มณิ สยกตฺตา ใน อตฺถิ ๆ อาขยาตบท  กตฺตุวาจก กรณฺฑเก ปฏิจฺฉนฺนาธาร ใน อตฺถิ ฯ​
  • 3.  ๒.แปลว่า ใน เป็นที่ซึมซาบ เรียกว่า พฺยาปิกาธาร  อุ. ติเลสุ เตลำ อตฺถิ.  ป. อ.นำ้ามัน มีอยู่ ในงา ท.  ส. เตลำ สยกตฺตา ใน อตฺถิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก  ติเลสุ พฺยาปิกาธาร ใน อตฺถิ ฯ  ๓. แปลว่า ใน เป็นที่อยู่อาศัย เรียกว่า วิสยาธาร  อุ. ชเล มจฺฉา โหติ.  ป. อ.ปลา ย่อมอยู่ ในนำ้า ฯ  ส. มจฺฉา สยกตฺตา ใน โหติ ๆ อาขยาตบท  กตฺตุวาจก ชเล วิสยาธาร ใน โหติ​ ฯ
  • 4.  ๔. แปลว่า ใกล้, ณ เป็นที่ใกล้เคียง เรียกว่า สมีปาธาร  อุ. นครทฺวาเร คามา ติฏฺฐนฺติ.  ป. อ.บ้าน ท. ตั้งอยู่ ใกล้ ประตูแห่งพระนคร ฯ  ส. คามา สยกตฺตา ใน ติฏฺฐนฺติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก  นครทฺวาเร สมีปาธาร ใน ติฏฺฐนฺติ
  • 5.  ๕. แปลว่า อันว่า (อ.) ลงในอรรถปฐมาวิภัตติ เป็นประธาน เรียกว่า สตฺตมีปจฺจตฺตสยกตฺตา  อุ. อชฺช สตฺตโม ทิวโส (โหติ).  ป.​ อ.วันนี้ เป็นวันที่ ๗ ย่อมเป็น ฯ  ส. อชฺช สตฺตมีปจฺจตฺตสยกตฺตา ใน โหติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก  สตฺตโม วิเสสน ของ ทิวโส ๆ วิกติกตฺตา ใน โหติ ฯ
  • 6.  ๖. แปลว่า ใน...หนา (ประโยคถอน) เรียกว่า  นิทฺธารณ (มี นิทฺธารณีย รับ)  อ. ทนฺโต เสฏฺโฐ มนุสฺเสสุ (โหติ)​.  ป. อ._ในมนุษย์ ท.หนา _บุคคลผู้ที่ฝึกแล้ว เป็นผู้  ประเสริฐที่สุด ย่อมเป็น ฯ  ส. ทนฺโต วิเสสน ของ ปุคฺคโล ๆ สยกตฺตา ใน  โหติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก มนุสฺเสสุ  นิทฺธารณ ใน ปุคฺคโล ๆ นิทฺธาณีย และ  วิกติกตฺตา ใน โหติ ฯ
  • 7.  ๗. แปลว่า ใน, ณ เกี่ยวกับกาลเวลา เรียกว่า กาลสตฺตมี  อุ. ตสฺมึ สมเย ภิกฺขู โหนฺติ​.  ป. ในสมัยนั้น อ.ภิกฺษุ ท. ย่อมมี ฯ  ส. ภิกฺขู สยกตฺตา ใน โหนฺติ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก ตสฺมึ วิเสสน  ของ สมเย ๆ กาลสตฺตมี ใน โหนฺติ ฯ
  • 8.  ๘. แปลว่า ในเพราะ เป็นเครื่องหมาย เข้ากับ นามบ้าง กิริยาบ้าง เรียกว่า นิมิตตสตฺตมี  เข้ากับนาม  อุ. การเณเนตฺถ ภวิตพฺพํ.  ป. อันเหตุ ในเพราะเรื่องนี้ พึงมี ฯ  ส. เอตฺถ วิเสสน ของ วตฺถุมฺหิ ๆ นิมิตฺตสตฺตมี ใน การเณน ๆ  อนภิหิตกตฺตา ใน ภวิตพฺพํ ๆ กิริยาบท ภาววาจก​ ฯ
  • 9.  ๙. แปลว่า ครั้นเมื่อ เป็นประธานในประโยค แทรก เรียกว่า ลกฺขณ  อุ. สุริเย อฏฺฐงฺคเต, จนฺโท อุคฺคจฺฉติ.  ป. ครั้นเมื่อพระอาทิตย์ ตกแล้ว, อ.พระจันท์ ย่อมขึ้นมา ฯ  ส. สุริเย ลกฺขณ ใน อฏฺฐงฺคเต ๆ ลกฺขณ กิริยา,  จนฺโท สยกตฺตา ใน อุคฺคจฺฉติ ๆ อาขยาต บท กตฺตุวาจก ฯ
  • 10.  ๑๐. แปลว่า เหนือ,บน, ที่ เป็นที่รองรับไว้ เรียกว่า อุปสิเลสิกาธาร  อุ. สตฺถา ปญฺญตฺเต อาสเน นิสีทิ.  ป. อ.พระศาสดา ประทับนั่งแล้ว บนอาสนะ อันบุคคลปูลาดแล้ว ฯ  ส. สตฺถา สยกตฺตา ใน นิสีทิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก ปญฺญตฺเต  วิเสสน ของ อาสเน ๆ อุปสิเลสิกาธาร ใน นิสีทิ ฯ
  • 11.  ๑๑. แปลว่า ใน เข้ากับนาม ไม่ลงในอรรถ ไหน เรียกว่า ภินฺนาธาร  อุ. อิมสฺมึ สรีเร สาโร อตฺถิ.  ป. อ.สาระ ในสรีระ นี้ มีอยู่​ ฯ  ส. สาโร สยกตฺตา ใน อตฺถิ ๆ อาขยาตบท กตฺตุวาจก อิมสฺมึ วิเสสน  ของ สรีเร ๆ ภินฺนาธาร ใน สาโร ฯ
  • 12.  ๑๒. แปลว่า ใน เข้ากับกิริยา ไม่ลงในอรรถไหน เรียกว่า อาธาร  อุ. โย ทณฺเฑน อทณฺเฑสุ อปฺปทุฏฺเฐสุ (ขีณาสเว สุ) ทุสฺสติ.  ป. อ.บุคคล ใด ย่อมประทุษร้าย ในพระขีณาสพ ท. ผู้ไม่มีอาชญา  ด้วยอาชญา ผู้ไม่ประทุษร้ายแล้ว ฯ  ส. โย วิเสสน ของ ปุคฺคโล ๆ สยกตฺตา ใน ทุสฺ สติ ๆ อาขยาตบท  กตฺตุวาจก ทณฺเฑน กรณ ใน ทุสฺสติ อทณฺเฑ สุ ก็ดี อปฺปทุฏฺเฐสุ ก็ดี  วิเสสน ของ ขีณาสเวสุ ๆ อาธาร ใน ทุสฺสติ ฯ
  • 13.  อุ. เอตฺถ (สรีเร) อาพาโธ โอทหิโต.  ป. อ. อาพาธ ตั้งลงแล้ว ใน สรีระ นี้ ฯ  ส. อาพาโธ สยกตฺตา ใน โอทหิโต ๆ กิตบท กตฺตุวาจ เอตฺถ วิเสสน  ของ สรีเร ๆ อาธาร ใน โอทหิโต ฯ

Notas del editor

  1. This presentation demonstrates the new capabilities of PowerPoint and it is best viewed in Slide Show. These slides are designed to give you great ideas for the presentations you’ll create in PowerPoint 2011! For more sample templates, click the File menu, and then click New From Template. Under Templates, click Presentations.