SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 72
Descargar para leer sin conexión
ภูมิรัฐศาสตร์[Geopolitics]
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com
 ภูมิศาสตร์
 ภาวะประชากร
 ทรัพยากรธรรมชาติ
 ความเชื่อ ศาสนา ความจงรักภักดี
 ลักษณะประจาชาติ
 กาลังทหาร
 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีฯ
 เศรษฐกิจ
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 การศึกษา
 อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
National Powers
ภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics)
ที่ตั้ง ขนาด รูปร่าง ลักษณะภูมิประเทศ แนวพรมแดน ดิน
ฟ้าอากาศ ที่ตั้งทรัพยากร เส้นทางคมนาคม พรมแดน
National Interests
Vital, ,Important,
,Peripheral
Value and
National
Style
National Security Strategy
Personal, Social, National,
Regional,International
Global Actors, States, Non
states and Leaders
ประชาชน ดินแดน
รัฐบาล อานาจอธิปไตย
•Defenseof homeland
•Economic well-being
•Favorable world order
•Promotionof values
Model National Security Assessment : EKMODEL
Socio-Psychogical
Leadership
Political
EconomicMilitary
Sciences and
Technology
Resources
Geopolitics
ลักษณะนิสัยประจาชาติเป็นหัวใจ
ภาวะผู้นาก็จะเป็นมันสมอง
USSR
กรณีของพื้นที่อันกว้างใหญ่ไพศาลของรัสเซียทาให้ให้รอดพ้นจากการถูกรุกราน
แต่ต้องถูกลบศักดิ์ศรีลง เมื่อต้องทายุทธนาวีกับประเทศเล็กๆ อย่างญี่ปุ่น
Mongolia
China
EURASIA
สหรัฐอเมริกาและรัสเซีย
EURASIA
USA”ให้ความสาคัญกับภูมิภาค
East Asia,
Northeast Asia
South East Asia
Europe
Northeast
East Asia
South East Asia
Europe
Pivot Area
Mackinder’s Theory
• เป็นทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)
• ประเทศใดถ้ามีภูมิประเทศ หรือ สามารถยึดบริเวณจุดสาคัญ (Pivot Area)
หรือใจโลก (Heartland) แล้ว ประเทศนั้นก็จะเป็นผู้ครองอานาจอันสูงสุด
ดินแดนที่เป็นใจโลกตามแนวความคิดของแมคคินเดอร์คือ ดินแดนแถบทะเลบอล
ติค ทุ่งหญ้าสะเต็บตอนกลางของโซเวียต ปัจจุบันเป็นบริเวณที่เป็นทะเลน้าแข็ง
ตลอดปี ด้านเหนือเป็นมหาสมุทรอาร์คติคกับขั้วโลกเหนือ เป็นชัยภูมิเหมาะเพราะ
เรือเข้าไม่ถึง แม่น้าดานูบดนีเปอร์ เอเซียไมเนอร์ จีน ทิเบต และมองโกเลียจด
เอเซียใต้
รูปแบบการทาสงคราม
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
หนึ่งประเทศสองระบบ
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
รูปแบบของการใช้กาลังอานาจแต่ละยุคสมัย
DOMINO THEORY
Sir Halford Mackinder
Geopoliitika:Geopolitics
จานวนพลเมือง ทรัพยากร การเดินเรือ
Rimland Eurasia World
แนวคิด“ยุทธศาสตร์ขอบโลก”(Rimland Strategy)จะโต้แย้งกับ“ ยุทธศาสตร์ใจโลก ”
ใครสามารถครองบริเวณใจโลกได้ จะต้องครอบครองบริเวณดินแดนโดยรอบให้ได้ก่อน
การใช้กาลังอานาจทางเรือที่มีประสิทธิภาพเป็นหลัก ตามแนวคิดของมาฮานเรื่องสมุทธานุภาพ
แนวคิดนี้ได้รับการพิสูจน์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง พันธมิตรจัดตั้งกองกาลังในบริเวณพื้นที่ต่างๆ
ของโลกอย่างเป็นระบบ เพื่อป้องกันการเข้าครอบครองใจโลกของฝ่ายคอมมิวนิสต์
กาหนด ยุทธศาสตร์ใจโลก (Heartland Strategy)
“ ใครครองยุโรปตะวันออกได้จะเข้าควบคุมใจกลางของพื้นโลกได้
ผู้ใดครองใจกลางของพื้นโลกได้ จะสามารถควบคุมพื้นที่ส่วนต่างๆของโลกได้
และผู้ใดครองพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของโลกได้ ก็จะควบคุมโลกได้ในที่สุด”
สามารถควบคุมทรัพยากรทั้ง คน และวัตถุ ของโลกได้อย่างสมบูรณ์
มุมมองด้านภูมิรัฐศาสตร์
Heart Land and Rim Land Strategy
http://www.tortaharn.net/contents/index.php?option=com_content&task=view&id=63&Itemid=75&ccdate=6-2008
ประเทศ
ใต้
ประเทศต่างๆ
ช่องแคบมะละกา
• เรือขนาดใหญ่ ที่เดินเรือผ่านช่องแคบมะละกา แต่ละปีมีประมาณ 50,000 ลามีทั้ง
เรือบรรทุกน้ามัน เรือสินค้า บรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ เรือลากจูง เรือหาปลา เรือเฟอร์
รี่ เรือโดยสาร และเรือรบของประเทศต่างๆ จึงมีปัญหา สวล.จากน้ามันรั่ว
• เรือบรรทุกน้ามัน ร้อยละ 50 ของกองเรือบรรทุกน้ามันทั่วโลกต้องผ่านช่องแคบมะ
ละกา
• การค้าทางทะเล 1 ใน 4 ของโลกต้องผ่านช่องแคบมะละกา ส่วนที่แคบที่สุดกว้าง
เพียง 1.5 ไมล์ทะเลเท่านั้น
• ส่วนที่น้าตื้นที่สุดลึกเพียง 25 เมตรเท่านั้น
• จุดอ่อนของช่องแคบมะละกา หากกลุ่มก่อการร้ายโจมตีหรือยึดและทาลายเรือ
ขนาดใหญ่ในจุดดังกล่าวอาจทาให้การจราจรผ่านช่องแคบมะละกาต้องหยุดชะงัก
• เรือขนาดใหญ่ต้องเสียเวลาอ้อมเกาะอีกหลายวัน และค่าใช้จ่ายสูงขึ้น
ประเทศไทย : สนามบินอู่ตะเภา
• ในอดีตสหรัฐอเมริกาใช้สนามบินอู่ตะเภาเป็นฐานปฏิบัติทางทหารในการทาสงครามอินโด
จีน โจมตีกัมพูชา ลาว และเวียตนาม
• ปี 2517 นิสิตนักศึกษาประชาชนชุมนุมขับไล่ทหารอเมริกันให้ออกไปจากประเทศไทย
• ก่อนสึนามิที่อาเจะห์ อินโดนีเซีย ธันวาคม 2547 หนึ่งสัปดาห์ สหรัฐอเมริกันขอใช้อู่ตะเภา
นาฝูงบินมาลง
• ปี 2555 องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (นาซา) มาขอเช่าพื้นที่สนามบินอู่
ตะเภา เพื่อโครงการวิจัยชั้นบรรยากาศเป็นฐานในการตรวจสอบสภาพอากาศ และเตรียม
จะใช้สนามบินแห่งนี้เป็นศูนย์บรรเทาสาธารณภัยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(HDRC: Humanitarian and Disaster Relief Centre) เป็นศูนย์ที่ให้ความช่วยเหลือ
ด้านมนุษยธรรมและบรรเทาภัยพิบัติ
อดีตสนามบินอู่ตะเภา กองทัพทหารอเมริกันสร้างไว้ใช้ทาสงคราม
ในภูมิภาคเอเชีย กับเวียดนามเหนือ ลาว กัมพูชา
• พฤษภาคม 2558 สหรัฐขอไทยตั้งศูนย์อานวยการลาดตระเวนและ
ช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ที่ฐานทัพภูเก็ต เพื่อเป็นฐานปฏิบัติการใน
การบินสารวจและช่วยเหลือชาวโรฮิงยาที่ลอยเรือในทะเล ไทยปฏิเสธ
กลัวเป็นฐานสอดแนมจีนในทะเลจีนใต้
• กองทัพเรือไทยและกองทัพเรือสหรัฐ ได้จัดการฝึกปราบเรือดาน้า เพื่อ
เพิ่มพูนทักษะและประสบการณ์ในการปฏิบัติการของเรือดาน้า และการ
ปราบเรือดาน้าของทั้งสองประเทศ บริเวณทะเลอันดามัน
จุดยุทธศาสตร์รองของโลก
• ประเทศไทยมีที่ตั้งเป็นยุทธศาสตร์รอง เชื่อแน่ว่าดีมาก
หรือดีที่สุดก็ว่าได้ในภูมิภาค ทั้งอาเซียน เอเชีย และโลก
• นี้เห็นได้จากคนไปมาหาสู่ เที่ยวบิน การขนส่งทางบกทาง
น้าล้วนแล้วแต่เป็นศูนย์กลาง
• เราเป็นประเทศหากเทียบกับจีน รัฐเซีย อินเดีย เรามี
ทะเลและมหาสมุทรล้อมรอบ ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน
• เรามีชายฝั่งที่ติดทะเลยาวมากกว่าพม่า จังหวัดต่างๆติด
ทะเลถึง 30%
ประเทศที่มีความสัมพันธ์กับสหรัฐในภูมิภาคนี้
• ในอาเซียน เดิมประเทศฟิลิปปินส์ เป็นที่ตั้งกองทัพอเมริกา ในภายหลัง
ต้องถอนออกไป อเมริกันพยายามจะกลับเข้ามาใหม่
• ประเทศในอาเซียนที่ร่วมมือกับอเมริกันมากที่สุดคือสิงคโปร์ ด้าน
ตะวันออกของเอเชียคือ เกาหลีใต้ และ ญี่ปุ่น สหรัฐใช้สองประเทศนี้
เป็น Buffer Zone และในแปซิฟิกคือ ประเทศออสเตเลีย
• ประเทศไทย ?
TRUMP
นโยบายด้านการต่างประเทศของ โดนัลด์ ทรัมป์
• โลกเกิดภัยคุกคามและความเสี่ยง นโยบาย ตปท ของสหรัฐถูกก่อรูปมาจากคุณสมบัติ
ของผู้นาที่ทาต่อๆกันมา ที่ไม่มีความแน่นอน จะกาหนดแบ่งไปตามภูมิภาคและแต่ละ
ประเทศ ขึ้นอยู่กับผลประโยชน์และนโยบายของประเทศเป็นหลัก
• ทรัมป์ขึ้นมาครั้งนี้โลกคาดไม่ถึง และสิ่งที่คาดไม่ถึงจึงจะใช้ทฤษฎีใดมาวิเคราะห์ทรัมป์
ไม่ได้ มีความไม่แน่นอน เข้าใจยาก และไม่สามรถพยากรณ์ได้
• ไม่ค่อยพอใจกับพันธมิตรต่างประเทศ และต้องการละทิ้งมิตรประเทศเหล่านั้น
ต่อต้านข้อตกลงการค้า และต้องการใช้กาแพงภาษีและมาตรการลงโทษทางเศรษฐกิจ
เพื่อกอบกู้อเมริกาให้ขึ้นเป็นผู้นาใหม่
• ค่อนข้างโอนอ่อนต่อรัฐบาลอานาจนิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งรัสเซีย
• ห้ามประเทศ 7 ประเทศเข้าสหรัฐอเมริกา
• ตรวจอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ ประเทศเป้าหมายที่เป็นมุสลิมและสายการบินของ
ประเทศนั้น
นโยบาย Preemtive
• Bush Doctrine
• Obama Doctrine
• Trump Doctrine
• เขตหน้าของอเมริกันคือพื้นที่ต่างๆทั่วโลก
• ประธานาธิบดีคือผู้มีอานาจสูงสุดในการสั่ง
ใช้กองทัพ
• กลุ่มกาหนดนโยบายเริ่มไม่ไปด้วยกันเสียง
แตก
• Vietnam
• Lao
• Afganistan
• Iraq
• Syria
• Egypt
• ปฏิวัติมะลิขาว
• North Korea
• Iran
ประเทศมุสลิม
• ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ
• ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่
• ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย
• ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ
• ประเทศมุสลิมสายเคร่ง
• ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ
ประเทศมุสลิม
• ประเทศมุสลิมที่ปกครองระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ
(โมร็อกโก จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย)
• ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี)
• ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย
เลบานอน)
• ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จ
การ)
• ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า
Islamic Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าใน
ทศวรรษ ๑๙๘๐)
• ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศในบริเวณเอเชีย
กลางและคอเคซัสที่เคยรวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซัก
สถาน ทิกิร์เซีย และอาเซอร์ไบจาน)
• เรือ USS Albuquerque -SSN 706 กับ เรือ USS Frank Cable
-AS 40 เป็นเรือพี่เลี้ยงของกองกาลังแปซิฟิก เข้ามาในอ่าว
ไทยเมื่อ มี.ค.2556 เป็นเรือดาน้าสหรัฐลาที่ 2 ที่เข้ามาใน
อ่าวไทย ก่อนหน้านี้เรือ USS Buffalo - SSN715 ก็เข้าจอด
ที่ท่าเรือแหลมฉบัง
• สหรัฐฯ เคลื่อนย้ายกาลัง 60% สู่ภูมิภาคนี้ มีเรือดาน้าโจมตี
เร็วชั้น Los Angeles-Class ขนาด 6,000 ตัน ติดจรวดร่อน
โทมาฮอว์กสาหรับยิงโจมตีเป้าหมายภาคพื้นดินในรัศมีนับ
พันกิโลเมตร และติดจรวดฮาร์พูนยิงทาลายเรือรบข้าศึกบน
พื้นน้า เรือต่างๆจะใช้พลังงานนิวเคลียร์ เรือเหล่านี้มาฝึก
และซ่อมบารุงเรือดาน้า
• กลุ่มเรือนี้ออกมาจากฐานทัพซานดิเอโก รัฐแคลิฟอร์เนีย เมื่อ ม.ค.2556 เพื่อสนับสนุน
ความมั่นคงในย่านแปซิฟิกตะวันตก คือทะเลจีนใต้กับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทั้งหมด แวะเยือนเมืองท่าโยโกสุกะ (Yokosuka) ในญี่ปุ่น
• เรือ USS Los Angeles -SSN688 เป็นเรือนาเข้าประจาการปี 2519 ได้สร้างขึ้นมา
อีกรวมทั้งหมด 62 ลา จนถึงปี 2555 เหลือประจาการอยู่ 42 ลา อีก 18 ลารอปลด
ประจาการ และทาลายทิ้ง
กองเรือที่ 7 ของสหรัฐฯมีสานักงานใหญ่ที่โยะโกะซุกะ
(U.S. Fleet Activities Yokosuka) ประเทศญี่ปุ่น มีบางหน่วยมีฐานใน
ประเทศญี่ปุ่นและกวม เป็นส่วนหนึ่งของกองเรือแปซิฟิกสหรัฐ ปัจจุบัน
เป็นกองเรือสหรัฐวางกาลังส่วนหน้าที่ใหญ่ที่สุด มีเรือ 60 ถึง 70 ลา อากาศ
ยาน 300 ลา และกาลังพลกองทัพเรือและเหล่านาวิกโยธิน 40,000 นาย
• ชาวญี่ปุ่นร่วมแสดงจุดยืนต่อต้านการสร้างฐานทัพสหรัฐใน ‘โอกินาวา’ โดย
เรียกร้องให้ปิดและย้ายฐานทัพเดิมออกไป และยกเลิกแผนสร้างฐานทัพใหม่
• มีชาวญี่ปุ่น รวมตัวราว 35,000 คน ใน
สนามฟุตบอลของเขตนาฮะ เพื่อประท้วง
และแสดงจุดยืนให้สหรัฐปิดและ
เคลื่อนย้ายฐานทัพที่อยู่ในเขตฟูเตนมะ
• และให้ยกเลิกแผนสร้างฐานทัพ บริเวณ
ชายฝั่งในเขตนาโกะ ซึ่งทั้งหมดอยู่ใน
พื้นที่ของจังหวัดโอกินาวา
• เพื่อไปร่วมซ้อมรบกับกองกาลังออสเตรเลียตามกาหนดการเดิม และ
ขณะนี้กาลังเดินทางกลับโดยข้ามช่องแคบซุนดาของอินโดนีเซีย ซึ่งกั้น
กลางระหว่างเกาะชวาและเกาะสุมาตรา
• กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯผู้หนึ่งชี้แจงว่า ขณะนี้กองเรือโจมตีดังกล่าว
กาลังมุ่งหน้าไปยังคาบสมุทรเกาหลีตามที่ได้รับคาสั่งแล้ว และคาดว่า
จะเดินทางไปถึงแล้ว
• เรือบรรทุกเครื่องบิน ยูเอสเอส คาร์ล วิน
สัน ศูนย์กลางกองเรือโจมตีของสหรัฐฯ
ส่งไปประจาการในคาบสมุทรเกาหลี
• เรือ ยูเอสเอส คาร์ล วินสัน ออกเดินทาง
จากท่าเรือของสิงคโปร์แล่นผ่านช่อง
แคบซุนดาของอินโดนีเซียบไซต์
เกาะโอกินาวา ฐานทัพเรืออเมริกัน
• ญี่ปุ่น ยึดมาปี 1609 โดยตระกูล
Shimazu ปี 1879 โอกินาว่า ถูกผนวก
เป็นส่วนหนึ่งของญี่ปุ่น โดยสมบูรณ์
• เดิมเป็นประเทศที่มีเอกราชเป็นของตัวเอง
มาก่อนไม่ได้เป็นของทั้งจีนหรือญี่ปุ่น
• ญี่ปุ่นยึดมาแล้วอเมริกายึดไปอีกที อดีตคนญี่ปุ่นต้องใช้หนังสือเดิน
ทางเข้าโอกินาวาช่วงหนึ่ง
• ตอนนี้ยังมีชาวโอกินาวาบางส่วนที่ต้องการเรียกร้องเอกราชคืนแต่คง
ยาก
• แนวคิด "สมุทธานุภาพ“ ของ อัลเฟรด เทเยอร์ มาฮาน ในหนังสือ "อิทธิพลของส
มุททานุภาพ ในช่วงปี ค.ศ. 1660 - 1783" (The Influence of Sea Power Upon
History: 1660–1783)
• บทบาทกองทัพเรือและการขนส่งทางทะเลของกองทัพเรือทั้งหกของสหรัฐฯ
ควบคุมเสถียรภาพช่องทางการเดินเรือในโลก
GLOBAL CONFLICT
• Globalisation & Localisation
• Hard Power & Soft Power
• Americanization & Islamization
• Capitalism & Socialism
• High Technology & Low Technology
• Tangible & Intangible
• Physical & Mental or Spiritual
• National Resource
แนวคิดแบบ Hard Power
• ขาดความรู้ ความคิด และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
• การต่อสู้แบบตาต่อตา / ฟันต่อฟัน
• การใช้กาลังอานาจทางทหารไม่สามารถหยุดยั้ง Soft
Power ได้
• ภาคใต้มีการใช้แนวคิดตะวันตกมาใช้
แนวคิดแบบ Soft Power
• มีการการฆ่าตัดคอเผยแพร่ออกสื่อ Internet ของตะวันตก
• การถอนกาลังของพันธมิตรในอิรัก
• จิตสานึก ISLAM สากลกระทบต่อความมั่นคงโลก
• ปัญญาชนครูสอนศาสนามีการเผยแพร่แนวคิด ไปทุกเขตที่มีมุสลิมทั่วโลก
• มุสลิมหนุ่มสาวชนกลุ่มน้อยในประเทศต่างๆก่อตัว / มีความรุนแรงมากขึ้น
ในการเรียกร้องเอกลักษณ์ และลัทธิทางศาสนา วัฒนธรรมของตนเอง
• เรียกร้องแยกตัวเองเป็นรัฐอิสระของตน
• ประเทศที่ด้อยทางการจัดการปัญหาเชิงประวัติศาสตร์จะมีปัญหา
Alfred Thayer Mahan
นายพลเรือสหรัฐฯ ค.ศ. ๑๘๔๐ - ๑๙๑๔
บิดาแห่งกาลังอานาจทางทะเล
เป็นผู้บรรยายในวิทยาลัยการทัพเรือ
เขียนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฏีของการใช้กาลังอานาจทางเรือ
เสนอแนวคิดกาลังอานาจทางทะเล(Sea Power Strategy)
ครองเจ้าทะเล คุมเส้นทางเดินเรือ และแสวงหาทรัพยากรโพ้น
ทะเล
ซึ่งได้รับการยอมรับในผลงานยุทธศาสตร์ทางเรือ(Naval Strategy)
ยุทธศาสตร์ Sea Power21
 ปรับวางกาลังของกองทัพเรือสหรัฐฯโดยทบทวนยุทธศาสตร์
ปรับเปลี่ยนรูปแบบ จานวนและสถานที่ที่กาลังทหารของสหรัฐฯ
ประจาการอยู่ทั่วโลก
 กาหนดภัยคุกคามและยุทธศาสตร์ขึ้นใหม่ทั้งหมด มีการลงนามร่วม
ระหว่าง ผบ.ทร. และ ผบ.นย.และให้ กห.สหรัฐฯ อนุมัติแล้ว
ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯ
 กาหนดเป็นยุทธศาสตร์แบบ ๔-๒-๑
 สามารถยับยั้งภัยคุกคามได้ ๔ ภูมิภาค
 เอาชนะได้อย่างรวดเร็ว ๒ ภัยคุกคาม
 เอาชนะได้อย่างเด็ดขาด อย่างน้อย ๑ ใน ๒ ภัยคุกคาม
การพัฒนากองทัพสหรัฐฯ
 ปรับกองเรือจาก ๑๙ กองเรือ เป็น ๓๗ กองเรือ มีขีดความสามารถใน
การทาการรบในทุกภูมิภาคทั่วโลก
 ให้ความสาคัญกับขีดความสามารถของหน่วยปฏิบัติการพิเศษ
(Special Force)
 มีการปรับปรุงเรือดาน้า Nuclear ชั้น Ohio Class ซึ่งจากเดิมมีการ
ติดตั้งขีปนาวุธ Nuclear มาเป็นติดตั้งอาวุธปล่อยแบบ Tomahawk
และสามารถส่งหน่วย Special Force ขึ้นปฏิบัติการบนฝั่งได้
ยุทธศาสตร์ทหารของสหรัฐ
Strategic Defense Mobile Forces
Bases Places
Hard Power Soft Power Smart Power
แนวคิด Sea Basing
 สร้างฐานทัพหน้าในแผ่นดินตนเอง ใช้กาลังเคลื่อนที่เร็ว ลดการ
พึ่งพาชาติอื่น
 วางกาลังและฐานทัพ ฐานส่งกาลังบารุงต่าง ๆ ไว้ทั่วโลก
 วางกาลังใหม่ของ ทร.สหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก ลด
กาลังทหารประจาการในเกาหลีใต้ จานวน ๑ ใน ๓ เหลือ
๑๒,๕๐๐ คน จากเดิม ๓๗,๕๐๐ คน
 ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ยากที่จะประเมินทิศทางและเป้าหมายที่
ชัดเจน
 ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯเน้นการสร้างความร่วมมือจากชาติ
พันธมิตร ในการเข้าจัดการกับภัยคุกคามตามภูมิภาคต่าง ๆ
ยุทธศาสตร์ Sea Power21
 ปรับวางกาลังของกองทัพเรือสหรัฐฯโดยทบทวนยุทธศาสตร์
ปรับเปลี่ยนรูปแบบ จานวนและสถานที่ที่กาลังทหารของ
สหรัฐฯประจาการอยู่ทั่วโลก
 กาหนดภัยคุกคามและยุทธศาสตร์ขึ้นใหม่ทั้งหมด มีการลงนาม
ร่วมระหว่าง ผบ.ทร. และ ผบ.นย.และให้ กระทรวงกลาโหมฯ
อนุมัติ
กรอบแนวความคิดของ Sea Power 21
 Sea Shield การป้องกันจากทะเล ปกป้องแผ่นดินแม่ มีการป้องกัน Air
Missile Theater, Air Missile Defense และการป้องกันภัยคุกคามทั้ง 3 มิติ
 Sea Strike การโจมตีจากทะเล
 Sea Basing ฐานปฏิบัติการจากทะเลที่ใช้ในการบัญชาการรบ
 Sea Trial คือ จะต้องมีการฝึกและทดสอบจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีใหม่
ๆ และวางแนวความคิดในการปฎิบัติการ
 Sea Warrior การอบรมและพัฒนาคุณภาพของกาลังพลทางเรือ
 Sea Enterprise การตรวจสอบเพื่อปรับปรุงการปฎิบัติภารกิจของกองทัพให้มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
Maritime Prepositioning Force (Future) MPF(F) / Seabase
National Security Strategy and Economic Strategy
 Raw Material
 Product & Container
 Money
 Man
องค์การเดินเรือระหว่างประเทศ (International Maritime Organization-IMO)
 เป็นหน่วยงาน UN รับรองมาตรการต่อต้านการก่อการร้ายทางทะเลที่เรียกว่า
The International Ship and Port Facility Code (ISPS CODE) เมื่อ
ปี 2545
 กาหนดให้ประเทศสมาชิกที่รับรองมาตรการนี้ 146 ประเทศ เพิ่มการรักษาความ
ปลอดภัยการเดินเรือเพื่อป้องกันการก่อการร้าย
 กาหนดให้เรือที่มีระวางตั้งแต่ 300-50,000 ตัน ต้องติดตั้งระบบ Automatic
Information System ภายใน 31 ธันวาคม 2547
 กาหนดให้เรือทุกลาต้องติดตั้งระบบเตือนภัยให้เจ้าหน้าที่บนฝั่งทราบถึงชื่อเรือ
สถานที่ตั้ง และปัญหาด้านความปลอดภัย
 กาหนดให้ท่าเรือมีการประเมินความปลอดภัยของท่าเรือ และจัดทาแผนรักษา
ความปลอดภัยสถานที่
 เรือที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบจะไม่ได้รับใบประกาศความปลอดภัยการเดินเรือ
ระหว่างประเทศ(International Ship Security Certificate) ซึ่งจะทาให้
ไม่สามารถจอดเข้าท่าเทียบเรือของประเทศสมาชิก IMO ได้
A Publication by
www.knowtheprophet.com
70
A Publication by
www.knowtheprophet.com
71
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com

Más contenido relacionado

Más de Taraya Srivilas

นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

Más de Taraya Srivilas (20)

นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

American first muslim

  • 1. ภูมิรัฐศาสตร์[Geopolitics] โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า www.elifesara.com
  • 2.  ภูมิศาสตร์  ภาวะประชากร  ทรัพยากรธรรมชาติ  ความเชื่อ ศาสนา ความจงรักภักดี  ลักษณะประจาชาติ  กาลังทหาร  วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีฯ  เศรษฐกิจ  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ  การศึกษา  อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา National Powers ภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics) ที่ตั้ง ขนาด รูปร่าง ลักษณะภูมิประเทศ แนวพรมแดน ดิน ฟ้าอากาศ ที่ตั้งทรัพยากร เส้นทางคมนาคม พรมแดน National Interests Vital, ,Important, ,Peripheral Value and National Style National Security Strategy Personal, Social, National, Regional,International Global Actors, States, Non states and Leaders ประชาชน ดินแดน รัฐบาล อานาจอธิปไตย •Defenseof homeland •Economic well-being •Favorable world order •Promotionof values Model National Security Assessment : EKMODEL
  • 9.
  • 10. Mackinder’s Theory • เป็นทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) • ประเทศใดถ้ามีภูมิประเทศ หรือ สามารถยึดบริเวณจุดสาคัญ (Pivot Area) หรือใจโลก (Heartland) แล้ว ประเทศนั้นก็จะเป็นผู้ครองอานาจอันสูงสุด ดินแดนที่เป็นใจโลกตามแนวความคิดของแมคคินเดอร์คือ ดินแดนแถบทะเลบอล ติค ทุ่งหญ้าสะเต็บตอนกลางของโซเวียต ปัจจุบันเป็นบริเวณที่เป็นทะเลน้าแข็ง ตลอดปี ด้านเหนือเป็นมหาสมุทรอาร์คติคกับขั้วโลกเหนือ เป็นชัยภูมิเหมาะเพราะ เรือเข้าไม่ถึง แม่น้าดานูบดนีเปอร์ เอเซียไมเนอร์ จีน ทิเบต และมองโกเลียจด เอเซียใต้
  • 14. จานวนพลเมือง ทรัพยากร การเดินเรือ Rimland Eurasia World แนวคิด“ยุทธศาสตร์ขอบโลก”(Rimland Strategy)จะโต้แย้งกับ“ ยุทธศาสตร์ใจโลก ” ใครสามารถครองบริเวณใจโลกได้ จะต้องครอบครองบริเวณดินแดนโดยรอบให้ได้ก่อน การใช้กาลังอานาจทางเรือที่มีประสิทธิภาพเป็นหลัก ตามแนวคิดของมาฮานเรื่องสมุทธานุภาพ แนวคิดนี้ได้รับการพิสูจน์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง พันธมิตรจัดตั้งกองกาลังในบริเวณพื้นที่ต่างๆ ของโลกอย่างเป็นระบบ เพื่อป้องกันการเข้าครอบครองใจโลกของฝ่ายคอมมิวนิสต์
  • 15. กาหนด ยุทธศาสตร์ใจโลก (Heartland Strategy) “ ใครครองยุโรปตะวันออกได้จะเข้าควบคุมใจกลางของพื้นโลกได้ ผู้ใดครองใจกลางของพื้นโลกได้ จะสามารถควบคุมพื้นที่ส่วนต่างๆของโลกได้ และผู้ใดครองพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของโลกได้ ก็จะควบคุมโลกได้ในที่สุด” สามารถควบคุมทรัพยากรทั้ง คน และวัตถุ ของโลกได้อย่างสมบูรณ์
  • 16. มุมมองด้านภูมิรัฐศาสตร์ Heart Land and Rim Land Strategy http://www.tortaharn.net/contents/index.php?option=com_content&task=view&id=63&Itemid=75&ccdate=6-2008
  • 17.
  • 18.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24. ช่องแคบมะละกา • เรือขนาดใหญ่ ที่เดินเรือผ่านช่องแคบมะละกา แต่ละปีมีประมาณ 50,000 ลามีทั้ง เรือบรรทุกน้ามัน เรือสินค้า บรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ เรือลากจูง เรือหาปลา เรือเฟอร์ รี่ เรือโดยสาร และเรือรบของประเทศต่างๆ จึงมีปัญหา สวล.จากน้ามันรั่ว • เรือบรรทุกน้ามัน ร้อยละ 50 ของกองเรือบรรทุกน้ามันทั่วโลกต้องผ่านช่องแคบมะ ละกา • การค้าทางทะเล 1 ใน 4 ของโลกต้องผ่านช่องแคบมะละกา ส่วนที่แคบที่สุดกว้าง เพียง 1.5 ไมล์ทะเลเท่านั้น • ส่วนที่น้าตื้นที่สุดลึกเพียง 25 เมตรเท่านั้น • จุดอ่อนของช่องแคบมะละกา หากกลุ่มก่อการร้ายโจมตีหรือยึดและทาลายเรือ ขนาดใหญ่ในจุดดังกล่าวอาจทาให้การจราจรผ่านช่องแคบมะละกาต้องหยุดชะงัก • เรือขนาดใหญ่ต้องเสียเวลาอ้อมเกาะอีกหลายวัน และค่าใช้จ่ายสูงขึ้น
  • 25. ประเทศไทย : สนามบินอู่ตะเภา • ในอดีตสหรัฐอเมริกาใช้สนามบินอู่ตะเภาเป็นฐานปฏิบัติทางทหารในการทาสงครามอินโด จีน โจมตีกัมพูชา ลาว และเวียตนาม • ปี 2517 นิสิตนักศึกษาประชาชนชุมนุมขับไล่ทหารอเมริกันให้ออกไปจากประเทศไทย • ก่อนสึนามิที่อาเจะห์ อินโดนีเซีย ธันวาคม 2547 หนึ่งสัปดาห์ สหรัฐอเมริกันขอใช้อู่ตะเภา นาฝูงบินมาลง • ปี 2555 องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (นาซา) มาขอเช่าพื้นที่สนามบินอู่ ตะเภา เพื่อโครงการวิจัยชั้นบรรยากาศเป็นฐานในการตรวจสอบสภาพอากาศ และเตรียม จะใช้สนามบินแห่งนี้เป็นศูนย์บรรเทาสาธารณภัยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (HDRC: Humanitarian and Disaster Relief Centre) เป็นศูนย์ที่ให้ความช่วยเหลือ ด้านมนุษยธรรมและบรรเทาภัยพิบัติ
  • 27. • พฤษภาคม 2558 สหรัฐขอไทยตั้งศูนย์อานวยการลาดตระเวนและ ช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ที่ฐานทัพภูเก็ต เพื่อเป็นฐานปฏิบัติการใน การบินสารวจและช่วยเหลือชาวโรฮิงยาที่ลอยเรือในทะเล ไทยปฏิเสธ กลัวเป็นฐานสอดแนมจีนในทะเลจีนใต้ • กองทัพเรือไทยและกองทัพเรือสหรัฐ ได้จัดการฝึกปราบเรือดาน้า เพื่อ เพิ่มพูนทักษะและประสบการณ์ในการปฏิบัติการของเรือดาน้า และการ ปราบเรือดาน้าของทั้งสองประเทศ บริเวณทะเลอันดามัน
  • 28.
  • 29. จุดยุทธศาสตร์รองของโลก • ประเทศไทยมีที่ตั้งเป็นยุทธศาสตร์รอง เชื่อแน่ว่าดีมาก หรือดีที่สุดก็ว่าได้ในภูมิภาค ทั้งอาเซียน เอเชีย และโลก • นี้เห็นได้จากคนไปมาหาสู่ เที่ยวบิน การขนส่งทางบกทาง น้าล้วนแล้วแต่เป็นศูนย์กลาง • เราเป็นประเทศหากเทียบกับจีน รัฐเซีย อินเดีย เรามี ทะเลและมหาสมุทรล้อมรอบ ทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน • เรามีชายฝั่งที่ติดทะเลยาวมากกว่าพม่า จังหวัดต่างๆติด ทะเลถึง 30%
  • 30. ประเทศที่มีความสัมพันธ์กับสหรัฐในภูมิภาคนี้ • ในอาเซียน เดิมประเทศฟิลิปปินส์ เป็นที่ตั้งกองทัพอเมริกา ในภายหลัง ต้องถอนออกไป อเมริกันพยายามจะกลับเข้ามาใหม่ • ประเทศในอาเซียนที่ร่วมมือกับอเมริกันมากที่สุดคือสิงคโปร์ ด้าน ตะวันออกของเอเชียคือ เกาหลีใต้ และ ญี่ปุ่น สหรัฐใช้สองประเทศนี้ เป็น Buffer Zone และในแปซิฟิกคือ ประเทศออสเตเลีย • ประเทศไทย ?
  • 31. TRUMP
  • 32. นโยบายด้านการต่างประเทศของ โดนัลด์ ทรัมป์ • โลกเกิดภัยคุกคามและความเสี่ยง นโยบาย ตปท ของสหรัฐถูกก่อรูปมาจากคุณสมบัติ ของผู้นาที่ทาต่อๆกันมา ที่ไม่มีความแน่นอน จะกาหนดแบ่งไปตามภูมิภาคและแต่ละ ประเทศ ขึ้นอยู่กับผลประโยชน์และนโยบายของประเทศเป็นหลัก • ทรัมป์ขึ้นมาครั้งนี้โลกคาดไม่ถึง และสิ่งที่คาดไม่ถึงจึงจะใช้ทฤษฎีใดมาวิเคราะห์ทรัมป์ ไม่ได้ มีความไม่แน่นอน เข้าใจยาก และไม่สามรถพยากรณ์ได้ • ไม่ค่อยพอใจกับพันธมิตรต่างประเทศ และต้องการละทิ้งมิตรประเทศเหล่านั้น ต่อต้านข้อตกลงการค้า และต้องการใช้กาแพงภาษีและมาตรการลงโทษทางเศรษฐกิจ เพื่อกอบกู้อเมริกาให้ขึ้นเป็นผู้นาใหม่ • ค่อนข้างโอนอ่อนต่อรัฐบาลอานาจนิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งรัสเซีย • ห้ามประเทศ 7 ประเทศเข้าสหรัฐอเมริกา • ตรวจอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ ประเทศเป้าหมายที่เป็นมุสลิมและสายการบินของ ประเทศนั้น
  • 33.
  • 34.
  • 35. นโยบาย Preemtive • Bush Doctrine • Obama Doctrine • Trump Doctrine • เขตหน้าของอเมริกันคือพื้นที่ต่างๆทั่วโลก • ประธานาธิบดีคือผู้มีอานาจสูงสุดในการสั่ง ใช้กองทัพ • กลุ่มกาหนดนโยบายเริ่มไม่ไปด้วยกันเสียง แตก • Vietnam • Lao • Afganistan • Iraq • Syria • Egypt • ปฏิวัติมะลิขาว • North Korea • Iran
  • 36. ประเทศมุสลิม • ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะ สมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ • ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่ • ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย • ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ • ประเทศมุสลิมสายเคร่ง • ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ
  • 37. ประเทศมุสลิม • ประเทศมุสลิมที่ปกครองระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ (โมร็อกโก จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย) • ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี) • ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย เลบานอน) • ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จ การ) • ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า Islamic Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าใน ทศวรรษ ๑๙๘๐) • ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศในบริเวณเอเชีย กลางและคอเคซัสที่เคยรวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซัก สถาน ทิกิร์เซีย และอาเซอร์ไบจาน)
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41. • เรือ USS Albuquerque -SSN 706 กับ เรือ USS Frank Cable -AS 40 เป็นเรือพี่เลี้ยงของกองกาลังแปซิฟิก เข้ามาในอ่าว ไทยเมื่อ มี.ค.2556 เป็นเรือดาน้าสหรัฐลาที่ 2 ที่เข้ามาใน อ่าวไทย ก่อนหน้านี้เรือ USS Buffalo - SSN715 ก็เข้าจอด ที่ท่าเรือแหลมฉบัง • สหรัฐฯ เคลื่อนย้ายกาลัง 60% สู่ภูมิภาคนี้ มีเรือดาน้าโจมตี เร็วชั้น Los Angeles-Class ขนาด 6,000 ตัน ติดจรวดร่อน โทมาฮอว์กสาหรับยิงโจมตีเป้าหมายภาคพื้นดินในรัศมีนับ พันกิโลเมตร และติดจรวดฮาร์พูนยิงทาลายเรือรบข้าศึกบน พื้นน้า เรือต่างๆจะใช้พลังงานนิวเคลียร์ เรือเหล่านี้มาฝึก และซ่อมบารุงเรือดาน้า • กลุ่มเรือนี้ออกมาจากฐานทัพซานดิเอโก รัฐแคลิฟอร์เนีย เมื่อ ม.ค.2556 เพื่อสนับสนุน ความมั่นคงในย่านแปซิฟิกตะวันตก คือทะเลจีนใต้กับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งหมด แวะเยือนเมืองท่าโยโกสุกะ (Yokosuka) ในญี่ปุ่น • เรือ USS Los Angeles -SSN688 เป็นเรือนาเข้าประจาการปี 2519 ได้สร้างขึ้นมา อีกรวมทั้งหมด 62 ลา จนถึงปี 2555 เหลือประจาการอยู่ 42 ลา อีก 18 ลารอปลด ประจาการ และทาลายทิ้ง
  • 42. กองเรือที่ 7 ของสหรัฐฯมีสานักงานใหญ่ที่โยะโกะซุกะ (U.S. Fleet Activities Yokosuka) ประเทศญี่ปุ่น มีบางหน่วยมีฐานใน ประเทศญี่ปุ่นและกวม เป็นส่วนหนึ่งของกองเรือแปซิฟิกสหรัฐ ปัจจุบัน เป็นกองเรือสหรัฐวางกาลังส่วนหน้าที่ใหญ่ที่สุด มีเรือ 60 ถึง 70 ลา อากาศ ยาน 300 ลา และกาลังพลกองทัพเรือและเหล่านาวิกโยธิน 40,000 นาย
  • 43. • ชาวญี่ปุ่นร่วมแสดงจุดยืนต่อต้านการสร้างฐานทัพสหรัฐใน ‘โอกินาวา’ โดย เรียกร้องให้ปิดและย้ายฐานทัพเดิมออกไป และยกเลิกแผนสร้างฐานทัพใหม่ • มีชาวญี่ปุ่น รวมตัวราว 35,000 คน ใน สนามฟุตบอลของเขตนาฮะ เพื่อประท้วง และแสดงจุดยืนให้สหรัฐปิดและ เคลื่อนย้ายฐานทัพที่อยู่ในเขตฟูเตนมะ • และให้ยกเลิกแผนสร้างฐานทัพ บริเวณ ชายฝั่งในเขตนาโกะ ซึ่งทั้งหมดอยู่ใน พื้นที่ของจังหวัดโอกินาวา
  • 44. • เพื่อไปร่วมซ้อมรบกับกองกาลังออสเตรเลียตามกาหนดการเดิม และ ขณะนี้กาลังเดินทางกลับโดยข้ามช่องแคบซุนดาของอินโดนีเซีย ซึ่งกั้น กลางระหว่างเกาะชวาและเกาะสุมาตรา • กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯผู้หนึ่งชี้แจงว่า ขณะนี้กองเรือโจมตีดังกล่าว กาลังมุ่งหน้าไปยังคาบสมุทรเกาหลีตามที่ได้รับคาสั่งแล้ว และคาดว่า จะเดินทางไปถึงแล้ว • เรือบรรทุกเครื่องบิน ยูเอสเอส คาร์ล วิน สัน ศูนย์กลางกองเรือโจมตีของสหรัฐฯ ส่งไปประจาการในคาบสมุทรเกาหลี • เรือ ยูเอสเอส คาร์ล วินสัน ออกเดินทาง จากท่าเรือของสิงคโปร์แล่นผ่านช่อง แคบซุนดาของอินโดนีเซียบไซต์
  • 45. เกาะโอกินาวา ฐานทัพเรืออเมริกัน • ญี่ปุ่น ยึดมาปี 1609 โดยตระกูล Shimazu ปี 1879 โอกินาว่า ถูกผนวก เป็นส่วนหนึ่งของญี่ปุ่น โดยสมบูรณ์ • เดิมเป็นประเทศที่มีเอกราชเป็นของตัวเอง มาก่อนไม่ได้เป็นของทั้งจีนหรือญี่ปุ่น • ญี่ปุ่นยึดมาแล้วอเมริกายึดไปอีกที อดีตคนญี่ปุ่นต้องใช้หนังสือเดิน ทางเข้าโอกินาวาช่วงหนึ่ง • ตอนนี้ยังมีชาวโอกินาวาบางส่วนที่ต้องการเรียกร้องเอกราชคืนแต่คง ยาก
  • 46.
  • 47. • แนวคิด "สมุทธานุภาพ“ ของ อัลเฟรด เทเยอร์ มาฮาน ในหนังสือ "อิทธิพลของส มุททานุภาพ ในช่วงปี ค.ศ. 1660 - 1783" (The Influence of Sea Power Upon History: 1660–1783) • บทบาทกองทัพเรือและการขนส่งทางทะเลของกองทัพเรือทั้งหกของสหรัฐฯ ควบคุมเสถียรภาพช่องทางการเดินเรือในโลก
  • 48. GLOBAL CONFLICT • Globalisation & Localisation • Hard Power & Soft Power • Americanization & Islamization • Capitalism & Socialism • High Technology & Low Technology • Tangible & Intangible • Physical & Mental or Spiritual • National Resource
  • 49. แนวคิดแบบ Hard Power • ขาดความรู้ ความคิด และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน • การต่อสู้แบบตาต่อตา / ฟันต่อฟัน • การใช้กาลังอานาจทางทหารไม่สามารถหยุดยั้ง Soft Power ได้ • ภาคใต้มีการใช้แนวคิดตะวันตกมาใช้
  • 50. แนวคิดแบบ Soft Power • มีการการฆ่าตัดคอเผยแพร่ออกสื่อ Internet ของตะวันตก • การถอนกาลังของพันธมิตรในอิรัก • จิตสานึก ISLAM สากลกระทบต่อความมั่นคงโลก • ปัญญาชนครูสอนศาสนามีการเผยแพร่แนวคิด ไปทุกเขตที่มีมุสลิมทั่วโลก • มุสลิมหนุ่มสาวชนกลุ่มน้อยในประเทศต่างๆก่อตัว / มีความรุนแรงมากขึ้น ในการเรียกร้องเอกลักษณ์ และลัทธิทางศาสนา วัฒนธรรมของตนเอง • เรียกร้องแยกตัวเองเป็นรัฐอิสระของตน • ประเทศที่ด้อยทางการจัดการปัญหาเชิงประวัติศาสตร์จะมีปัญหา
  • 51.
  • 52. Alfred Thayer Mahan นายพลเรือสหรัฐฯ ค.ศ. ๑๘๔๐ - ๑๙๑๔ บิดาแห่งกาลังอานาจทางทะเล เป็นผู้บรรยายในวิทยาลัยการทัพเรือ เขียนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฏีของการใช้กาลังอานาจทางเรือ เสนอแนวคิดกาลังอานาจทางทะเล(Sea Power Strategy) ครองเจ้าทะเล คุมเส้นทางเดินเรือ และแสวงหาทรัพยากรโพ้น ทะเล ซึ่งได้รับการยอมรับในผลงานยุทธศาสตร์ทางเรือ(Naval Strategy)
  • 53. ยุทธศาสตร์ Sea Power21  ปรับวางกาลังของกองทัพเรือสหรัฐฯโดยทบทวนยุทธศาสตร์ ปรับเปลี่ยนรูปแบบ จานวนและสถานที่ที่กาลังทหารของสหรัฐฯ ประจาการอยู่ทั่วโลก  กาหนดภัยคุกคามและยุทธศาสตร์ขึ้นใหม่ทั้งหมด มีการลงนามร่วม ระหว่าง ผบ.ทร. และ ผบ.นย.และให้ กห.สหรัฐฯ อนุมัติแล้ว
  • 54. ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯ  กาหนดเป็นยุทธศาสตร์แบบ ๔-๒-๑  สามารถยับยั้งภัยคุกคามได้ ๔ ภูมิภาค  เอาชนะได้อย่างรวดเร็ว ๒ ภัยคุกคาม  เอาชนะได้อย่างเด็ดขาด อย่างน้อย ๑ ใน ๒ ภัยคุกคาม
  • 55. การพัฒนากองทัพสหรัฐฯ  ปรับกองเรือจาก ๑๙ กองเรือ เป็น ๓๗ กองเรือ มีขีดความสามารถใน การทาการรบในทุกภูมิภาคทั่วโลก  ให้ความสาคัญกับขีดความสามารถของหน่วยปฏิบัติการพิเศษ (Special Force)  มีการปรับปรุงเรือดาน้า Nuclear ชั้น Ohio Class ซึ่งจากเดิมมีการ ติดตั้งขีปนาวุธ Nuclear มาเป็นติดตั้งอาวุธปล่อยแบบ Tomahawk และสามารถส่งหน่วย Special Force ขึ้นปฏิบัติการบนฝั่งได้
  • 57. แนวคิด Sea Basing  สร้างฐานทัพหน้าในแผ่นดินตนเอง ใช้กาลังเคลื่อนที่เร็ว ลดการ พึ่งพาชาติอื่น  วางกาลังและฐานทัพ ฐานส่งกาลังบารุงต่าง ๆ ไว้ทั่วโลก  วางกาลังใหม่ของ ทร.สหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก ลด กาลังทหารประจาการในเกาหลีใต้ จานวน ๑ ใน ๓ เหลือ ๑๒,๕๐๐ คน จากเดิม ๓๗,๕๐๐ คน  ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ยากที่จะประเมินทิศทางและเป้าหมายที่ ชัดเจน  ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯเน้นการสร้างความร่วมมือจากชาติ พันธมิตร ในการเข้าจัดการกับภัยคุกคามตามภูมิภาคต่าง ๆ
  • 58. ยุทธศาสตร์ Sea Power21  ปรับวางกาลังของกองทัพเรือสหรัฐฯโดยทบทวนยุทธศาสตร์ ปรับเปลี่ยนรูปแบบ จานวนและสถานที่ที่กาลังทหารของ สหรัฐฯประจาการอยู่ทั่วโลก  กาหนดภัยคุกคามและยุทธศาสตร์ขึ้นใหม่ทั้งหมด มีการลงนาม ร่วมระหว่าง ผบ.ทร. และ ผบ.นย.และให้ กระทรวงกลาโหมฯ อนุมัติ
  • 59.
  • 60. กรอบแนวความคิดของ Sea Power 21  Sea Shield การป้องกันจากทะเล ปกป้องแผ่นดินแม่ มีการป้องกัน Air Missile Theater, Air Missile Defense และการป้องกันภัยคุกคามทั้ง 3 มิติ  Sea Strike การโจมตีจากทะเล  Sea Basing ฐานปฏิบัติการจากทะเลที่ใช้ในการบัญชาการรบ  Sea Trial คือ จะต้องมีการฝึกและทดสอบจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ และวางแนวความคิดในการปฎิบัติการ  Sea Warrior การอบรมและพัฒนาคุณภาพของกาลังพลทางเรือ  Sea Enterprise การตรวจสอบเพื่อปรับปรุงการปฎิบัติภารกิจของกองทัพให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  • 61.
  • 62.
  • 63.
  • 64. Maritime Prepositioning Force (Future) MPF(F) / Seabase
  • 65.
  • 66.
  • 67.
  • 68. National Security Strategy and Economic Strategy  Raw Material  Product & Container  Money  Man
  • 69. องค์การเดินเรือระหว่างประเทศ (International Maritime Organization-IMO)  เป็นหน่วยงาน UN รับรองมาตรการต่อต้านการก่อการร้ายทางทะเลที่เรียกว่า The International Ship and Port Facility Code (ISPS CODE) เมื่อ ปี 2545  กาหนดให้ประเทศสมาชิกที่รับรองมาตรการนี้ 146 ประเทศ เพิ่มการรักษาความ ปลอดภัยการเดินเรือเพื่อป้องกันการก่อการร้าย  กาหนดให้เรือที่มีระวางตั้งแต่ 300-50,000 ตัน ต้องติดตั้งระบบ Automatic Information System ภายใน 31 ธันวาคม 2547  กาหนดให้เรือทุกลาต้องติดตั้งระบบเตือนภัยให้เจ้าหน้าที่บนฝั่งทราบถึงชื่อเรือ สถานที่ตั้ง และปัญหาด้านความปลอดภัย  กาหนดให้ท่าเรือมีการประเมินความปลอดภัยของท่าเรือ และจัดทาแผนรักษา ความปลอดภัยสถานที่  เรือที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบจะไม่ได้รับใบประกาศความปลอดภัยการเดินเรือ ระหว่างประเทศ(International Ship Security Certificate) ซึ่งจะทาให้ ไม่สามารถจอดเข้าท่าเทียบเรือของประเทศสมาชิก IMO ได้