SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 63
Descargar para leer sin conexión
นาเสนอโดย
พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธี และธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธี
และธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่
ความเป็นประชาคมอาเซียน
www.elifesara.com
ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย ความร่วมมือ
3 เสาหลัก
ประชาคมการเมือง
ความมั่นคงอาเซียน
ประชาคม
เศรษฐกิจ
อาเซียน
ประชาคม
สังคม
และ
วัฒนธรรม
อาเซียน
A Publication by www.elifesara.com
A Publication by www.elifesara.com
การแต่งกายอาเซียน
A Publication by www.elifesara.com
Eurasia
รูปแบบการทาสงคราม
หนึ่งประเทศสองระบบ
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
www.kpi.ac.th
การใช้เครื่องมือของชาติตามยุคสมัย
การใช้การทหารเป็นตัวนา
การใช้การเมืองเป็นตัวนา
การใช้เศรษฐกิจเป็นตัวนา
การใช้สังคมจิตวิทยาเป็นตัวนา
Media Power
Facebook, Twitter, Line, Vdo link, Mobile Phone,
TV, Radio
การใช้ทรัพยากร
ของชาติ
 การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ไปไม่ได้
ถ้าไม่เรียนรู้รากฐานชีวิตคือประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรม
 การปรับตัวเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน – ด้าน
สังคมและวัฒนธรรม
 กระบวนการส่งเสริมสันติวิธีในการจัดการ
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
 เรียนรู้วัฒนธรรมอาเซียน
ประเด็นที่น่าสนใจ
www.elifesara.com
แนวคิดคุณลักษณะ ในด้านคุณธรรม จริยธรรม
1. พื้นฐาน (เพียงพอ ทาได้) มีวินัย มีความรับผิดชอบ
ซื่อสัตย์ เสียสละ มีวัฒนธรรมและมีจรรยาบรรณใน
อาชีพ
2. ก้าวหน้า (ทัน แสวงหา พัฒนา) เป็นแบบอย่างที่ดี
เข้าใจผู้อื่น และเข้าใจโลก
3. เชิงรุก (ลึก เชื่อมโยง อนาคต) ส่งเสริมและชี้นา
สังคม ให้ตระหนักถึงคุณธรรม จริยธรรม
4. เป็นเลิศ (เฉียบ เชี่ยวชาญ เป็นเลิศ) อุทิศตนเพื่อ
ส่วนรวม มีความกล้าหาญทางจริยธรรม
www.elifesara.com
• ปัจจุบันมีปัญหาหลายด้าน ในตัวคน กลุ่มคนหรือในพื้นที่เฉพาะ คุณธรรม
จริยธรรมที่เสื่อมทราม มีค่านิยมที่ไปในทางเลวร้าย อาทิวัฒนธรรมอุปถัมภ์ทาให้
เกิดวัฒนธรรมเกรงใจทาให้เกิดคนโกง วัฒนธรรมที่ยึดรูปแบบแต่ไร้เนื้อหาคุณค่า
วัฒนธรรมที่ฉาบฉวย วัฒนธรรมที่เกินงาม ฯลฯ
๑. ปลูกฝังการใช้คุณธรรมนาชีวิต
๒. การสร้างค่านิยมยึดมั่นในความถูกต้องเที่ยงธรรม
๓. การตระหนักถึงความรับผิดชอบในหน้าที่
๔. สร้างศรัทราต่อกฎหมายและเคารพต่อกฎเกณฑ์
๕. ปลุกแนวคิดเคารพต่อสิทธิของผู้อื่นและสิทธิสาธารณะ
๖. มุ่งมั่นค่านิยมการรักงานและทุ่มเททางานหนัก
๗. สั่งสอนลูกหลานให้ประหยัดอดออม
นพ.เกษม" องคมนตรี เสนอ ๗ ทางแก้
เน้นปลูกฝังคุณธรรมนาชีวิตสู่สังคมอาเซียน
ที่มาจากการกล่าวปาฐกถาพิเศษเรื่อง “แนวทางการฟื้นฟูคุณธรรมของสังคมไทย” ของศ.นพ.เกษม วัฒนชัย
องคมนตรี ในการประชุมสมัชชาคุณธรรมภาคกลาง และการสัมมนาทางวิชาการ ครั้งที่ 7 ประจาปี 2557
แนวทางการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม
(รศ.ดร.จุรี วิจิตรวาทการ)
• หัวหน้าส่วนราชต้องตระหนักถึงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในองค์กร
เป็ นผู้นาในการขับเคลื่อน การบังคับใช้กฎหมาย และการย้าเตือน
อย่างต่อเนื่อง
• สื่อสารให้ความรู้ที่น่าสนใจ การสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็งในระหว่าง
ส่วนราชการ
• เปิดเผยข้อมูลในการปฏิบัติตนอย่างถูกต้องให้สาธารณะได้รับรู้ เข้าใจ
และให้การสนับสนุนการทางานเมื่อมีเหตุการณ์ที่ต้องตัดสินใจบนความ
ขัดแย้งทางคุณธรรม
• ให้สาธารณชนเป็นเกราะกาบังมีส่วนร่วมในการไม่ให้ความร่วมมือ
ในการคอรัปชั่น
www.elifesara.com
สถานการณ์ปัญหาของประเทศไทยในปัจจุบันนี้
•ปัญหาด้านคุณธรรม จริยธรรม
•เป็นปัญหาที่นับวันจะเสื่อมทรามลง
•มีค่านิยมหลายอย่างที่นาพาสังคมไปในทางเลวร้าย
เช่น วัฒนธรรมอุปถัมภ์ที่ก่อให้เกิดช่องโหว่ในการ
ช่วยเหลือเฉพาะบุคคล วัฒนธรรมเกรงใจทาให้เกิด
คนโกง วัฒนธรรมฉาบฉวย และวัฒนธรรมที่เกินงาม
เป็นต้น
www.elifesara.com
ปัญหาท้าทายทางจริยธรรมที่สาคัญของราชการไทย
1.การขาดการแทรกแซงจากสังคม
2.ความบกพร่องทางจริยธรรมของผู้นา
3.ระบบอุปถัมภ์ที่ทาให้เกิดการใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัว
ในองค์กร
4.การแทรกแซงทางการเมืองในการแต่งตั้งโยกย้าย
5.นโยบายการใช้งบประมาณของรัฐ
6.ขาดการร้องเรียนจากประชาชนและสื่อมวลชน
ที่มาจากการบรรยายของ รศ.ดร.จุรี วิจิตรวาทการ ผู้อานวยการศูนย์สาธารณประโยชน์และประชาสังคม
และเลขาธิการองค์กรเพื่อความโปร่งใสในประเทศไทย
วัตถุประสงค์การเรียนรู้คุณธรรมจริยธรรม
ของแต่ละประเทศในอาเซียน
การหล่อหลอมประเทศในกลุ่มอาเซียนให้เป็นประชาคมที่มีอัตลักษณ์
ด้านค่านิยมและคุณธรรมจริยธรรมนั้น จาเป็ นต้องทราบคุณลักษณะและ
กระบวนการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมของแต่ละประเทศ
•เพื่อนามาเปรียบเทียบและใช้เป็นกรอบในการเตรียม
ความพร้อมด้านคุณธรรมจริยธรรม
•เพื่อกระตุ้นให้คนในสังคมไทยรู้คุณค่าของคุณธรรม
จริยธรรม รวมถึงรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น
ในอนาคตอันใกล้
www.elifesara.com
•ประเทศบรูไน – ความรับผิดชอบต่อสถาบันกษัตริย์และ
ชาติบรูไน ความศรัทธาในคุณค่าอิสลาม วัฒนธรรมแห่ง
ขันติธรรม เมตตาธรรมและความสมานฉันท์ในสังคม
•ประเทศกัมพูชา – ความอดทน ความเป็นปึกแผ่นของ
ชาติ รักความยุติธรรมให้ความสาคัญกับความเจริญและ
วัฒนธรรมของชาติภายใต้คติ “ชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์”
ผลงานวิจัย“คุณธรรมอาเซียน”ของจิตราภรณ์ โดยมีสภาองค์การพัฒนาเด็กและเยาวชนในพระราชูปถัมถ์สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นผู้รับผิดชอบ
การเปรียบเทียบคุณธรรมจริยธรรมของ
๑๐ ประเทศอาเซียน
www.elifesara.com
• ประเทศอินโดนีเซีย
ความเชื่อเรื่องพระเจ้าพระองค์เดียว มนุษยธรรมที่มีความ
ยุติธรรมและอารยธรรม ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ประชาธิปไตยที่แสดงออกจากตัวแทนประชาชนอย่างเป็น
เอกฉันท์
• ประเทศลาว
ความเข้าใจร่วมกัน ความเป็ นปึ กแผ่น คุณธรรมที่ดีและ
ชาตินิยม รักชาติและประชาธิปไตย จิตวิญญาณของความ
เป็ นปึ กแผ่นระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ และจิตวิญญาณแห่ง
อิสรภาพ
การเปรียบเทียบคุณธรรมจริยธรรมของ
๑๐ ประเทศอาเซียน
•ประเทศมาเลเซีย ความเชื่อในพระเจ้า ความจงรักภักดี
ต่อประเทศและกษัตริย์ รักษาสถาบันรัฐธรรมนูญ
รักษากฎหมาย ประพฤติดีมีศีลธรรม
•ประเทศเมียนมาร์ รักชาติ มิจิตวิญญาณป็นหนึ่งเดียวกัน
ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผน
•ประเทศฟิลิปปินส์ ให้ความสาคัญกับครอบครัวและเครือ
ญาติ ให้คุณค่าความเชื่อทางศาสนา
www.elifesara.com
การเปรียบเทียบคุณธรรมจริยธรรมของ
๑๐ ประเทศอาเซียน
•ประเทศสิงคโปร์ ชาติต้องมาก่อนชุมชน และสังคมอยู่เหนือ
บุคคล ครอบครัวเป็ นหน่วยพื้นฐานของสังคม การช่วยเหลือ
กันในชุมชนและเคารพในปัจเจกบุคคล ยึดถือความเห็นของคน
ส่ วนใหญ่แต่ไม่สร้างความแตกแยก มีความกลมกลืนทาง
เชื้อชาติและศาสนา
•ประเทศเวียดนาม การเคารพนับถือบรรพบุรุษ คุณค่าทาง
ครอบครัวและชุมชนความรักชาติ
•ประเทศไทย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย
อยู่อย่างพอเพียง รักความเป็นไทย จิตสาธารณะ
www.elifesara.com
การเปรียบเทียบคุณธรรมจริยธรรมของ
๑๐ ประเทศอาเซียน
สารวจความเห็นจากงานวิจัย“การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของไทย
ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน”
• ร้อยละ 23.1 เห็นว่าความซื่อสัตย์โปร่งใสเป็ นคุณธรรมที่จาเป็นที่สุดใน
การเข้าประชาคมอาเซียน รองลงมาคือ ความสามัคคีอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ร้อยละ 14
• ร้อยละ 15.9 เห็นว่าคุณธรรมของไทยที่เป็นจุดแข็งคือ มีความจงรักภักดี
ต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
• ร้อยละ 15.9 เห็นว่าการขาดความสามัคคี ขาดความรักสันติภาพ เป็น
อุปสรรคในการเข้าร่วมเป็นประชาคมอาเซียน
ผลการศึกษาเป็นแนวทางการพัฒนาส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้มีประสิทธิภาพ และเตรียมความพร้อมด้าน
คุณธรรมจริยธรรมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน รวมทั้งกระตุ้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างประเทศสมาชิก และ
ทางานร่วมกันต่อไป
www.elifesara.com
หัวใจของการสร้างสังคมคุณธรรมอยู่ที่อะไร ?
• อยู่ที่พลเมือง ต้องสร้างสังคมคุณธรรมด้วยมือตัวเอง ด้วยการคิด พูด และปฏิบัติไป
พร้อมๆ กัน
• หน่วยงานต่างๆ ต้องทาสิ่งที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรมผ่านการให้รางวัล ยกย่อง
เชิดชูเกียรติ ทาสื่อให้ความรู้ขยายออกไป
• รัฐบาลต้องประกาศเรื่องการสร้างสังคมคุณธรรมเป็นวาระแห่งชาติ และประกาศตัวว่า
เป็นรัฐบาลคุณธรรม เฝ้ าระวังปัญหาที่เกิดขึ้นจากรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง และจัดการ
ปัญหาอย่างทันท่วงที ซึ่งจะทาให้สังคมและประชาชนมีกาลังใจ
• คนไทยมีนิสัยโอบอ้อมอารี มีร้อยยิ้ม มีน้าใจ มีเมล็ดพันธุ์แห่งความดีอยู่ในตัวทุกคน
เพียงแต่เราต้องช่วยสร้างบรรยากาศให้เมล็ดพันธุ์งอกงามจากนามธรรมสู่รูปธรรม
ในไม่ช้า เราก็จะเห็นสังคมของคนดี สังคมที่มี “คุณธรรม” ในที่สุด
(ที่มา: จากสัมภาษณ์พิเศษ นพ. พลเดช ปิ่นประทีม, จุดหมายข่าวศูนย์คุณธรรม ปีที่ 2 ฉบับที่ 6 ประจาเดือนก.ย. – ต.ค. 56)
ประเด็นจากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย
(พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561) ที่เน้นเรื่องธรรมาภิบาลในภาครัฐ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 : การสร้างความพร้อมของระบบราชการไทย
เพื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน
7.1 พัฒนาระบบบริหารงานของหน่วยงานที่มีความสาคัญเชิง
ยุทธศาสตร์เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
www.elifesara.com
7.2 เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อยกระดับธรรมาภิบาลในภาครัฐ
ของประเทศสมาชิกอาเซียน
7.2.1 ส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกอาเซียนยกระดับธรรมาภิบาลในภาครัฐตาม
มาตรฐานสากลและ สอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน อันนาไปสู่การพัฒนา
ประเทศให้ บรรลุผลอย่างยั่งยืน เกิดความน่าเชื่อถือและภาพลักษณ์ที่ดีของ
ประเทศสมาชิกอาเซียน
7.2.2 จัดเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ (Knowledge Sharing) ในการปฏิรูป
และ พัฒนาระบบราชการ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน พร้อมทั้งจัดทา
ฐานข้อมูลและรวบรวม แนวทางปฏิบัติที่ดีเลิศเพื่อส่งเสริมหลักธรรมาภิบาลของการ
บริหารกิจการบ้าน เมืองในภูมิภาค
จากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 -
พ.ศ.2561) ที่เน้นเรื่องธรรมาภิบาลในภาครัฐ
www.elifesara.com
7.2 เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อยกระดับธรรมาภิบาลในภาครัฐ
ของประเทศสมาชิกอาเซียน
7.2.3 เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนให้มีความแน่นแฟ้ น
ยิ่งขึ้น ผ่านกลไก ความร่วมมือ เช่น ความร่วมมือทางวิชาการด้านการ
ศึกษาวิจัย การร่วมเป็ นเจ้าภาพในการ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกัน
การศึกษาดูงานยังประเทศต้นแบบ และการแลกเปลี่ยน บุคลากรและผู้เชี่ยวชาญ
ระหว่างกัน เป็ นต้น รวมทั้งสร้างเครือข่ายประสานความร่วมมือไปยัง องค์กร
ระหว่างประเทศ เพื่อนาองค์ความรู้และแนวทางปฏิบัติ ที่เป็นเลิศมาใช้ประโยชน์
เป็นแนวทางที่จะผลักดันให้สามารถดาเนินการร่วมกันได้
ประเด็นจากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย
(พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561) ที่เน้นเรื่องธรรมาภิบาลในภาครัฐ
A Publication by www.elifesara.com
จาแนกออกเป็น:
1) กลุ่มวัฒนธรรมลุ่มน้าโขง : ไทย – ลาว – เขมร –
พม่า - เวียดนาม
2) กลุ่มวัฒนธรรม มาเลเซีย - อินโดนีเซีย - บรูไน
ดารุสซาลาม - สิงคโปร์
3) กลุ่มวัฒนธรรม ฟิลิปปินส์
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของอาเซียน
A Publication by www.elifesara.com
มรดกร่วมในอนุภูมิภาค อาทิ
 ภาษา
 การแสดง
 ศาสนา: ศาสนาพุทธเป็นวัฒนธรรมส่วนใหญ่ของ
คนไทย ลาว พม่า เวียดนาม
กลุ่มวัฒนธรรมลุ่มน้าโขง : ไทย-ลาว-เขมร-พม่า-เวียดนาม
 นาฏศิลป์ -ดนตรี
 ประเพณี
A Publication by www.elifesara.com
เป็นการผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมตะวันออกและ
ตะวันตก
ตัวอย่างมรดกวัฒนธรรม
 การแสดง: ได้รับอิทธิพลจากสเปน
 ประเพณี: ได้รับอิทธิพลจากสเปนและเม็กซิโก
 ศาสนา: ศาสนาคริสต์เป็นวัฒนธรรมส่วนใหญ่
ของคนฟิลิปปินส์
กลุ่มวัฒนธรรม ฟิลิปปินส์
A Publication by www.elifesara.com
มรดกร่วมในกลุ่มประเทศ อาทิ
 ด้านภาษา: ภาษามาเลย์ (มลายู)
 การแสดง (การเชิดหนัง หรือ หนังตะลุง)
 ด้านศาสนา: ศาสนาอิสลาม เป็นวัฒนธรรมส่วนใหญ่ของ
คนของคนมาเลเซีย อินโดนีเซีย บูรไน
ขณะที่สิงคโปร์มีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่ผสมผสานระหว่าง
จีน-มาเลย์-อินเดีย
กลุ่มวัฒนธรรม มาเลเซีย-อินโดนีเซีย-บรูไนดารุสซาลาม-สิงคโปร์
A Publication by www.elifesara.com
 45% ของประชากรอาเซียน นับถืออิสลาม
 เข้าใจวิถีอิสลาม ด้วยการศึกษาวัฒนธรรมอิสลามและ
โลกของมุสลิม
 ประเทศมุสลิมที่มีขนาดและจานวนประชากรที่เป็นมุสลิมมาก
ที่สุดในโลก คือ ประเทศอินโดนีเซีย
(มีผู้นับถือศาสนาอิสลามถึง 88.1% - 240 ล้านคน)
วิถีอิสลาม
A Publication by www.elifesara.com
• ฮาลาล หมายถึง สิ่งที่ศาสนาอิสลามอนุมัติให้ปฏิบัติได้ อันเนื่องจากไม่มีคุณลักษณะ
ต้องห้ามใดๆ ตามบทบัญญัติ
• ฮารอม คือ สิ่งที่ศาสนาสั่งให้งดเว้นการปฏิบัติโดยเด็ดขาด โดยที่การฝ่าฝืนจะต้องได้รับ
โทษทัณฑ์ในปรโลกและอาจได้รับการลงโทษในโลกนี้ ด้วย
• อาหารฮาลาลกลายเป็นอีกหนึ่งมาตรฐานการผลิตอาหารที่ได้รับการยอมรับจากทั่วโลก
ไม่ใช่แต่เฉพาะชาวมุสลิมเท่านั้น แต่ยังได้รับการยอมรับจากผู้นับถือศาสนาอื่นๆ อีกด้วย
• ประเทศไทยติดอันดับ ๑ ใน ๑๐ ของประเทศที่ส่งออกอาหารฮาลาลที่มีมูลค่าสูงที่สุด
ในโลก
ฮาลาลและฮารอมคืออะไร ?
A Publication by www.elifesara.com
(http://cariasean.org/view/asean_halal_players_need_concerted_effort)
ไทยติดอันดับ 1 ใน 10 ของประเทศส่งออกอาหารฮาลาล
ที่มีมูลค่ามากที่สุดในโลก
A Publication by www.elifesara.com
ยกตัวอย่างความขัดแย้ง
- ประเทศพม่ามีอยู่หลายชนเผ่าที่อพยพมาอยู่รวมกันที่ลุ่มแม่น้าอิรวดี มีการกระทบ
กระทั่งขัดแย้งกันมาเรื่อยๆ เคยมีการรวมตัวกันแต่สุดท้ายก็ไม่สามารถที่จะตกลงกัน
ได้ รวมตัวกันยากมาก มีความขัดแย้งเรื้อรังมาถึงปัจจุบันนี้
- มาเลเซียและอินโดนีเซียเคยมีการทะเลาะกันระหว่างชาวมลายูกับชนเชื้อสายจีน
สงครามวัฒนธรรม
“ที่ใดที่มีการเข้าถึงความหลากหลายทางธรรมชาติ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
ย่อมจะมีสันติสุข หากมีการจัดการทางวัฒนธรรมที่ดี
แต่ที่ไหนที่มีความขัดแย้งก็เกิดความรุนแรงขึ้น”
A Publication by www.elifesara.com
เป้ าหมายและพันธกิจของ
ASCC Blueprint
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio-Cultural Community หรือ ASCC)
People Center
1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
2) การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
3) สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม
4) ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
5) การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
6) การลดช่องว่างทางการพัฒนา
A Publication by www.elifesara.com
 ภูมิรัฐศาสตร์
 การนับถือศาสนา อิสลาม คริสต์ พุทธ ฮินดูพราหม และ
ไม่นับถือศาสนา
 เชื้อชาติ เผ่าพันธ์ที่หลากหลาย
 ภาษาที่ใช้มีมากมาย
 การศึกษาที่แตกต่าง
 จานวนประชากร
 การปกครองในอาเซียนมีอย่างน้อย 5 รูป
ประเด็นที่น่าสนใจ
www.elifesara.com
มาตรการรักษาความมั่นคงบริเวณเขตแดน:
ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการรักษาความมั่นคงแห่งชาติ
และสันติภาพระหว่างประเทศ
www.elifesara.com
 ภูมิรัฐศาสตร์
 การนับถือศาสนา อิสลาม คริสต์ พุทธ
ฮินดูพราหมณ์ และไม่นับถือศาสนา
 เชื้อชาติ เผ่าพันธ์ที่หลากหลาย
 ภาษาที่ใช้มีมากมาย
 การศึกษาที่แตกต่าง
 จานวนประชากร
 การปกครองในอาเซียนมีอย่างน้อย 5 รูป
ประเด็นที่น่าสนใจ
ระบอบการปกครองในอาเชียน
ประเทศ ระบอบการปกครอง
อินโดนีเชีย ประชาธิปไตย ประธานาธิปดีเป็นประมุขและบริหาร
ไทย รัฐาธิปัตย์ประชาธิปไตย
ลาว สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
ฟิลิปปินส์ ประชาธิปไตย ประธานาธิปดีเป็นประมุขและบริหาร
เวียดนาม สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
กัมพูชา ประชาธิปไตยระบอบรัฐสภา มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
บูรไน สมบูรณาญาสิทธิราช
มาเลเซีย ประชาธิปไตยระบอบรัฐสภา
สิงคโปร สภาเดียว ปธน นายก
พม่า เผด็จการทหาร สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ
A Publication by www.elifesara.com
อาชีพในฝันของเยาวชน
ประเทศ อาชีพ
ไทย แพทย์ ครู ทนายความ พ่อครัว นักธุรกิจ สัตว์แพทย์
สิงคโปร์ ครู แพทย์ นักบิน พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน ศิลปิน
มาเลเซีย แพทย์ นักบิน ตารวจ ทนายความ ครู มีคนจบ ป.ตรี
เพียง 23% เป้ าหมาย 37% เป้ าหมายผลิตปริญญาเอก 18,000 คน
ใน 2558
อินโดนีเชีย ระดับปริญาตรีมีเพียง 4.8 ล้านคน ไปต่อต่างประเทศ
เวียตนาม(บริติช
เคาน์ซิล)
ตลาดการศึกษาในเวียตนามกาลังเติบโตแบบก้าวกระโดด มีการลง
ทุนการศึกษาอย่างมาก ระดับปริญญาโทเติบโต 139% เน้นสาขาการ
จัดการธุรกิจ การเงิน การท่องเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาศาสตร์ประยุกต์ วิศวกรรมศาสตร์มีเรียนมากสุด
ฟิลิปปินส์ สนใจสุขภาพ (แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล การจัดการธุรกิจ
การตลาด นิยมต่อ ตปท.สาขาวิศวกรรม ศิลปศาสตร์
สถาปัตย์
A Publication by www.elifesara.com
สภาวะแต่ละประเทศ
•ความแตกต่างในระดับการพัฒนา
•พึ่งพิงภายนอกภูมิภาคมาก
•ขีดความสามารถแตกต่างกัน
•ความหลากหลายทางระบบการเมือง
•ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
•ความรู้สึกชาตินิยม
37
A Publication by www.elifesara.com
•มองภาพอาเซียนเพียงมิติเศรษฐกิจอย่างเดียว
•คิดทุกอย่างเพื่อเอาเปรียบประเทศเพื่อนบ้าน
•ไม่เข้าใจความหลากหลายทางวัฒนธรรม
•มองเส้ นเขตแดนเป็นปัญหาของประเทศ
•ขาดมุมมองด้านความเสมอภาค
ความเท่าเทียมกัน และมนุษยธรรม
จุดอ่อนประเทศไทย
A Publication by www.elifesara.com
 มีสมาชิกที่ทุกคนมีคุณภาพในตัวเอง
 เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถพัฒนาไปถึง
จุดสุดยอดของตัวเอง
 มีค่านิยมที่ทุกคนยอมรับในความแตกต่าง
หลากหลายของกันและกัน เคารพสิทธิของ
กันและกัน (ส่ งเสริมเสรีภาพของมนุษย์)
สังคมอริยะ(สังคมที่เจริญ)
ต้องมีองค์ประกอบดังนี้
จากหนังสือ “อาเซียน รู้ไว้ ได้เปรียบแน่” ของ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ
A Publication by www.elifesara.com
The World Factbook
population as 7,095,217,980 (July 2013 est.)
• Christian 31.50% (Catholic 16.85%, Protestant 6.15%, Orthodox 3.96%, Anglican 1.26%),
• Muslim 23.20% (Sunni 75-90%, Shia 10-20%, Ahmadi 1%),
• Hindu 13.8%,
• Buddhist 6.77%,
• Sikh 0.35%,
• Jewish 0.22%,
• Baha'i 0.11%,
• other religions 10.95%,
• non-religious 9.66%, atheists 2.01% (2010 est.).[1]
Muslim Population
Country Population Percent Muslim Pop.
1 Africa 1,096.60 53.04 581.58
2 Asia 4,219.96 32.16 1,389.5
3 Europe 739.31 7.60 56.18
4 North America 469.10 1.80 8.04
5 South America 488.50 0.42 2.07
6 Oceania 38.04 0.67 1.77
Total 7151.51 28.26 2038.04
Muslim Population
Country Population % Muslim Pop. Muslim Pop.
1 Thai 67,448,120 10.0 6,744,812
2 Indonesia 251,160,124 88.0 221,020,909
3 Cambodia 15,205,539 4.0 608,622
4 Laos 6,981,166 1.0 69,811
5 Malaysia 29,628,392 60.0 17,777,035
6 Singapore 5,460,302 16.0 873,648
7 Myanmar 55,167,330 15.0 8,275,099
8 Brunei 415,717 67.0 278,530
9 Philippine 105,720,644 10.0 10,572,064
10 Vietnam 92,477,857 0.1 92,478
629,665,191 42.0 266,313,008
http://www.eurasiareview.com/03062013-islamic-freedom-in-asean-analysis/
เสือ ๘ ตัวในเอเชียจะ
เปลี่ยนแปลงโลก
(จีน ไต้หวัน เกาหลี
ญี่ปุ่ น มาเลเซีย ไทย
สิงคโปร์ และอินโดนีเชีย)
จากหนังสือ Megatrend 2000 และ Megatrend Asia ของ John Nibitt
• ทานายความเจริญของโลกจะไหลกลับมาอยู่ที่ญี่ปุ่ น จีน เกาหลี และอาเซียน
• ธนาคารโลกวิเคราะห์ว่าปี ๒๐๒๕ จีนจะเป็ นมหาอานาจทางเศรษฐกิจอันดับ ๑ ของโลก
ตามด้วยสหรัฐฯ อินเดีย และเยอรมนี
• สหรัฐฯร่วมมือกับสหภาพยุโรปพยายามสกัดกั้นการเติบโตทางเศรษฐกิจของจีน
• ใช้มาตรการระเบียบโลกใหม่เข้ามากดดันคือ สิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตย สิ่งแวดล้อม
และ การค้าเสรี
• จีนต่อสู้ไม่ยอมอ่อนข้อ ทั้งเงินสกุลหยวนของจีนยังไม่อยู่ในระบบการเงินสากล สหรัฐฯ
จึงโจมตีเครือข่ายจีนเป็ นประเทศที่เวลาตรงกับจีน เช่น ไต้หวัน เกาหลี มาเลเซีย ไทย
สิงคโปร์และ อินโดนีเซีย
• ความขัดแย้งทางอารยธรรมของโลกโดยเฉพาะอารยธรรมแบบชาวคริสต์ (ตะวันตกที่คิดว่าตัวเองเป็น
ประชาธิปไตย)กับชาวมุสลิม (ซึ่งตะวันตกมองว่าไม่เป็นประชาธิปไตย)
• เกิดความขัดแย้งระหว่างตะวันตกกับตะวันออก การแสดงอคติจากคนผิวขาวที่นับถือศาสนาคริสต์มีการ
ต่อต้านอิสลามเกิดขึ้น
• นักเขียนการ์ตูน ของนิตยสารชาร์ลี เอบโดที่กรุงปารีส ของฝรั่งเศส นาไปสู่ความขัดแย้งระหว่างชาวยุโรป
เสรีนิยมหรือพวกไม่มีศาสนากับประเทศโลกที่ 3 ที่เป็นมุสลิมจานวนมากทั้งในยุโรปและต่างประเทศ จน
มีคนเรียกว่าเป็นเหตุการณ์ 9/11
• นิตยสารชาร์ลี เอบโด ยังคงตีพิมพ์การ์ตูนเป็นรูปศาสดาโมฮัมหมัดที่ยกป้ายประกาศตนว่า “ฉันคือชาร์ลี”
เป็นการท้าทายหรือยืนหยัดอุดมการณ์เสรีนิยมผ่านการล้อเลียน และชาวไนเจอร์ ในแอฟริกา ประท้วง
โดยก่อการจลาจลและเผาโบสถ์ของชาวแคทอลิก
จาก The Clash of Civilizations แซมมวล ฮันติงตัน
การปรับตัวเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน - ด้านสังคมและวัฒนธรรม
1.ปรับตัวในการยอมรับและเคารพในความแตกต่างทางศาสนา วัฒนธรรม ภาษาของประทศสมาชิก
2.ปรับหลักคิดและทัศนคติต่อประเทศเพื่อนบ้าน
3.ปรับตัวเพื่อรับกับการที่ประชาชนจะใกล้ชิดกันมากขึ้น การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม และการสร้างอัตลักษณ์ร่วมกัน
4.ร่วมมือใกล้ชิดขึ้นเพื่อบริหารจัดการกับปัญหาที่จะกระทบต่อความมั่นคงของมนุษย์ อาทิ การ
จัดการกับภัยพิบัติ การแก้ปัญหาให้กับผู้ด้อยโอกาสในสังคม และการเชื่อมโยงระบบการศึกษา
ระหว่างกัน
5.สร้างความตระหนักรู้เรื่องอาเซียน และต้องให้ความสนใจกับสิ่งที่เกิดขึ้นใน
ประเทศสมาชิกอื่นมากขึ้น เนื่องจากจะมีความเชื่อมโยงผูกพันกันมากขึ้นในทุกด้าน
A Publication by www.elifesara.com
 แลกเปลี่ยนภาษา วัฒนธรรม ศิลปะ และวิทยาการ
ต่างๆ เช่น โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างมหาวิทยาลัยต่างๆ
ในอาเซียน, แลกเปลี่ยนการแสดงศิลปวัฒนธรรมระหว่างกัน เป็นต้น
 เปิดโอกาสให้คนในอาเซียนได้ชื่นชมในสิ่งที่แตกต่าง
หลากหลาย ได้เห็นข้อดีหรือจุดเด่นของแต่ละวัฒนธรรม ชุมชน
กลุ่ม เพื่อที่จะมีเสรีภาพในชีวิตมากขึ้น (การศึกษาเล่าเรียน เลือกวิถี
ชีวิตแบบที่ต้องการ ฯลฯ)
๑. ปรับตัวในการยอมรับและเคารพในความแตกต่าง
ทางศาสนา วัฒนธรรม ภาษา ของประทศสมาชิก
A Publication by www.elifesara.com
 ทัศนคติของเราที่มีต่อประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียนจาเป็นต้องถูกเปลี่ยนแปลง เช่น
“พม่ามาเผาเมืองเรา แล้วลอกเอาทองไปหุ้มพระเจดีย์ที่เมืองพม่า”
“ถ้าเปิดประเทศไป คนพม่า คนลาว คนฟิลิปปินส์ คงต้องแห่เข้ามาแย่งงานคนไทยทา
แน่ๆ เลย คนไทยยังไม่พร้อมหรอก”
“ถ้าเปิดประเทศ คนไทยจะสูญเสียอัตลักษณ์ความเป็นคนไทย”
และทัศนคติในเรื่องการสู้รบหรือสงครามในอดีตกับประเทศเพื่อนบ้าน เป็นต้น
 อัตลักษณ์ของชาติ(ลักษณะเด่นเฉพาะตัว) และความรู้สึกชาตินิยมเป็นสิ่งดี แต่ต้อง
มีขอบเขต อย่าเอาอัตลักษณ์ของชาติเป็นปมเขื่อง อย่าชาตินิยมจนกลายเป็น
คลั่งชาติ
 มองเพื่อนบ้านของเราให้เป็นพันธมิตรที่มีความเท่าเทียมกันทั้งในทางสังคม
มนุษยธรรม และในทางเศรษฐกิจ
๒. ปรับหลักคิดและทัศนคติต่อประเทศเพื่อนบ้าน
A Publication by www.elifesara.com
 สังคมไทยเป็นสังคมแห่งความหลากหลาย ไม่ใช่สังคม
ที่เป็นชาติเดียว เผ่าเดียว ภาษาเดียว
 คุณอานันท์ ปันยารชุน เคยพูดไว้ว่า “ผมนี่แม่เจ๊ก
พ่อมอญ คนไทยทุกวันนี้ ถอยหลังไป ๔ - ๕ เจเนอเรชั่น
คือคนที่อพยพมาจากที่อื่นทั้งนั้น”
๓. ปรับตัวเพื่อรับกับการที่ประชาชนจะใกล้ชิดกันมากขึ้น
การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม และการสร้างอัตลักษณ์ร่วมกัน
A Publication by www.elifesara.com
 การจัดการกับภัยพิบัติ: การจัดตั้งศูนย์ประสานงานการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม
ตั้งอยู่ที่อินโดนีเซีย เพื่ออานวยความสะดวกในการประสานรวบรวม ข้อมูลข่าวสาร
ติดตามสถานการณ์ภัยพิบัติต่างๆ และประสานความช่วยเหลือระหว่างกันของประเทศ
อาเซียน
 การแก้ปัญหาให้กับผู้ด้อยโอกาสในสังคม: การสร้างธุรกิจให้แก่คนด้อยโอกาส
ประเด็นสาคัญคือโอกาสในการประกอบกิจการโดยไม่มีเส้ นแบ่งเพื่อยกระดับความเป็นอยู่
ของผู้ด้อยโอกาสและผู้ที่อาศัยอยู่ในถิ่นทุรกันดาร
 การเชื่อมโยงระบบการศึกษาระหว่างกัน : ความพร้อมของอาจารย์และบุคลากร
ทางการศึกษา คือ อาจารย์ในมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่ต้องพัฒนาศักยภาพด้านการเรียน
การสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและทักษะ
ด้านภาษาอังกฤษ
๔. ร่วมมือใกล้ชิดขึ้นเพื่อบริหารจัดการกับปัญหาที่จะกระทบต่อความมั่นคง
ของมนุษย์
A Publication by www.elifesara.com
 ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ์ ได้กล่าวไว้ว่า “อาเซียนเป็น
เวทีที่กว้างขึ้น หรือเป็นเครื่องมือในการสร้างความเท่าเทียม
กันของคนทั้ง ๖๐๐ ล้านคนในภูมิภาคนี้ ที่จะมีความมั่นคง
และมีโอกาสที่เป็นธรรมมากขึ้น วิ่งไปไหนต่อไหนได้ทั่ว”
 เราต้องเห็นความสาคัญของเสาหลักต้นที่สาม คือ ด้าน
สังคมและวัฒนธรรม เพราะเมื่อก้าวขึ้นสู่ เวทีอาเซียน
ขอเพียงคุณเป็นคนเก่งและเป็นคนที่มีคุณภาพ คุณก็จะได้รับ
การยอมรับจากทุกฝ่ าย และเห็นโอกาสอีกมากมาย
๕. สร้างความตระหนักรู้เรื่องอาเซียน และต้องให้ความสนใจกับสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศ
สมาชิกอื่นมากขึ้น เนื่องจากจะมีความเชื่อมโยงผูกพันกันมากขึ้นในทุกด้าน
A Publication by www.elifesara.com
• ด้วยความเป็นสังคมมุสลิม ก่อนเข้าไปในศาสนสถานจะต้องถอดรองเท้าก่อนทุกครั้งสาหรับผู้หญิง
ที่ไม่ใช่ชาวมุสลิมต้องสวมชุดคลุมยาวสีดาก่อนเข้าไปในศาสนสถาน
• ผู้หญิงไม่ควรเข้าไปอยู่ท่ามกลางที่ชุมนุมของผู้ชายจานวนมาก เวลาพูดคุยกันผู้หญิงไม่ควรพูดคุย
และหัวเราะเสียงดัง รวมทั้งไม่นั่งหันเท้าไปทางผู้ชาย
• บรูไนยังมีระบบสุลต่านหรือพระราชาธิบดีเป็ นประมุขของรัฐ ดังนั้นควรหลีกเลี่ยงการใช้เสื้อผ้าสีเหลือง
เนื่องจากเป็น
สีสาหรับพระมหากษัตริย์
• บรูไนเป็นประเทศมุสลิม จึงไม่มีการขายสุราในที่ต่างๆ ยกเว้นร้านปลอดภาษีในสนามบิน และ
ชาวต่างชาติไม่ควรดื่มสุราในที่สาธารณะ ดื่มได้เฉพาะในที่ส่วนตัว เช่น ในบ้านหรือในโรงแรมเท่านั้น
A Publication by www.elifesara.com
Do & Don’t ในบรูไน
• ไม่ควรเอาเรื่องการเมือง และเรื่องราวในประวัติศาสตร์มาเป็นเรื่องพูดคุยกัน
• คนกัมพูชาจะเข้มงวดเรื่องมารยาทในวัดมากกว่าคนไทย เช่น เวลาขับรถจักรยานยนต์ผ่านวัดต้อง
ชะลอความเร็วลง และต้องถอดหมวกทุกครั้งที่เข้าเขตวัด เมื่อเข้าเขตวัดควรปิ ดมือถือ และเครื่อง
เล่นเพลงทุกชนิด
• ในกัมพูชามีกฎหมายห้ามถ่ายภาพที่ทาการของทหารและสถานที่ของรัฐบาลเป็นต้น
Do & Don’t ในกัมพูชา
A Publication by www.elifesara.com
• ชาวมุสลิมถือว่าการชี้ สิ่งของด้วยนิ้ วชี้ เป็ นการไม่สุภาพ ดังนั้นควรใช้นิ้ วหัวแม่มือข้างขวาแทนนิ้ วชี้
ในทุกกรณี ไม่ว่าจะชี้ บุคคลหรือสิ่งของ มือซ้ายก็ถือว่าไม่สุภาพเช่นเดียวกัน ควรใช้มือขวาเท่านั้น
ในการส่งของหรือรับของ
• ไม่จับศีรษะของคนอินโดนีเซียโดยเด็ดขาด ไม่ว่าจะเป็นชาย ผู้หญิงหรือแม้แต่การลูบศีรษะเด็ก
เล็กๆ ด้วยความเอ็นดูก็เป็นสิ่งต้องห้าม
• ในช่วงเดือนรอมฎอน ชาวมุสลิมต้องงดอาหารและน้าในช่วงกลางวัน ดังนั้นคนไทยหรือคน
ต่างชาติต้องให้ความเคารพโดยการไม่รับประทานอาหารหรือน้าให้คนมุสลิมเห็น
Do & Don’t ในอินโดนีเซีย
“ อินโดนีเซียเป็นประเทศมุสลิมที่ใหญ่ที่สุดในโลก ”
A Publication by www.elifesara.com
Do & Don’t ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
• อย่าเอาภาษาพูด หรือสาเนียงภาษาลาวมาเป็ นเรื่องล้อเล่น เนื่องจากภาษาและวิธีการพูดเป็นเรื่อง
วัฒนธรรมที่แตกต่างกัน การเอามาเล่นตลก เป็นการไม่ให้เกียรติเจ้าของภาษาอย่างรุนแรง
• ไม่ควรเอาประเด็นทางประวัติศาสตร์ ประเด็นทางการเมือง และระดับการพัฒนาการทางเศรษฐกิจที่
มีความแตกต่างกันมาพูดคุย เพราะจะนาไปสู่การทะเลาะเบาะแว้ง
• ประเทศลาวเป็นประเทศที่มีประชากรน้อย (6.5 ล้านคน) ทาให้หาคนทางานยาก และคนงานส่วน
ใหญ่ก็ไม่ค่อยนิยมการทางานที่มีความยุ่งยากซับซ้อน เพื่อรักษาคนงานของท่าน กรุณาใจเย็นๆ ค่อยๆ
สอนงานคนลาว อย่าใช้วิธีการด่าทอ
• กฎหมายลาว โดยเฉพาะเรื่องสิ่งแวดล้อม และความสงบเรียบร้อยของสังคมมีกฎหมายที่รุนแรง และ
มีการบังคับใช้จริง ร้านอาหารที่เปิดเพลงเสียงดังในเวลาค่าคืน ถ้าเพื่อนบ้านร้องเรียน สามารถสั่งปิด
กิจการได้ทันที
“ประเทศเพื่อนบ้านอาเซียนที่ไทยมีความใกล้ชิดที่สุด ทั้งในแง่ทาเลที่ตั้งและ
วัฒนธรรมประเพณี”
A Publication by www.elifesara.com
Do & Don’t ในมาเลเซีย
• ด้วยความเป็นมุสลิมทาให้ข้อควรปฏิบัติและไม่ควรปฏิบัติมีความคล้ายคลึงกันกับในกรณีของบรูไน
และอินโดนีเซีย
• การกอดจูบลูบคลาในที่สาธารณะเป็นสิ่งที่คนมาเลย์รับไม่ได้
• ไม่ควรพูดคุยหรือวิพากษ์วิจารณ์ในเรื่องความแตกต่างทางเชื้ อชาติ ศาสนา รวมทั้งกรณีสิทธิพิเศษ
สาหรับคนมุสลิมที่เกิดในประเทศมาเลเซียที่เรียกว่า “ภูมิบุตร” เพราะเป็นเรื่องละเอียดอ่อน
เปราะบาง
• การมีอาวุธและสิ่งเสพติดไว้ในครอบครองมีโทษประหารชีวิตในประเทศมาเลเซีย
“มาเลเซียเป็นหนึ่งในประเทศมุสลิมที่มีระบบสาธารณูปโภคดีที่สุดของเอเชียและ
ประสบความสาเร็จอย่างยิ่งในการพัฒนาเศรษฐกิจ”
A Publication by www.elifesara.com
Do & Don’t ในพม่า
“ไทยเคยรับเอาวัฒนธรรมหลายๆ อย่างมาจากพม่า และพม่าเองก็ได้รับอิทธิพล
จากประเทศไทย ดังนั้นเราต่างเป็นสังคมพุทธนิกายเถรวาทเช่นเดียวกัน ”
• สังคมพม่าเป็นสังคมพุทธ วัดเป็นศูนย์รวมจิตใจ และเป็นศูนย์กลางในการทากิจกรรมทางสังคม
วันหยุดคนพม่านิยมไปพูดคุย สนทนา นั่งเล่นกันในวัดทั้งวันมากกว่าที่จะไปเดินเล่นตามศูนย์การค้า
แบบคนไทย ดังนั้นคนไทยที่ไปพม่าจึงควรสารวม และปฏิบัติตนตามหลักศาสนาอย่างเคร่งครัด เข้า
วัดต้องถอดร้องเท้า บางบริเวณไม่อนุญาตให้ผู้หญิงเข้า และปฏิบัติต่พระด้วยความเคารพ
• พม่าไม่อนุญาตให้นักท่องเที่ยวถ่ายภาพจุดยุทธศาสตร์ทางการทหารต่างๆ เช่น สนามบิน สถานีรถไฟ
สถานที่ราชการ และค่ายทหาร
• นักท่องเที่ยวแนะนาให้ใช้บริการสถานบันเทิงยามค่าคืนเฉพาะในโรงแรมที่พักมากกว่าออกไปสถาน
บันเทิงบนท้องถนนทั่วไปเป็นต้น
A Publication by www.elifesara.com
Transparency Index 2012
ประเทศ ผลการประเมิน ลาดับที่
สิงคโปร์ 8.7 5
บรูไน 5.5 46
มาเลเซีย 4.9 54
ไทย 3.7 88
ฟิลิปปินส์ 3.4 105
อินโดนีเชีย 3.2 118
เวียตนาม 3.1 123
กัมพูชา 2.2 157
ลาว 2.1 160
พม่า 1.5 172
A Publication by www.elifesara.com
รู้สึกว่าเป็นประชาชนอาเซียน(ปี2008)
1 LAOS 96.0%
2. Cambodia 92.7%
3. Vietnam 91.7%
4. Malaysia 86.8%
8. THAILAND 67.0%
9. Myanmar 59.5%
2. Laos 84.5%
4. THAILAND 68.0%
5. Malaysia 65.9%
7. Cambodia 58.8%
10. Myanmar 9.6%
คุ้นเคยเกี่ยวกับอาเซียนแค่ไหน
A Publication by www.elifesara.com
อยากรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียนอื่นๆมากแค่ไหน
1. Laos 100%
2. Cambodia 99.6%
5. Malaysia 92.9%
7. THAILAND 87.5%
10. Myanmar 77.8%
1 TV 78.4% 10 Family 18.2%
2 School 73.4% 11 Tourist 13.3%
3 News Paper 70.7% 12 Cinema 12.1%
4 Book 65.0% 13 Song 9.2%
5 Internet 49.9% 14 Work 6.1%
6 Radio 40.3%
7 Sport 34.1%
8 Advertising 31.6%
9 Peer 27.6%
รู้เกี่ยวกับอาเซียนจากที่ใด
www.elifesara.com
A Publication by www.elifesara.com
• ศูนย์บริการข้อมูลประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่าง
ประเทศ กระทรวงพาณิชย์
www.dtn.go.th
• http://www.oknation.net/blog/shukur/2009/02/06/entry-1
• ปิติ ศรีแสงนาม, เปลี่ยนมุมคิดพิชิตอาเซียน, สานักพิมพ์ บ้านพระ
อาทิตย์, 2555
• สุรินทร์ พิศสุวรรณ, อาเซียน รู้ไว้ ได้เปรียบแน่, สานักพิมพ์
อมรินทร์, 2555
แหล่งอ้างอิง
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถาม
เพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21Teacher Sophonnawit
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3พัน พัน
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotกรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotWeerachai Jansook
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้ารวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้าthepower mancity
 
ความหมายของนามสกุลเว็บไซต์
ความหมายของนามสกุลเว็บไซต์ความหมายของนามสกุลเว็บไซต์
ความหมายของนามสกุลเว็บไซต์Dooney Seed
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองAj.Mallika Phongphaew
 
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่   กลยุทธ กาแฟบ้านใร่
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่ DrDanai Thienphut
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรประพันธ์ เวารัมย์
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์jeabjeabloei
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงNathpong Tanpan
 

La actualidad más candente (20)

ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
pretest - postest
 
เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3เศรษฐศาสตร์ ม.3
เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotกรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้ารวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
 
ความหมายของนามสกุลเว็บไซต์
ความหมายของนามสกุลเว็บไซต์ความหมายของนามสกุลเว็บไซต์
ความหมายของนามสกุลเว็บไซต์
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
 
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่   กลยุทธ กาแฟบ้านใร่
กลยุทธ กาแฟบ้านใร่
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
เฉลยแบบทดสอบ
เฉลยแบบทดสอบเฉลยแบบทดสอบ
เฉลยแบบทดสอบ
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
2 การเขียนคำคม
2 การเขียนคำคม2 การเขียนคำคม
2 การเขียนคำคม
 

Destacado

ประเทศเวียดนาม
ประเทศเวียดนามประเทศเวียดนาม
ประเทศเวียดนามPare Liss
 
ประเทศบรูไน
ประเทศบรูไนประเทศบรูไน
ประเทศบรูไนPuvapat Bank
 
Media Regulation in Southeast Asia
Media Regulation in Southeast AsiaMedia Regulation in Southeast Asia
Media Regulation in Southeast AsiaNiwWong
 
วิถีชีวิตของชาวประมงในลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง
วิถีชีวิตของชาวประมงในลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง วิถีชีวิตของชาวประมงในลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง
วิถีชีวิตของชาวประมงในลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง Thammasat University
 
01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-designNuNa DeeNa
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์iamaomkitt
 
ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์
ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์
ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์Chainarong Maharak
 
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซียการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซียkrupanisara
 
The Challenges of Protecting Press Freedom in a Divided World
The Challenges of Protecting Press Freedom in a Divided WorldThe Challenges of Protecting Press Freedom in a Divided World
The Challenges of Protecting Press Freedom in a Divided WorldNiwWong
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้Bhayubhong
 
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่นเปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่นKingkarn Saowalak
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokธวัช บุตรศรี
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

Destacado (18)

ประเทศเวียดนาม
ประเทศเวียดนามประเทศเวียดนาม
ประเทศเวียดนาม
 
ประเทศบรูไน
ประเทศบรูไนประเทศบรูไน
ประเทศบรูไน
 
Media Regulation in Southeast Asia
Media Regulation in Southeast AsiaMedia Regulation in Southeast Asia
Media Regulation in Southeast Asia
 
วิถีชีวิตของชาวประมงในลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง
วิถีชีวิตของชาวประมงในลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง วิถีชีวิตของชาวประมงในลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง
วิถีชีวิตของชาวประมงในลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง
 
ส่งงานค่ะ ~
ส่งงานค่ะ ~ ส่งงานค่ะ ~
ส่งงานค่ะ ~
 
01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
 
ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์
ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์
ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศเมียนม่าร์
 
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซียการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
 
แนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลและเจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลและเจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลและเจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลและเจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์
 
The Challenges of Protecting Press Freedom in a Divided World
The Challenges of Protecting Press Freedom in a Divided WorldThe Challenges of Protecting Press Freedom in a Divided World
The Challenges of Protecting Press Freedom in a Divided World
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่นเปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 

Similar a คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน

Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanvorravan
 
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...นายจักราวุธ คำทวี
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECMudhita Ubasika
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3Mudhita Ubasika
 
แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน
แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียนแนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน
แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียนDuangnapa Inyayot
 
ชุดประจำชาติอาเซียน
ชุดประจำชาติอาเซียนชุดประจำชาติอาเซียน
ชุดประจำชาติอาเซียนpolykamon15
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Kruthai Kidsdee
 
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษาครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียนtomodachi7016
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะ
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะงาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะ
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะbarbieeven
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม   การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม solarcell2
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนTeeranan
 
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...Dp' Warissara
 

Similar a คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน (20)

Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู...
 
Asean
AseanAsean
Asean
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน Aec v3
 
แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน
แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียนแนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน
แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน
 
ชุดประจำชาติอาเซียน
ชุดประจำชาติอาเซียนชุดประจำชาติอาเซียน
ชุดประจำชาติอาเซียน
 
Asean m3
Asean m3Asean m3
Asean m3
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์
 
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะ
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะงาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะ
งาน วิชา ค่ายภาษา พัฒนาทักษะ
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม   การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
 
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
โครงงานคอม สื่อการเรียนรู้เรื่อง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (AE...
 

Más de Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 

Más de Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 

คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน