SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
Descargar para leer sin conexión
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ”
โดย ศาสตราจารย์ ดร. อุกฤษ มงคลนาวิน
ประธานกรรมการอิสระว่าด้วยการส่งเสริมหลักนิติธรรมแห่งชาติ (คอ.นธ.)
ประธานรัฐสภา (สมัยปี พ.ศ. ๒๕๒๗ – ๒๕๓๕)
....................................
ข้าพเจ้าเองเป็นบุคคลหนึ่งที่ได้รับเชิญจากรัฐบาลให้เข้าร่วมเวทีสภาปฏิรูป แต่โดยเหตุที่พิจารณาเห็นว่าเวที
ดังกล่าวมีลักษณะเป็นเวทีการเมือง ไม่ใช่วงสนทนาของผู้อาวุโสของบ้านเมืองที่ปลอดจากการเมืองมาร่วม
ด้วยช่วยกันคิดเพื่อหาทางออกให้แก่บ้านเมือง จึงไม่ได้ตอบรับและเข้าร่วม อย่างไร
ก็ตาม ในฐานะประชาชนคนไทยคนหนึ่งที่มีความห่วงใยต่อบ้านเมือง และปณิธานที่ยึดถือแน่วแน่ตั้งแต่เมื่อ
ตอนอายุครบ ๖๐ ปี ที่ว่าจะ “ทิ้งการเมือง แต่ไม่ทิ้งบ้านเมือง” จึงขอให้ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนวทางที่
จะสร้างความปรองดองของคนในชาติต่อรัฐบาล ภายใต้หลัก ๓ ประการ ได้แก่ “หลักนิติธรรม หลัก
ยุติธรรม และหลักเมตตาธรรม” ดังนี้
๑. หลักนิติธรรม
หลักนิติธรรม หมายถึง หลักพื้นฐานแห่งกฎหมาย ที่กฎหมายและกระบวนการยุติธรรมจะต้องไม่ฝ่าฝืน ขัด
หรือแย้งต่อหลักนิติธรรม และหลักนิติธรรมนี้จะถูกล่วงละเมิดไม่ได้ ดังนั้น การออกกฎหมาย การใช้การ
บังคับใช้กฎหมาย การตีความกฎหมาย และดาเนินการในกระบวนการยุติธรรม ต้องอยู่ภายใต้หลักนี้ และที่
สาคัญ หลักนิติธรรม คือ หลักที่ใช้กากับดูแลตรวจสอบอานาจอันไม่ชอบธรรมของรัฐสภาและฝ่ายบริหาร
และเป็นหลักที่ใช้ตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษาตุลาการ
ซึ่งเป็นอานาจอธิปไตยทั้ง ๓ ฝ่าย รวมทั้งรัฐธรรมนูญเองก็ต้องอยู่ภายใต้หลักนิติธรรม
ตามหลักนิติธรรมนั้น บ้านเมืองต้องปกครองโดยกฎหมาย และกฎหมายที่ใช้ปกครองต้องเป็นกฎหมายที่ดี
และมีความเป็นธรรม คาว่ากฎหมายที่ดี คือ กฎหมายที่ไม่ขัดต่อหลักนิติรัฐหรือ
นิติธรรม กฎหมายนั้นต้องให้ความคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน หากกฎหมายฉบับใดออกมาขัด
ต่อหลักการดังกล่าว คือไปละเมิดสิทธิและเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญได้บัญญัติรับรองไว้ จึงเป็นกฎหมายที่ไม่
เป็นไปตามหลักนิติธรรม กรณีการออกกฎหมายเพื่อให้มีผลย้อนหลังเป็นการออกกฎหมายโดยคณะ
รัฐประหารหรือองค์กรที่ไม่ได้มีที่มาจากประชาชน หรือการออกกฎหมายเพื่อเอาผิดกับบุคคลซึ่งไม่มีส่วนรู้
เห็นในการกระทาความผิดของบุคคลอื่นก็เช่นเดียวกัน ล้วนแล้วแต่ไม่เป็นไปตามหลักนิติธรรมซึ่งมีความ
จาเป็นที่จะต้องยกเลิกและแก้ไขปรับปรุงให้เป็นไปตามหลักนิติธรรม
๒. หลักยุติธรรม
ในที่นี้หมายความถึง “กระบวนการยุติธรรม” ที่จะต้องมีการบังคับใช้กฎหมายอย่าง
เท่าเทียมและมีมาตรฐานเดียวกัน เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายมีประสิทธิภาพ คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ
ประชาชนตามหลักนิติธรรม รวมทั้งการสร้างความสมานฉันท์ในสังคม อย่างไรก็ตาม ในช่วงระยะเวลา
ที่ผ่านมา กระบวนการยุติธรรมในสังคมไทยมีปัญหาที่สาคัญ ๒ ประการ คือ ปัญหาความเหลื่อมล้าในการ
เข้าถึงความยุติธรรมของคนกลุ่มต่าง ๆ และปัญหาประสิทธิภาพของกระบวนการยุติธรรม โดยอาจเกิดขึ้น
ด้วยสาเหตุที่สาคัญ ๆ คือ ระบบกฎหมายไทยนาโทษทางอาญามาใช้เกินความจาเป็น การเน้นวิธีลงโทษทาง
อาญาด้วยการจาคุก และปัญหาจากการกาหนดโทษปรับ ซึ่งปรากฏการณ์สะท้อนความผิดปรกติของ
กระบวนการยุติธรรมที่เห็นได้ชัดอย่างหนึ่งก็คือ ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ต้องขังในเรือนจามากกว่า
๒๔๘,๒๖๓ คน โดยที่ความจุปกติของเรือนจา จานวน ๑๔๐ แห่งทั่วประเทศ สามารถรองรับผู้ต้องขังได้
เพียง ๑๖๐,๐๐๐ คน เท่านั้น นอกจากนี้ ปัจจุบันกระบวนการยุติธรรมของไทยยังมีปัญหาหลายมาตรฐาน
ดังนั้น การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมในประเทศไทยจึงเป็นส่วนหนึ่งที่จะทาให้เกิดความสามัคคีปรองดอง
ของคนในชาติ ดังคากล่าวที่ว่า “ความยุติธรรมไม่มี ความสามัคคีไม่เกิด” นั่นเอง
๓. หลักเมตตาธรรม
“เมตตาธรรมค้าจุนโลก” ภาษิตบทนี้เป็นบทที่ได้ยินได้ฟังกันมาจนคุ้นหู หลักเมตตาธรรม จึงเป็นหลักการ
อีกประการหนึ่งที่จะช่วยสร้างความสามัคคีปรองดองของคนในชาติได้ โดยเฉพาะหาก
ศาลยุติธรรมหรือหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมซึ่งเป็นองค์กรที่มีบทบาทสาคัญยิ่งในการคุ้มครองสิทธิ
และเสรีภาพของประชาชน จะได้ทบทวนแนวทางในการบังคับใช้กฎหมายด้วยการยึดมั่นในหลักความ
ยุติธรรม ความเสมอภาค และคานึงถึงสิทธิผู้ต้องหาและจาเลยในคดีอาญา โดยเฉพาะการใช้ดุลพินิจเพื่อ
ปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจาเลยที่ถูกกล่าวหาว่ากระทาความผิดโดยเฉพาะการกระทาความผิดซึ่งไม่ได้เป็น
อาชญากรรมแต่เกิดจากความคิดเห็นทางการเมืองแตกต่างกันนั้น ควรใช้ดุลพินิจในกรอบของหลักเมตตา
ธรรม เพื่อให้สิทธิที่จะได้รับการปล่อยชั่วคราวของผู้ต้องหาหรือจาเลยดังกล่าวได้รับความคุ้มครองสมดัง
เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและตามกฎหมาย
จากหลัก ๓ ประการ ดังที่ได้ยกมาข้างต้น อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า การที่จะทาให้เกิดความปรองดองของคน
ในชาติได้นั้น การบริหารหรือปกครองประเทศต้องยึดหลักนิติธรรม การตรากฎหมายจะต้องไม่ขัดกับหลัก
นิติธรรมเสียเอง ผู้บังคับใช้กฎหมายจะต้องบังคับใช้กฎหมายด้วยความยุติธรรม เพราะหากความยุติธรรมไม่
มี ความสามัคคีก็ไม่เกิด และความยุติธรรมจะมีสองมาตรฐานไม่ได้ นอกจากนี้ ในการบังคับใช้กฎหมายของ
ศาลหรือหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมจะต้องคานึงถึงสิทธิผู้ต้องหา
และจาเลยในคดีอาญา โดยเฉพาะการใช้ดุลพินิจเพื่อปล่อยชั่วคราวนั้น ควรใช้ดุลพินิจในกรอบของหลัก
เมตตาธรรมเป็นสาคัญ.
...........................................
๔ กันยายน ๒๕๕๖

Más contenido relacionado

Destacado

Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Taraya Srivilas
 

Destacado (20)

Okinawa
OkinawaOkinawa
Okinawa
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
 
กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพ
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
 
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-599. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
 
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีบทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
 
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
Peace processes as joint learning processes of stakeholders and insider peace...
 
กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)กล้า ทำ ดี 1(1)
กล้า ทำ ดี 1(1)
 

Más de Taraya Srivilas

Más de Taraya Srivilas (18)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562  นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
 

แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.

  • 1. แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ” โดย ศาสตราจารย์ ดร. อุกฤษ มงคลนาวิน ประธานกรรมการอิสระว่าด้วยการส่งเสริมหลักนิติธรรมแห่งชาติ (คอ.นธ.) ประธานรัฐสภา (สมัยปี พ.ศ. ๒๕๒๗ – ๒๕๓๕) .................................... ข้าพเจ้าเองเป็นบุคคลหนึ่งที่ได้รับเชิญจากรัฐบาลให้เข้าร่วมเวทีสภาปฏิรูป แต่โดยเหตุที่พิจารณาเห็นว่าเวที ดังกล่าวมีลักษณะเป็นเวทีการเมือง ไม่ใช่วงสนทนาของผู้อาวุโสของบ้านเมืองที่ปลอดจากการเมืองมาร่วม ด้วยช่วยกันคิดเพื่อหาทางออกให้แก่บ้านเมือง จึงไม่ได้ตอบรับและเข้าร่วม อย่างไร ก็ตาม ในฐานะประชาชนคนไทยคนหนึ่งที่มีความห่วงใยต่อบ้านเมือง และปณิธานที่ยึดถือแน่วแน่ตั้งแต่เมื่อ ตอนอายุครบ ๖๐ ปี ที่ว่าจะ “ทิ้งการเมือง แต่ไม่ทิ้งบ้านเมือง” จึงขอให้ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนวทางที่ จะสร้างความปรองดองของคนในชาติต่อรัฐบาล ภายใต้หลัก ๓ ประการ ได้แก่ “หลักนิติธรรม หลัก ยุติธรรม และหลักเมตตาธรรม” ดังนี้ ๑. หลักนิติธรรม หลักนิติธรรม หมายถึง หลักพื้นฐานแห่งกฎหมาย ที่กฎหมายและกระบวนการยุติธรรมจะต้องไม่ฝ่าฝืน ขัด หรือแย้งต่อหลักนิติธรรม และหลักนิติธรรมนี้จะถูกล่วงละเมิดไม่ได้ ดังนั้น การออกกฎหมาย การใช้การ บังคับใช้กฎหมาย การตีความกฎหมาย และดาเนินการในกระบวนการยุติธรรม ต้องอยู่ภายใต้หลักนี้ และที่ สาคัญ หลักนิติธรรม คือ หลักที่ใช้กากับดูแลตรวจสอบอานาจอันไม่ชอบธรรมของรัฐสภาและฝ่ายบริหาร และเป็นหลักที่ใช้ตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษาตุลาการ ซึ่งเป็นอานาจอธิปไตยทั้ง ๓ ฝ่าย รวมทั้งรัฐธรรมนูญเองก็ต้องอยู่ภายใต้หลักนิติธรรม ตามหลักนิติธรรมนั้น บ้านเมืองต้องปกครองโดยกฎหมาย และกฎหมายที่ใช้ปกครองต้องเป็นกฎหมายที่ดี และมีความเป็นธรรม คาว่ากฎหมายที่ดี คือ กฎหมายที่ไม่ขัดต่อหลักนิติรัฐหรือ นิติธรรม กฎหมายนั้นต้องให้ความคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน หากกฎหมายฉบับใดออกมาขัด ต่อหลักการดังกล่าว คือไปละเมิดสิทธิและเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญได้บัญญัติรับรองไว้ จึงเป็นกฎหมายที่ไม่ เป็นไปตามหลักนิติธรรม กรณีการออกกฎหมายเพื่อให้มีผลย้อนหลังเป็นการออกกฎหมายโดยคณะ รัฐประหารหรือองค์กรที่ไม่ได้มีที่มาจากประชาชน หรือการออกกฎหมายเพื่อเอาผิดกับบุคคลซึ่งไม่มีส่วนรู้ เห็นในการกระทาความผิดของบุคคลอื่นก็เช่นเดียวกัน ล้วนแล้วแต่ไม่เป็นไปตามหลักนิติธรรมซึ่งมีความ จาเป็นที่จะต้องยกเลิกและแก้ไขปรับปรุงให้เป็นไปตามหลักนิติธรรม ๒. หลักยุติธรรม ในที่นี้หมายความถึง “กระบวนการยุติธรรม” ที่จะต้องมีการบังคับใช้กฎหมายอย่าง
  • 2. เท่าเทียมและมีมาตรฐานเดียวกัน เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายมีประสิทธิภาพ คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ ประชาชนตามหลักนิติธรรม รวมทั้งการสร้างความสมานฉันท์ในสังคม อย่างไรก็ตาม ในช่วงระยะเวลา ที่ผ่านมา กระบวนการยุติธรรมในสังคมไทยมีปัญหาที่สาคัญ ๒ ประการ คือ ปัญหาความเหลื่อมล้าในการ เข้าถึงความยุติธรรมของคนกลุ่มต่าง ๆ และปัญหาประสิทธิภาพของกระบวนการยุติธรรม โดยอาจเกิดขึ้น ด้วยสาเหตุที่สาคัญ ๆ คือ ระบบกฎหมายไทยนาโทษทางอาญามาใช้เกินความจาเป็น การเน้นวิธีลงโทษทาง อาญาด้วยการจาคุก และปัญหาจากการกาหนดโทษปรับ ซึ่งปรากฏการณ์สะท้อนความผิดปรกติของ กระบวนการยุติธรรมที่เห็นได้ชัดอย่างหนึ่งก็คือ ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ต้องขังในเรือนจามากกว่า ๒๔๘,๒๖๓ คน โดยที่ความจุปกติของเรือนจา จานวน ๑๔๐ แห่งทั่วประเทศ สามารถรองรับผู้ต้องขังได้ เพียง ๑๖๐,๐๐๐ คน เท่านั้น นอกจากนี้ ปัจจุบันกระบวนการยุติธรรมของไทยยังมีปัญหาหลายมาตรฐาน ดังนั้น การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมในประเทศไทยจึงเป็นส่วนหนึ่งที่จะทาให้เกิดความสามัคคีปรองดอง ของคนในชาติ ดังคากล่าวที่ว่า “ความยุติธรรมไม่มี ความสามัคคีไม่เกิด” นั่นเอง ๓. หลักเมตตาธรรม “เมตตาธรรมค้าจุนโลก” ภาษิตบทนี้เป็นบทที่ได้ยินได้ฟังกันมาจนคุ้นหู หลักเมตตาธรรม จึงเป็นหลักการ อีกประการหนึ่งที่จะช่วยสร้างความสามัคคีปรองดองของคนในชาติได้ โดยเฉพาะหาก ศาลยุติธรรมหรือหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมซึ่งเป็นองค์กรที่มีบทบาทสาคัญยิ่งในการคุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพของประชาชน จะได้ทบทวนแนวทางในการบังคับใช้กฎหมายด้วยการยึดมั่นในหลักความ ยุติธรรม ความเสมอภาค และคานึงถึงสิทธิผู้ต้องหาและจาเลยในคดีอาญา โดยเฉพาะการใช้ดุลพินิจเพื่อ ปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจาเลยที่ถูกกล่าวหาว่ากระทาความผิดโดยเฉพาะการกระทาความผิดซึ่งไม่ได้เป็น อาชญากรรมแต่เกิดจากความคิดเห็นทางการเมืองแตกต่างกันนั้น ควรใช้ดุลพินิจในกรอบของหลักเมตตา ธรรม เพื่อให้สิทธิที่จะได้รับการปล่อยชั่วคราวของผู้ต้องหาหรือจาเลยดังกล่าวได้รับความคุ้มครองสมดัง เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและตามกฎหมาย จากหลัก ๓ ประการ ดังที่ได้ยกมาข้างต้น อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า การที่จะทาให้เกิดความปรองดองของคน ในชาติได้นั้น การบริหารหรือปกครองประเทศต้องยึดหลักนิติธรรม การตรากฎหมายจะต้องไม่ขัดกับหลัก นิติธรรมเสียเอง ผู้บังคับใช้กฎหมายจะต้องบังคับใช้กฎหมายด้วยความยุติธรรม เพราะหากความยุติธรรมไม่ มี ความสามัคคีก็ไม่เกิด และความยุติธรรมจะมีสองมาตรฐานไม่ได้ นอกจากนี้ ในการบังคับใช้กฎหมายของ ศาลหรือหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมจะต้องคานึงถึงสิทธิผู้ต้องหา และจาเลยในคดีอาญา โดยเฉพาะการใช้ดุลพินิจเพื่อปล่อยชั่วคราวนั้น ควรใช้ดุลพินิจในกรอบของหลัก เมตตาธรรมเป็นสาคัญ.