SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 35
Descargar para leer sin conexión
บทบาทสตรีเพื่อสันติภาพ
ในจังหวัดชายแดนใต้
สรุปโดย พลเอกเอกชัย ศรีวิลาศ
๒. พัฒนาศักยภาพ และเพิ่มโอกาส ซึ่งสตรีไทยมีความรู้ ความสามารถ โดยเฉพาะภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอดมายาวนาน เพียงแค่ได้รับโอกาส และการต่อยอดที่ถูกต้อ
๓. การพัฒนาสุขภาวะ คุณภาพชีวิต ในความมั่นคงของชีวิต ซึ่งสตรีต้องดูแลสุขภาพ ตั้งแต่แรกเกิด อยู่ในครรภ์ จนถึงผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส กระทรวงสาธารณส
๔. การพัฒนาศักยภาพสตรีที่จะเพิ่มโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมทั้งทางการเมือง การบริหาร และการตัดสินใจในระดับต่างๆ ซึ่งตรงนี้รัฐบาลอยากเห็นการมีส่วนร่วมของภ
๕. การเสริมสร้างการพัฒนาศักยภาพ และกลไกของสตรีในระดับองค์กร และทุกชุมชน รัฐบาลพร้อมเป็นแกนกลางทางานร่วมกับทุกองค์กร เพื่อร่วมกันผลักดันศัก
วัตถุประสงค์ของโครงการ ( STATE OF PURPOSE )
• เพื่อเสริมสร้างกระบวนการสันติภาพ และความมั่นคงให้เกิดขึ้นในจังหวัด
ชายแดนใต้
• เพื่อผลักดันให้เกิดการสนับสนุน การส่งเสริมสันติภาพ ด้วยความร่วมมือ
ของทุกกลุ่มพลังโดยเฉพาะกลุ่มผู้หญิงในชายแดนใต้
• เพื่อเสริมสร้างศักยภาพ โอกาสและความพร้อมของผู้หญิงในจังหวัดชายแดน
ใต้ในการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการสันติวิธี
• เพื่อสร้างองค์ความรู้ฐานข้อมูล และองค์กรเครือข่ายสตรีชายแดนใต้ที่
เข้มแข็งทั้งในแนวคิดและแนวทางปฏิบัติ โดยการแลกเปลี่ยนบทเรียนเกี่ยวกับ
การลดการใช้ความรุนแรง และการใช้กระบวนการพูดคุยเพื่อสันติภาพ
• เพื่อมีรายงานข้อเสนอแนะแนวนโยบายระดับชาติในการสร้างกระบวนการ
สันติภาพและความมั่นคงให้เกิดขึ้นได้โดยเฉพาะการขับเคลื่อนในกลุ่มสตรี
ชายแดนใต้
การขับเคลื่อนประเด็นต่างๆ
• ผู้หญิงกับการสร้างบรรยากาศต่อการแลกเปลี่ยนความรู้และ
ประสบการณ์ด้านสันติภาพ
• สิทธิและความเป็นธรรมของสตรี(การเมือง เศรษฐกิจและ
อาชีพ การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม กระบวนการยุติธรรม
และสิทธิมนุษยชน การเยียวยา )
• สร้างเครือข่ายความร่วมมือของกลุ่มผู้หญิงในจังหวัด
ชายแดนใต้
• สร้างองค์ความรู้เพื่อการขับเคลื่อนในกระบวนการสันติภาพ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
 สร้างยุทธศาสตร์และเครื่องมือชุดหนึ่งที่จะทาให้เราได้ กรอบ
พื้นฐานในการทาโครงการต่อไป (Baseline) กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
นักวิชาการที่ปรึกษาในเวที กิจกรรม โครงการเกี่ยวข้องกับสตรี
ภาคใต้ (Consultation Group) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (Policy
Recommendation) เพื่อที่เราจะเอาผลการศึกษาที่ได้ไปทาเดินการต่อ
ในการขับเคลื่อนสู่ระดับนโยบาย หรือเลือกมาเพื่อทาโครงการอื่นอีก
 สร้างชุดฐานข้อมูลองค์ความรู้สตรีกับสันติภาพในจังหวัดชายแดน
ใต้ โดยขับเคลื่อนจากประเด็นสาคัญในพื้นที่และใช้กระบวนการถอด
บทเรียนในการนาเสนอ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
• สร้างชุดฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในการรวบรวมองค์กรเครือข่ายสตรี
ในจังหวัดชายแดนใต้
• สร้างตัวชี้วัดเกี่ยวกับเพศสภาพ (Gender Indicator)ที่สามารถ
เชื่อมโยงกับเชิงสถาบัน เพื่อทาให้ผู้หญิงมีพื้นที่ ในกระบวนการสร้าง
สันติภาพ
• เสริมพลังศักยภาพกลุ่มสตรีในจังหวัดชายแดนใต้ให้มีบทบาทใน
กระบวนการสร้างสันติภาพและบทบาทในการพัฒนามากขึ้น
 Network
เครือข่ายสตรี
 เครือข่ายศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์
ภาคใต้
 เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคม
 เครือข่ายบุคคลนางสุกัญญา บุญสนิท
 เครือข่ายกลุ่มสตรีกาปง
 เครือข่ายกลุ่มสตรีบางปู
 เครือข่ายสถานีวิทยุร่วมด้วยช่วยกัน
สลาตัน
 เครือข่ายร่วมด้วยช่วยกันสลาตัน
 เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคม
 เครือข่ายผู้หญิงภาคประสาสังคมในสาม
จังหวัดชายแดนใต้
 เครือข่ายบุคคลนางวาลือเมาะ เงาะ
 เครือข่ายบุคคลรอซีดะ ปูตะ
 เครือข่ายบุคคลรัตนา ดือเระซอ
 เครือข่ายกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เชากูน่า
 เครือข่ายบุคคลนางสาวเลขา เกลี้ยวเกลา
 เครือข่ายสตรีชายแดนใต้
 เครือข่ายบุคคลนางสาวสุรีณี เปาะนิ
 เครือข่ายกลุ่ม Meedee Center
 เครือข่ายบุคคลนิฤมล พรหมเดชะ
 เครือข่ายบุคคลนางรุจิพร ณรงพิทัก์
 เครือข่ายบุคคลนางกรวิภา ขวัญเพชร
เครือข่ายสตรี
 เครือข่ายบุคคลสุวรรณมณี นิมมานรัตน์
 เครือข่ายบุคคลนางรอปีอะ สาแม
 เครือข่ายบุคคลนางชญาทิตย์ จิตหลัง
 เครือข่ายบุคคลนางสมปอง อัดอินโหม่ง
 เครือข่ายบุคคลอันชิฌา แสงชัย
 เครือข่ายบุคคลนางสิริพร ทองจินดา
 เครือข่ายกลุ่มผลิตชาเจ๊ะเหม (กลุ่มอาชีพ
 เครือข่ายกลุ่มสตรีทาขนมเพื่อส่งเสริมอาชีพ
 เครือข่ายชมรมมุสลีมะห์นราธิวาส
 เครือข่ายกองทุนสวัสดิการเทศบาลตาบลยี่งอ
 เครือข่ายภาคประชาสังคม
 เครือข่ายศวชต.มนร.
 เครือข่ายกลุ่มอานาซีด ตากใบ จ.นราธิวาส
 เครือข่ายศูนย์ยุติธรรมชุมชน อ.ตากใบ จ.นราธิวาส
 เครือข่ายสตรีสานสัมพันธ์สู่สันติสุข (ชอชิกข์)
 เครือข่ายผู้หญิงยุติความรุนแรงแสวงสันติภาพ
• เครือข่ายผู้หญิงยุติความรุนแรงแสวงสันติภาพในสามจังหวัดชายแดนใต้
• เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้
• เครือข่ายมูลนิธิศูนย์ทนายความมุสลิมจังหวัดปัตตานี
• เครือข่ายกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปมะพร้าวบ้านทอนอามาน
• เครือข่ายผู้หญิงปกป้องสิทธิมนุษยชนปาตานี (Wanita fatani)
เครือข่ายสตรี
 เครือข่ายบุคคลนางสุชาดา พันธ์นรา
 เครือข่ายบุคคลนางชูติมา เพ็ชร์รัตน์
 เครือข่ายบุคคลนางสาวสุดสาย แดงดี
 เครือข่ายบุคคลนางไพจิต ศรีทอง
 เครือข่ายบุคคลนางซียะ หนูภิรมย์
 เเครือข่ายบุคคลนางนารีรัตน์ ลาเตะ
 เครือข่ายบุคคลนางสุธินี สุวรรณ
 เครือข่ายบุคคลนางวิไล สุวรรณธนู
 เครือข่ายบุคคลนางเตือนจิตต์ ไพจิตร
 เครือข่ายบุคคลนางนรานารี สันติราพงต์
 เครือข่ายบุคคลนางจาปา นิลวงศ์
 เครือข่ายบุคคลนางสาววรรณี แวดือเร๊ะ
 เครือข่ายบุคคลนางอรสา เงินมาก
 เครือข่ายบุคคลนางกันยา ชัยโรจน์สัมพันธ์
 เครือข่ายบุคคลนางสมศรี จิตเชาวนะ
 เครือข่ายบุคคลนางสาววัชรินทร์ หวนทอง
 เครือข่ายบุคคลนางสาวละม่อม พรหมปลอด
 เครือข่ายบุคคลนางสาวอารีย์ สบายยิ่ง
 เครือข่ายบุคคลนางสุริยา สัจจาพันธุ์
 เครือข่ายบุคคลนางเพ็ญศรี รามสินธุ์
เครือข่ายสตรี
 เครือข่ายนางวัชรี ชูเลิศ
 เครือข่ายนางสมจิต ใจดารง
 เครือข่ายนางทิพยมาศ ลิ้มสุชาติ
 เครือข่ายนางณัฐวดี สิงห์ลอ
 เครือข่ายนางวิไล จันทรัตนะ
 เครือข่ายนางดวงดาว สุขจิตเกษม
 เครือข่ายนางเอกจิตรา เมืองสง
 เครือข่ายนางอารียา มามะ
 เครือข่ายนางสาวนลพรรณ ขวัญซ้าย
 เครือข่ายนางสาวสุวรรณี ตั้งสิริวรกุล
 เครือข่ายนางปฐมรัตน์ เพียรมาก
 เครือข่ายนางสาววรรณา รอมะ
 เครือข่ายนางดารินา สะมะแอ
 เครือข่ายนางสาวจารุวรรณ คงทน
 เครือข่ายนางสตีวรรณ แอเสาะหะมะ
 เครือข่ายนางพรรณนิภา สิงห์สุวรรณ์
 เครือข่ายนางสาวมณฑา นวลเสน
 เครือข่ายนางสาวชนิดา บุญญะรัตนะ
 เครือข่ายนางสาวนนท์นราพร เพชรมณี
 เครือข่ายนางสาวนวรัตน์ เพ็ชรเรือนทอง
 เครือข่ายนางสาวรัตนาพร เทพษร
 เครือข่ายนางปัทมา อิสเฮาะ
 เครือข่ายนางพจนารถ แก้วเพชร
 เครือข่ายนางเกสร ทนงาน
 เครือข่ายนางสาวจันทรา ไวทย์รุ่งโรจน์
 เครือข่ายนางอุไร บุณยาดิศัย
 เครือข่ายนางรอฮีหมะ เหฮะดุหวี
 เครือข่ายนางสาวนริศรา แดสามัญ
 เครือข่ายนางสาวยามีละห์ เจะเตะ
 เครือข่ายนางสาวนิตยา หลีหมัน
 เครือข่ายนางสาววิมล เจ๊ะอุบง
 เครือข่ายนางสาวรอซีด๊ะ ยูโซ๊ะ
 เครือข่ายนางสาวสุภัคชญา จันทร์ประภา
 เครือข่ายนางซัยนุง ยะโกะ
 เครือข่ายนางสาวนัสรีญา สาแลแว
 เครือข่ายนางสาวฮุสนี สะแม
 เครือข่ายนางบุษบา แวหะมะ
 เครือข่ายนางวิไล สังข์วิชัย
 เครือข่ายนางปาวีรัตน์ ศิริพิธาวัฒน์
 เครือข่ายนางภูยีหย๊ะ กะจิ
 เครือข่ายนางสาวอรัญญา หนูแก้ว
 เครือข่ายนางเต็มดวง วงศา
 เครือข่ายนางซามีฮะ อูเซ็ง
 เเครือข่ายนางซาลือมา กูโน
 เครือข่ายนางสาวกูยะห์ มานิ๊
 เครือข่ายนางวานิตา หะยีเจ๊ะแว
 เครือข่ายนางสาวศิรดา ศรีของไทย
 เครือข่ายนางกัญญา บุญทอง
 เครือข่ายนางสาวสุมิตรา นิลทับทิม
 เครือข่ายนางสาวอุบะ สุขสมบูรณ์
 เครือข่ายนางรอกายะห์ ลาแม็ง
 เครือข่ายนางกินรี นวลเปียน
 เครือข่ายนางวราพร นิบูร์
 เครือข่ายนางสาวนที อัตถเจริญสุข
 เครือข่ายนางสาวนิสา สว่างรัตน์
 เครือข่ายนางสาวพอพรรณ บัวมาศ
 เครือข่ายนางสาสุพิศ ศรีอินทร์
 เครือข่ายนางอุบล วัฒนศักดิ์ภูบาล
 เครือข่ายนางนิษากร แก้วจันทร์
 เครือข่ายนางพรอาไพ ทองมณีการ
 เครือข่ายนางสาวกชพร ภัทรปฐมธัช
 เครือข่ายนางภิรมย์ ลิตตะหิรัญ
 เครือข่ายบุคคลนางอุไรวรรณ ศรีสุข
 เครือข่ายนางวิโรจน์ จงอุรุดี
 เครือข่ายนางชีวาพร แก้วรงค์
 เครือข่ายนางอรสา ศรีทองนวล
 เครือข่ายนางสาวเนตรชนก แสงเจริญ
 เครือข่ายนางจุรี เพชรพงศ์
 เครือข่ายนางสาวนทวรรณ แก้วมรกฎ
 เครือข่ายนางสาวฐิตา พรหมรัตน์
 เครือข่ายนางสาวภควรรณ โชติพนัง
 เครือข่ายนางสาวชนากานต์ สุวรรณโน
 เครือข่ายส.ต.ต.หญิงสุมล จารุสาร
 เครือข่ายนางสาวศศิธร ณ นคร
 เครือข่ายนางสาวปัทมมา จูงศิริ
FOCUS GROUPS
ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา
 Government Policy
นโยบายในการพัฒนาสตรีไทย ของรัฐบาล
 มุ่งมั่นยกระดับศักยภาพของสตรีไทยให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างยั่งยืน และดารงอยู่ได้บน
เวทีโลกอย่างสมศักดิ์ศรี สตรีไทยมีความเก่ง มีความรู้ ความสามารถ เพียงแค่ขอโอกาส
แสดงศักยภาพอย่างเต็มที่ และยืนเคียงข้างสุภาพบุรุษอย่างสมศักดิ์ศรี นโยบายในการ
พัฒนาบทบาทสตรี ตามกรอบยุทธศาสตร์ใหญ่ ๕ ยุทธศาสตร์ คือ
 ๑. เสริมสร้างความเข้าใจ และทัศนคติที่ดีต่อสตรี และยอมรับในความเสมอภาค ระหว่าง
หญิงกับชาย เชื่อว่าสังคมไทยเปิดกว้างในเรื่องของสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของสตรี
ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญที่สตรีที่จะแสดงบทบาทอย่างสมศักดิ์ศรี ทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ
สังคม หรือแม้กระทั่งการเมือง
นโยบายในการพัฒนาสตรีไทย ของรัฐบาล
 ๒. พัฒนาศักยภาพ และเพิ่มโอกาส ซึ่งสตรีไทยมีความรู้ ความสามารถ โดยเฉพาะภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอดมายาวนาน เพียงแค่ได้รับโอกาส และการต่อยอดที่ถูกต้อง ทาให้
สตรีสามารถหาเลี้ยงตัวเอง เลี้ยงครอบครัวได้
 ๓. การพัฒนาสุขภาวะ คุณภาพชีวิต ในความมั่นคงของชีวิต ซึ่งสตรีต้องดูแลสุขภาพ
ตั้งแต่แรกเกิด อยู่ในครรภ์ จนถึงผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกัน
พัฒนาคุณภาพชีวิตสตรี เพื่อความมั่นคง ปลอดภัย ทั้งระดับครอบครัว ชุมชน และ
สังคม
นโยบายในการพัฒนาสตรีไทย ของรัฐบาล
 ๔. การพัฒนาศักยภาพสตรีที่จะเพิ่มโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมทั้งทางการเมือง การบริหาร
และการตัดสินใจในระดับต่างๆ ซึ่งตรงนี้รัฐบาลอยากเห็นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ความเป็นผู้นาของสตรีไทย มีความรู้ ความสามารถ จะดึงศักยภาพนี้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
ของประเทศ ให้มีความเข้มแข็ง
 ๕. การเสริมสร้างการพัฒนาศักยภาพ และกลไกของสตรีในระดับองค์กร และทุกชุมชน
รัฐบาลพร้อมเป็นแกนกลางทางานร่วมกับทุกองค์กร เพื่อร่วมกันผลักดันศักยภาพสตรี
รัฐบาลจะบูรณาการทุกระทรวงในการเสริมสร้างศักยภาพของสตรี และกองทุนพัฒนาเป็น
อีกบทบาทหนึ่งของรัฐบาล หรือเป็นกลไกที่จะต่อยอดเสริมสร้างศักยภาพสตรีให้สามารถ
เข้าถึงแหล่งเงินทุน
ร่าง
ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
พ.ศ. 2556-2559
ผ่านการเห็นชอบ คกส. ใน 29 ตุลาคม 2555
มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์
(เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์)
มิติคุณภาพการให้บริการ (ความต้องการของลูกค้า)
มิติประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (ประเด็นยุทธศาสตร์)
มิติการพัฒนาองค์การ (ปัจจัยในการบริหาร)
ร่างแผนที่ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ.2556-2559
ที่ปรึกษา และเลขาฯ
ที่รู้รอบ รู้ลึก ตั้งใจ
แนวคิดและระบบการสนับสนุน
เพื่อการบริหารกองทุนอย่างมี
ศักยภาพ
ขับเคลื่อนนโยบาย
กองทุนฯ ของรัฐบาล อย่าง
มีประสิทธิภาพ
ข้อมูล การสนับสนุน
และเครือข่ายความร่วมมือ
กองทุนฯ เป็นแหล่งทุนในการพัฒนาศักยภาพสตรี
ให้มีความเข้มแข็งและพึ่งตนเองได้
พัฒนาระบบ
บริหารทรัพยากรบุคคล
พัฒนาระบบ
บริหารสานักงานกองทุนที่เอื้อ
ต่อการบริหารการเปลี่ยนแปลง และ
การพัฒนานวัตกรรม
พัฒนาระบบ
การสนับสนุนการทาหน้าที่
ของคณะกรรมการกองทุน
พัฒนาระบบ IT
สนับสนุนการบริหาร
และการบริการ
เสริมสร้างวัฒนธรรมและ
ค่านิยมองค์กร
เงินทุน โครงการ กิจกรรม
ที่เพิ่มศักยภาพให้เข้มแข็งและ
พึ่งตนเองได้
“สร้างสรรค์พลังสตรี ให้เป็นพลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ”
แผนยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2556-2559
วิสัยทัศน์ : สร้างสรรค์พลังสตรี ให้เป็นพลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์
1. พัฒนาศักยภาพสตรี 1.1 สร้างเสริมทักษะชีวิต และค่านิยมสร้างสรรค์ของเยาวสตรีไทย
1.2 พัฒนาศักยภาพผู้นาสตรี และสร้างภาวะผู้นา
1.3 ส่งเสริมการพัฒนาครอบครัว
1.4 ส่งเสริมบทบาทสตรีในการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น และการเมือง
ทุกระดับ
1.5 ส่งเสริมบทบาทสตรี และองค์กรสตรีในระดับประเทศ
ประชาคมอาเซียน และประชาคมโลก
2. พัฒนาอาชีพสตรี
สร้างงาน สร้างรายได้
ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
2.1 สนับสนุนการเข้าถึงองค์ความรู้ แหล่งทุน และบริการต่าง ๆ
2.2 พัฒนาทักษะฝีมือ และยกระดับฝีมือแรงงานสตรี
2.3 ส่งเสริมให้เป็นผู้ประกอบการ และส่งเสริมผู้ประกอบการสตรี
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์
3. พัฒนาคุณภาพชีวิตของ
สตรี และผู้ด้อยโอกาส
3.1 สนับสนุนการจัดชุมชนสวัสดิการ
3.2 เสริมสร้างระบบในการช่วยเหลือดูแลสตรี และผู้ด้อยโอกาส
3.3 ส่งเสริมให้เกิดระบบในการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิของสตรี
3.4 ส่งเสริมสุขภาวะ และสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ของสตรี
4. พัฒนาศักยภาพกองทุน
พัฒนาบทบาทสตรี
4.1 ส่งเสริมการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
4.2 พัฒนาระบบสนับสนุนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
4.3 สร้างเครือข่ายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีทุกระดับ
ทิศทางการพัฒนาสตรีตามแนวทางการทางานระหว่างประเทศ
การประชุมองค์การความร่วมมืออิสลาม (OIC) เมื่อ 4-6 ธันวาคม 2012 ภายใต้
หัวข้อ การเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของสตรีและบทบาทสตรีต่อการพัฒนาทาง
เศรษฐกิจในกลุ่มประเทศ OIC มีข้อตกลงที่ประกาศร่วมกัน ดังนี้
 ให้ความสาคัญต่อกระแสความเสมอภาคทางเพศ ในฐานะที่เป็นกุญแจหลักที่
นาไปสู่การสร้างความเสมอภาคทางเพศ ความยุติธรรมระหว่างเพศ และการ
เสริมพลังการทางานให้แก่ผู้หญิงในทุกมิติ
 สนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยยึดบุคคลเป็นศูนย์กลางการพัฒนา รวมไป
ถึง การพัฒนาทางเศรษฐกิจผ่านการเตรียมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษา
ตลอดชีวิต การเรียนรู้ด้วยตนเองและการฝึกอบรม และการจัดหาบริการสุขภาพ
ขั้นพื้นฐานให้แก่ผู้หญิงและเด็กหญิง
ทิศทางการพัฒนาสตรีตามแนวทางการทางานระหว่างประเทศ
 การพัฒนามาตรการที่นาไปสู่การขจัดปัญหาความยากจน โดยการส่งเสริมให้ผู้หญิงมีงานทา
และเป็นงานที่มีคุณค่า รวมถึง ขจัดปัญหาเชิงโครงสร้างและกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการ
ทางานของผู้หญิง การเสริมสร้างโอกาสและศักยภาพทางการพัฒนาเศรษฐกิจแก่ผู้หญิงเพื่อให้
สามารถพึ่งพาตนเองได้ ทั้งที่เป็นอาชีพในลักษณะการประกอบอาชีพในครัวเรือน และการ
ประกอบอาชีพในอุตสาหกรรม
 การสร้างมาตรการทางสังคมที่เฉพาะเจาะจงและทันสมัยที่นาไปสู่การขจัดการแบ่งแยกผู้หญิง
และเด็กหญิงในการมีส่วนร่วมกิจกรรมการตัดสินใจทุกระดับ และการมีส่วนร่วมในมรดก และ
ส่งเสริมให้ผู้หญิงได้เป็นผู้แทนในการเสนอกฎหมาย การบริหารและองค์คระศาลยุติธรรม การ
เป็นคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทางานที่แต่งตั้งจากภาคส่วนต่างๆ
 การเพิ่มโอกาสผู้หญิงเพื่อให้เข้าถึงบริการทางสังคมและสุขภาพ รวมถึง การจัดตั้งกองทุนและ
การสนับสนุนงบประมาณที่เพียงพอต่อการช่วยเหลือผู้หญิงเด็กหญิง และกลุ่มชายขอบที่ไม่มีด
โอกาสในการเข้าถึงบริการ หรือ ที่มีฐานะยากจนในการเข้าถึงบริการทางสังคมและสุขภาพ
ทิศทางการพัฒนาสตรีตามแนวทางการทางานระหว่างประเทศ
 ให้มีการจัดบริการทางการศึกษาให้แก่เด็กและผู้หญิงในหลากหลายรูปแบบ เช่น การฝึกอาชีพ
เพื่อยกระดับ เพื่อพัฒนาทักษะการทางาน และเพิ่มศักยภาพของผู้หญิงในการเข้าถึงแหล่งงาน
ในตลาดแรงงานได้
 การพปรับปรุงคุณภาพการศึกษาทุกระดับ ผ่านการปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ การ
ฝึกอบรมครูผู้สอน และการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน
 การพัฒนาหลักสูตรที่ให้ความสาคัญกับความอ่อนไหวทางเพศสาหรับทุกโปรแกรมการศึกษา
การกาหนดมาตรการที่เป็นรูปธรรมเพื่อตรวจสอบสื่อการเรียนการสอนที่ไม่แบ่งแยกทางเพศ
และเป็นการวางรากฐานในการทางานที่นาไปสู่การไม่แบ่งแยกทางเชื้อชาติ ศาสนาและ
วัฒนธรรม
 เพิ่มจานวนนักเรียน นักศึกษาหญิง ควบคู่ไปกับการคงรักษาจานวนนักเรียน นักศึกษาหญิง
โดยการสนับสนุนให้มีการจัดทุนการศึกษา การเข้าถึงแหล่งทุนทางการศึกษา การสนับสนุน
ครอบครัวและชุมชน การสนับสนุนเงินและแรงจูงใจให้กับครอบครัว รวมถึง การจัดการศึกษา
ภาคบังคับในลักษณะไม่เสียค่าใช้จ่าย
ทิศทางการพัฒนาสตรีตามแนวทางการทางานระหว่างประเทศ
 กลุ่มชายขอบต่างๆ เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายเหล่านี้สามารถเข้าถึงความยุติธรรม และ
สามารถนาไปใช้ในการเข้าถึงทรัพยากรที่นาไปสู่การลดปัญหาความยากจน และความไม่
ยุติธรรมต่างๆ ทั้งนี้ การพัฒนาแนวทางตามกฎหมายที่ว่านี้ จะต้องให้ความสาคัญกับมุมมอง
ความเสมอภาคทางเพศทั้งในทางกาหมาย และโอกาสการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม สถาบัน
องค์กรราชการและภาคประชาสังคมในการสนับสนุนการทางานของผู้หญิง
 การพัฒนาโปรแกรมที่เหมาะสมภายใต้บรรยากาศทางสังคมที่ทาให้รู้สึกปลอดภัย ผ่านรูปแบบ
การทางานเครือข่าย เพื่อช่วยเหลือผู้หญิงที่มีฐานะยากจน ด้วยการสร้างระบบการช่วยเหลือ
ทางการเงิน และการฝึกอบรมต่างๆ ที่สอดคล้องกับความจาเป็นและความต้องการเพื่อเติมเต็ม
ทักษะ และศักยภาพที่จาเป็นต่อการดาเนินชีวิตของผู้หญิง
 การยอมรับที่จะนาทุกมาตรการข้างต้นไปใช้เพื่อขจัดการใช้ความรุนแรงในทุกรูปแบบที่มีต่อการ
ดารงชีพของผู้หญิงภายใต้ Israeli’s occupation
 ให้ความสาคัญต่อการดารงชีพของผุ้หญิงท่ามกลางความชัดแย้งรูปแบบต่างๆ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัดชายแดนภาคใต้ ศอ.บต.
 ยุทธศาสตร์ที่ 1การสร้างเจตคติและการยอมรับสิทธิ บทบาทหญิง-ชาย
 ยุทธศาสตร์ที่ 2พัฒนาศักยภาพด้านเศรษฐกิจ และการเพิ่มโอกาส รวมถึง สิทธิทาง
สังคมของผู้หญิงในจังหวัดชายแดนภาคใต้
 ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาสุขภาวะ สิทธิ อนามัยเจริญพันธุ์ คุณภาพชีวิต และการ
เสริมสร้างความมั่นคงในชีวิตของผู้หญิง
 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การคุ้มครองสิทธิ และการเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิง
 ยุทธศาสตร์ที่ 5พัฒนาศักยภาพผู้หญิงเพื่อเพิ่มโอกาสในการมีส่วนร่วมทาง การเมือง
การบริหารและการตัดสินใจทุกระดับ
 ยุทธศาสตร์ที่ 6ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมและเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้หญิง
และเด็ก
 ยุทธศาสตร์ที่ 7 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้หญิงมีส่วนร่วมในกระบวนการสร้าง
สันติภาพ
 ยุทธศาสตร์ที่8ส่งเสริมและสนับสนุนกลไกการขับเคลื่อนแบบบูรณาการดาเนินงาน
ด้านสตรีทุกภาคส่วน
แผนปฏิบัติการของ ศอ.บต.
แผนปฏิบัติการที่ 1 แผนบริหารจัดการโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วนและการติดตาม
ประเมินผล
5. สนับสนุนการอยู่ร่วมกันอย่างหลากหลายแตกต่างทางชาติพันธุ์ ศาสนา ภาษา ให้คานึงถึงความเสมอภาค เท่า
เทียม โดยส่งเสริมปัญญาชนทั้งพุทธ มุสลิม กลุ่มผู้นาศาสนา ผู้นาท้องถิ่น กลุ่มเยาวชนและสตรี และการสร้าง
เครือข่าย หรือกลุ่มที่มีศักยภาพสนับสนุน กระบวนการพูดคุยเพื่อสันติภาพ ด้วยการสื่อสารและทาความเข้าใจ กับ
ประชาชนทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมทั้งองค์กรระหว่างประเทศ และประชาคมโลก
6. ส่งเสริมและสนับสนุน กลุ่ม พลังเยาวชน กลุ่มสตรีภาคประชาสังคม และกลุ่มที่มีศักยภาพในพื้นที่ในการร่วมสร้าง
ความรัก ความเข้าใจ การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนภาคใต้ และการสร้างความเข้าใจที่ดี
กับสังคมภายในและภายนอกประเทศ
แผนปฏิบัติการที่ 7 แผนยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน พัฒนาการท่องเที่ยวและกีฬา ให้สอดคล้อง
กับบริบทของพื้นที่
กลยุทธ์
1. ประชาชนผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตการส่งเสริมการรับรู้ของมารดา และเพิ่มการสนับสนุน การ
ปกครองส่วนท้องถิ่น สาหรับ ส่งเสริมให้ เด็กเล็ก เข้าถึงผู้ปกครองที่เหมาะสม และมีระบบการกระตุ้นพัฒนาการที่
ดี การสร้างอาชีพและสวัสดิการสังคม อย่างทั่วถึง เท่าเทียมกับประชาชนในภูมิภาคอื่น ๆ และสอดคล้องกับอัต
ลักษณ์ในพื้นที่
2. ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทสตรี ให้มีส่วนร่วมในครอบครัว ชุมชชน และสังคม มากขึ้น เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต
ผู้ด้อยโอกาส ผู้ได้รับผลกระทบ

Más contenido relacionado

Destacado

กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพTaraya Srivilas
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันTaraya Srivilas
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกTaraya Srivilas
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกTaraya Srivilas
 
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นTaraya Srivilas
 
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียนธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียนTaraya Srivilas
 
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558Taraya Srivilas
 
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นTaraya Srivilas
 
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่นความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่นTaraya Srivilas
 
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราชผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราชTaraya Srivilas
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมTaraya Srivilas
 
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...Taraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งTaraya Srivilas
 
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.Taraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย Taraya Srivilas
 

Destacado (20)

กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพ
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
 
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
 
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียนธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
 
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
 
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
 
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่นความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
 
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราชผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
 
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
 
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
 

Más de Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.Taraya Srivilas
 
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจกปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจกTaraya Srivilas
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก OhmTaraya Srivilas
 

Más de Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
 
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจกปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 

บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้

  • 1. บทบาทสตรีเพื่อสันติภาพ ในจังหวัดชายแดนใต้ สรุปโดย พลเอกเอกชัย ศรีวิลาศ ๒. พัฒนาศักยภาพ และเพิ่มโอกาส ซึ่งสตรีไทยมีความรู้ ความสามารถ โดยเฉพาะภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอดมายาวนาน เพียงแค่ได้รับโอกาส และการต่อยอดที่ถูกต้อ ๓. การพัฒนาสุขภาวะ คุณภาพชีวิต ในความมั่นคงของชีวิต ซึ่งสตรีต้องดูแลสุขภาพ ตั้งแต่แรกเกิด อยู่ในครรภ์ จนถึงผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส กระทรวงสาธารณส ๔. การพัฒนาศักยภาพสตรีที่จะเพิ่มโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมทั้งทางการเมือง การบริหาร และการตัดสินใจในระดับต่างๆ ซึ่งตรงนี้รัฐบาลอยากเห็นการมีส่วนร่วมของภ ๕. การเสริมสร้างการพัฒนาศักยภาพ และกลไกของสตรีในระดับองค์กร และทุกชุมชน รัฐบาลพร้อมเป็นแกนกลางทางานร่วมกับทุกองค์กร เพื่อร่วมกันผลักดันศัก
  • 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ ( STATE OF PURPOSE ) • เพื่อเสริมสร้างกระบวนการสันติภาพ และความมั่นคงให้เกิดขึ้นในจังหวัด ชายแดนใต้ • เพื่อผลักดันให้เกิดการสนับสนุน การส่งเสริมสันติภาพ ด้วยความร่วมมือ ของทุกกลุ่มพลังโดยเฉพาะกลุ่มผู้หญิงในชายแดนใต้ • เพื่อเสริมสร้างศักยภาพ โอกาสและความพร้อมของผู้หญิงในจังหวัดชายแดน ใต้ในการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการสันติวิธี • เพื่อสร้างองค์ความรู้ฐานข้อมูล และองค์กรเครือข่ายสตรีชายแดนใต้ที่ เข้มแข็งทั้งในแนวคิดและแนวทางปฏิบัติ โดยการแลกเปลี่ยนบทเรียนเกี่ยวกับ การลดการใช้ความรุนแรง และการใช้กระบวนการพูดคุยเพื่อสันติภาพ • เพื่อมีรายงานข้อเสนอแนะแนวนโยบายระดับชาติในการสร้างกระบวนการ สันติภาพและความมั่นคงให้เกิดขึ้นได้โดยเฉพาะการขับเคลื่อนในกลุ่มสตรี ชายแดนใต้
  • 3. การขับเคลื่อนประเด็นต่างๆ • ผู้หญิงกับการสร้างบรรยากาศต่อการแลกเปลี่ยนความรู้และ ประสบการณ์ด้านสันติภาพ • สิทธิและความเป็นธรรมของสตรี(การเมือง เศรษฐกิจและ อาชีพ การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม กระบวนการยุติธรรม และสิทธิมนุษยชน การเยียวยา ) • สร้างเครือข่ายความร่วมมือของกลุ่มผู้หญิงในจังหวัด ชายแดนใต้ • สร้างองค์ความรู้เพื่อการขับเคลื่อนในกระบวนการสันติภาพ
  • 4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ  สร้างยุทธศาสตร์และเครื่องมือชุดหนึ่งที่จะทาให้เราได้ กรอบ พื้นฐานในการทาโครงการต่อไป (Baseline) กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการที่ปรึกษาในเวที กิจกรรม โครงการเกี่ยวข้องกับสตรี ภาคใต้ (Consultation Group) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (Policy Recommendation) เพื่อที่เราจะเอาผลการศึกษาที่ได้ไปทาเดินการต่อ ในการขับเคลื่อนสู่ระดับนโยบาย หรือเลือกมาเพื่อทาโครงการอื่นอีก  สร้างชุดฐานข้อมูลองค์ความรู้สตรีกับสันติภาพในจังหวัดชายแดน ใต้ โดยขับเคลื่อนจากประเด็นสาคัญในพื้นที่และใช้กระบวนการถอด บทเรียนในการนาเสนอ
  • 5. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • สร้างชุดฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในการรวบรวมองค์กรเครือข่ายสตรี ในจังหวัดชายแดนใต้ • สร้างตัวชี้วัดเกี่ยวกับเพศสภาพ (Gender Indicator)ที่สามารถ เชื่อมโยงกับเชิงสถาบัน เพื่อทาให้ผู้หญิงมีพื้นที่ ในกระบวนการสร้าง สันติภาพ • เสริมพลังศักยภาพกลุ่มสตรีในจังหวัดชายแดนใต้ให้มีบทบาทใน กระบวนการสร้างสันติภาพและบทบาทในการพัฒนามากขึ้น
  • 7. เครือข่ายสตรี  เครือข่ายศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ ภาคใต้  เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคม  เครือข่ายบุคคลนางสุกัญญา บุญสนิท  เครือข่ายกลุ่มสตรีกาปง  เครือข่ายกลุ่มสตรีบางปู  เครือข่ายสถานีวิทยุร่วมด้วยช่วยกัน สลาตัน  เครือข่ายร่วมด้วยช่วยกันสลาตัน  เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคม  เครือข่ายผู้หญิงภาคประสาสังคมในสาม จังหวัดชายแดนใต้  เครือข่ายบุคคลนางวาลือเมาะ เงาะ  เครือข่ายบุคคลรอซีดะ ปูตะ  เครือข่ายบุคคลรัตนา ดือเระซอ  เครือข่ายกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เชากูน่า  เครือข่ายบุคคลนางสาวเลขา เกลี้ยวเกลา  เครือข่ายสตรีชายแดนใต้  เครือข่ายบุคคลนางสาวสุรีณี เปาะนิ  เครือข่ายกลุ่ม Meedee Center  เครือข่ายบุคคลนิฤมล พรหมเดชะ  เครือข่ายบุคคลนางรุจิพร ณรงพิทัก์  เครือข่ายบุคคลนางกรวิภา ขวัญเพชร
  • 8. เครือข่ายสตรี  เครือข่ายบุคคลสุวรรณมณี นิมมานรัตน์  เครือข่ายบุคคลนางรอปีอะ สาแม  เครือข่ายบุคคลนางชญาทิตย์ จิตหลัง  เครือข่ายบุคคลนางสมปอง อัดอินโหม่ง  เครือข่ายบุคคลอันชิฌา แสงชัย  เครือข่ายบุคคลนางสิริพร ทองจินดา  เครือข่ายกลุ่มผลิตชาเจ๊ะเหม (กลุ่มอาชีพ  เครือข่ายกลุ่มสตรีทาขนมเพื่อส่งเสริมอาชีพ  เครือข่ายชมรมมุสลีมะห์นราธิวาส  เครือข่ายกองทุนสวัสดิการเทศบาลตาบลยี่งอ  เครือข่ายภาคประชาสังคม  เครือข่ายศวชต.มนร.  เครือข่ายกลุ่มอานาซีด ตากใบ จ.นราธิวาส  เครือข่ายศูนย์ยุติธรรมชุมชน อ.ตากใบ จ.นราธิวาส  เครือข่ายสตรีสานสัมพันธ์สู่สันติสุข (ชอชิกข์)  เครือข่ายผู้หญิงยุติความรุนแรงแสวงสันติภาพ • เครือข่ายผู้หญิงยุติความรุนแรงแสวงสันติภาพในสามจังหวัดชายแดนใต้ • เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้ • เครือข่ายมูลนิธิศูนย์ทนายความมุสลิมจังหวัดปัตตานี • เครือข่ายกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปมะพร้าวบ้านทอนอามาน • เครือข่ายผู้หญิงปกป้องสิทธิมนุษยชนปาตานี (Wanita fatani)
  • 9. เครือข่ายสตรี  เครือข่ายบุคคลนางสุชาดา พันธ์นรา  เครือข่ายบุคคลนางชูติมา เพ็ชร์รัตน์  เครือข่ายบุคคลนางสาวสุดสาย แดงดี  เครือข่ายบุคคลนางไพจิต ศรีทอง  เครือข่ายบุคคลนางซียะ หนูภิรมย์  เเครือข่ายบุคคลนางนารีรัตน์ ลาเตะ  เครือข่ายบุคคลนางสุธินี สุวรรณ  เครือข่ายบุคคลนางวิไล สุวรรณธนู  เครือข่ายบุคคลนางเตือนจิตต์ ไพจิตร  เครือข่ายบุคคลนางนรานารี สันติราพงต์  เครือข่ายบุคคลนางจาปา นิลวงศ์  เครือข่ายบุคคลนางสาววรรณี แวดือเร๊ะ  เครือข่ายบุคคลนางอรสา เงินมาก  เครือข่ายบุคคลนางกันยา ชัยโรจน์สัมพันธ์  เครือข่ายบุคคลนางสมศรี จิตเชาวนะ  เครือข่ายบุคคลนางสาววัชรินทร์ หวนทอง  เครือข่ายบุคคลนางสาวละม่อม พรหมปลอด  เครือข่ายบุคคลนางสาวอารีย์ สบายยิ่ง  เครือข่ายบุคคลนางสุริยา สัจจาพันธุ์  เครือข่ายบุคคลนางเพ็ญศรี รามสินธุ์
  • 10. เครือข่ายสตรี  เครือข่ายนางวัชรี ชูเลิศ  เครือข่ายนางสมจิต ใจดารง  เครือข่ายนางทิพยมาศ ลิ้มสุชาติ  เครือข่ายนางณัฐวดี สิงห์ลอ  เครือข่ายนางวิไล จันทรัตนะ  เครือข่ายนางดวงดาว สุขจิตเกษม  เครือข่ายนางเอกจิตรา เมืองสง  เครือข่ายนางอารียา มามะ  เครือข่ายนางสาวนลพรรณ ขวัญซ้าย  เครือข่ายนางสาวสุวรรณี ตั้งสิริวรกุล  เครือข่ายนางปฐมรัตน์ เพียรมาก  เครือข่ายนางสาววรรณา รอมะ  เครือข่ายนางดารินา สะมะแอ  เครือข่ายนางสาวจารุวรรณ คงทน  เครือข่ายนางสตีวรรณ แอเสาะหะมะ  เครือข่ายนางพรรณนิภา สิงห์สุวรรณ์  เครือข่ายนางสาวมณฑา นวลเสน  เครือข่ายนางสาวชนิดา บุญญะรัตนะ  เครือข่ายนางสาวนนท์นราพร เพชรมณี  เครือข่ายนางสาวนวรัตน์ เพ็ชรเรือนทอง
  • 11.  เครือข่ายนางสาวรัตนาพร เทพษร  เครือข่ายนางปัทมา อิสเฮาะ  เครือข่ายนางพจนารถ แก้วเพชร  เครือข่ายนางเกสร ทนงาน  เครือข่ายนางสาวจันทรา ไวทย์รุ่งโรจน์  เครือข่ายนางอุไร บุณยาดิศัย  เครือข่ายนางรอฮีหมะ เหฮะดุหวี  เครือข่ายนางสาวนริศรา แดสามัญ  เครือข่ายนางสาวยามีละห์ เจะเตะ  เครือข่ายนางสาวนิตยา หลีหมัน  เครือข่ายนางสาววิมล เจ๊ะอุบง  เครือข่ายนางสาวรอซีด๊ะ ยูโซ๊ะ  เครือข่ายนางสาวสุภัคชญา จันทร์ประภา  เครือข่ายนางซัยนุง ยะโกะ  เครือข่ายนางสาวนัสรีญา สาแลแว  เครือข่ายนางสาวฮุสนี สะแม  เครือข่ายนางบุษบา แวหะมะ  เครือข่ายนางวิไล สังข์วิชัย  เครือข่ายนางปาวีรัตน์ ศิริพิธาวัฒน์  เครือข่ายนางภูยีหย๊ะ กะจิ
  • 12.  เครือข่ายนางสาวอรัญญา หนูแก้ว  เครือข่ายนางเต็มดวง วงศา  เครือข่ายนางซามีฮะ อูเซ็ง  เเครือข่ายนางซาลือมา กูโน  เครือข่ายนางสาวกูยะห์ มานิ๊  เครือข่ายนางวานิตา หะยีเจ๊ะแว  เครือข่ายนางสาวศิรดา ศรีของไทย  เครือข่ายนางกัญญา บุญทอง  เครือข่ายนางสาวสุมิตรา นิลทับทิม  เครือข่ายนางสาวอุบะ สุขสมบูรณ์  เครือข่ายนางรอกายะห์ ลาแม็ง  เครือข่ายนางกินรี นวลเปียน  เครือข่ายนางวราพร นิบูร์  เครือข่ายนางสาวนที อัตถเจริญสุข  เครือข่ายนางสาวนิสา สว่างรัตน์  เครือข่ายนางสาวพอพรรณ บัวมาศ  เครือข่ายนางสาสุพิศ ศรีอินทร์  เครือข่ายนางอุบล วัฒนศักดิ์ภูบาล  เครือข่ายนางนิษากร แก้วจันทร์  เครือข่ายนางพรอาไพ ทองมณีการ
  • 13.  เครือข่ายนางสาวกชพร ภัทรปฐมธัช  เครือข่ายนางภิรมย์ ลิตตะหิรัญ  เครือข่ายบุคคลนางอุไรวรรณ ศรีสุข  เครือข่ายนางวิโรจน์ จงอุรุดี  เครือข่ายนางชีวาพร แก้วรงค์  เครือข่ายนางอรสา ศรีทองนวล  เครือข่ายนางสาวเนตรชนก แสงเจริญ  เครือข่ายนางจุรี เพชรพงศ์  เครือข่ายนางสาวนทวรรณ แก้วมรกฎ  เครือข่ายนางสาวฐิตา พรหมรัตน์  เครือข่ายนางสาวภควรรณ โชติพนัง  เครือข่ายนางสาวชนากานต์ สุวรรณโน  เครือข่ายส.ต.ต.หญิงสุมล จารุสาร  เครือข่ายนางสาวศศิธร ณ นคร  เครือข่ายนางสาวปัทมมา จูงศิริ
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 23. นโยบายในการพัฒนาสตรีไทย ของรัฐบาล  มุ่งมั่นยกระดับศักยภาพของสตรีไทยให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างยั่งยืน และดารงอยู่ได้บน เวทีโลกอย่างสมศักดิ์ศรี สตรีไทยมีความเก่ง มีความรู้ ความสามารถ เพียงแค่ขอโอกาส แสดงศักยภาพอย่างเต็มที่ และยืนเคียงข้างสุภาพบุรุษอย่างสมศักดิ์ศรี นโยบายในการ พัฒนาบทบาทสตรี ตามกรอบยุทธศาสตร์ใหญ่ ๕ ยุทธศาสตร์ คือ  ๑. เสริมสร้างความเข้าใจ และทัศนคติที่ดีต่อสตรี และยอมรับในความเสมอภาค ระหว่าง หญิงกับชาย เชื่อว่าสังคมไทยเปิดกว้างในเรื่องของสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของสตรี ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญที่สตรีที่จะแสดงบทบาทอย่างสมศักดิ์ศรี ทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม หรือแม้กระทั่งการเมือง
  • 24. นโยบายในการพัฒนาสตรีไทย ของรัฐบาล  ๒. พัฒนาศักยภาพ และเพิ่มโอกาส ซึ่งสตรีไทยมีความรู้ ความสามารถ โดยเฉพาะภูมิ ปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอดมายาวนาน เพียงแค่ได้รับโอกาส และการต่อยอดที่ถูกต้อง ทาให้ สตรีสามารถหาเลี้ยงตัวเอง เลี้ยงครอบครัวได้  ๓. การพัฒนาสุขภาวะ คุณภาพชีวิต ในความมั่นคงของชีวิต ซึ่งสตรีต้องดูแลสุขภาพ ตั้งแต่แรกเกิด อยู่ในครรภ์ จนถึงผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกัน พัฒนาคุณภาพชีวิตสตรี เพื่อความมั่นคง ปลอดภัย ทั้งระดับครอบครัว ชุมชน และ สังคม
  • 25. นโยบายในการพัฒนาสตรีไทย ของรัฐบาล  ๔. การพัฒนาศักยภาพสตรีที่จะเพิ่มโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมทั้งทางการเมือง การบริหาร และการตัดสินใจในระดับต่างๆ ซึ่งตรงนี้รัฐบาลอยากเห็นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ความเป็นผู้นาของสตรีไทย มีความรู้ ความสามารถ จะดึงศักยภาพนี้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ของประเทศ ให้มีความเข้มแข็ง  ๕. การเสริมสร้างการพัฒนาศักยภาพ และกลไกของสตรีในระดับองค์กร และทุกชุมชน รัฐบาลพร้อมเป็นแกนกลางทางานร่วมกับทุกองค์กร เพื่อร่วมกันผลักดันศักยภาพสตรี รัฐบาลจะบูรณาการทุกระทรวงในการเสริมสร้างศักยภาพของสตรี และกองทุนพัฒนาเป็น อีกบทบาทหนึ่งของรัฐบาล หรือเป็นกลไกที่จะต่อยอดเสริมสร้างศักยภาพสตรีให้สามารถ เข้าถึงแหล่งเงินทุน
  • 27. มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ (เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์) มิติคุณภาพการให้บริการ (ความต้องการของลูกค้า) มิติประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (ประเด็นยุทธศาสตร์) มิติการพัฒนาองค์การ (ปัจจัยในการบริหาร) ร่างแผนที่ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ.2556-2559 ที่ปรึกษา และเลขาฯ ที่รู้รอบ รู้ลึก ตั้งใจ แนวคิดและระบบการสนับสนุน เพื่อการบริหารกองทุนอย่างมี ศักยภาพ ขับเคลื่อนนโยบาย กองทุนฯ ของรัฐบาล อย่าง มีประสิทธิภาพ ข้อมูล การสนับสนุน และเครือข่ายความร่วมมือ กองทุนฯ เป็นแหล่งทุนในการพัฒนาศักยภาพสตรี ให้มีความเข้มแข็งและพึ่งตนเองได้ พัฒนาระบบ บริหารทรัพยากรบุคคล พัฒนาระบบ บริหารสานักงานกองทุนที่เอื้อ ต่อการบริหารการเปลี่ยนแปลง และ การพัฒนานวัตกรรม พัฒนาระบบ การสนับสนุนการทาหน้าที่ ของคณะกรรมการกองทุน พัฒนาระบบ IT สนับสนุนการบริหาร และการบริการ เสริมสร้างวัฒนธรรมและ ค่านิยมองค์กร เงินทุน โครงการ กิจกรรม ที่เพิ่มศักยภาพให้เข้มแข็งและ พึ่งตนเองได้ “สร้างสรรค์พลังสตรี ให้เป็นพลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ”
  • 28. แผนยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2556-2559 วิสัยทัศน์ : สร้างสรรค์พลังสตรี ให้เป็นพลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ 1. พัฒนาศักยภาพสตรี 1.1 สร้างเสริมทักษะชีวิต และค่านิยมสร้างสรรค์ของเยาวสตรีไทย 1.2 พัฒนาศักยภาพผู้นาสตรี และสร้างภาวะผู้นา 1.3 ส่งเสริมการพัฒนาครอบครัว 1.4 ส่งเสริมบทบาทสตรีในการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่น และการเมือง ทุกระดับ 1.5 ส่งเสริมบทบาทสตรี และองค์กรสตรีในระดับประเทศ ประชาคมอาเซียน และประชาคมโลก 2. พัฒนาอาชีพสตรี สร้างงาน สร้างรายได้ ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 2.1 สนับสนุนการเข้าถึงองค์ความรู้ แหล่งทุน และบริการต่าง ๆ 2.2 พัฒนาทักษะฝีมือ และยกระดับฝีมือแรงงานสตรี 2.3 ส่งเสริมให้เป็นผู้ประกอบการ และส่งเสริมผู้ประกอบการสตรี
  • 29. ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตของ สตรี และผู้ด้อยโอกาส 3.1 สนับสนุนการจัดชุมชนสวัสดิการ 3.2 เสริมสร้างระบบในการช่วยเหลือดูแลสตรี และผู้ด้อยโอกาส 3.3 ส่งเสริมให้เกิดระบบในการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิของสตรี 3.4 ส่งเสริมสุขภาวะ และสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ของสตรี 4. พัฒนาศักยภาพกองทุน พัฒนาบทบาทสตรี 4.1 ส่งเสริมการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 4.2 พัฒนาระบบสนับสนุนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 4.3 สร้างเครือข่ายกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีทุกระดับ
  • 30. ทิศทางการพัฒนาสตรีตามแนวทางการทางานระหว่างประเทศ การประชุมองค์การความร่วมมืออิสลาม (OIC) เมื่อ 4-6 ธันวาคม 2012 ภายใต้ หัวข้อ การเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของสตรีและบทบาทสตรีต่อการพัฒนาทาง เศรษฐกิจในกลุ่มประเทศ OIC มีข้อตกลงที่ประกาศร่วมกัน ดังนี้  ให้ความสาคัญต่อกระแสความเสมอภาคทางเพศ ในฐานะที่เป็นกุญแจหลักที่ นาไปสู่การสร้างความเสมอภาคทางเพศ ความยุติธรรมระหว่างเพศ และการ เสริมพลังการทางานให้แก่ผู้หญิงในทุกมิติ  สนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยยึดบุคคลเป็นศูนย์กลางการพัฒนา รวมไป ถึง การพัฒนาทางเศรษฐกิจผ่านการเตรียมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษา ตลอดชีวิต การเรียนรู้ด้วยตนเองและการฝึกอบรม และการจัดหาบริการสุขภาพ ขั้นพื้นฐานให้แก่ผู้หญิงและเด็กหญิง
  • 31. ทิศทางการพัฒนาสตรีตามแนวทางการทางานระหว่างประเทศ  การพัฒนามาตรการที่นาไปสู่การขจัดปัญหาความยากจน โดยการส่งเสริมให้ผู้หญิงมีงานทา และเป็นงานที่มีคุณค่า รวมถึง ขจัดปัญหาเชิงโครงสร้างและกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการ ทางานของผู้หญิง การเสริมสร้างโอกาสและศักยภาพทางการพัฒนาเศรษฐกิจแก่ผู้หญิงเพื่อให้ สามารถพึ่งพาตนเองได้ ทั้งที่เป็นอาชีพในลักษณะการประกอบอาชีพในครัวเรือน และการ ประกอบอาชีพในอุตสาหกรรม  การสร้างมาตรการทางสังคมที่เฉพาะเจาะจงและทันสมัยที่นาไปสู่การขจัดการแบ่งแยกผู้หญิง และเด็กหญิงในการมีส่วนร่วมกิจกรรมการตัดสินใจทุกระดับ และการมีส่วนร่วมในมรดก และ ส่งเสริมให้ผู้หญิงได้เป็นผู้แทนในการเสนอกฎหมาย การบริหารและองค์คระศาลยุติธรรม การ เป็นคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทางานที่แต่งตั้งจากภาคส่วนต่างๆ  การเพิ่มโอกาสผู้หญิงเพื่อให้เข้าถึงบริการทางสังคมและสุขภาพ รวมถึง การจัดตั้งกองทุนและ การสนับสนุนงบประมาณที่เพียงพอต่อการช่วยเหลือผู้หญิงเด็กหญิง และกลุ่มชายขอบที่ไม่มีด โอกาสในการเข้าถึงบริการ หรือ ที่มีฐานะยากจนในการเข้าถึงบริการทางสังคมและสุขภาพ
  • 32. ทิศทางการพัฒนาสตรีตามแนวทางการทางานระหว่างประเทศ  ให้มีการจัดบริการทางการศึกษาให้แก่เด็กและผู้หญิงในหลากหลายรูปแบบ เช่น การฝึกอาชีพ เพื่อยกระดับ เพื่อพัฒนาทักษะการทางาน และเพิ่มศักยภาพของผู้หญิงในการเข้าถึงแหล่งงาน ในตลาดแรงงานได้  การพปรับปรุงคุณภาพการศึกษาทุกระดับ ผ่านการปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ การ ฝึกอบรมครูผู้สอน และการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน  การพัฒนาหลักสูตรที่ให้ความสาคัญกับความอ่อนไหวทางเพศสาหรับทุกโปรแกรมการศึกษา การกาหนดมาตรการที่เป็นรูปธรรมเพื่อตรวจสอบสื่อการเรียนการสอนที่ไม่แบ่งแยกทางเพศ และเป็นการวางรากฐานในการทางานที่นาไปสู่การไม่แบ่งแยกทางเชื้อชาติ ศาสนาและ วัฒนธรรม  เพิ่มจานวนนักเรียน นักศึกษาหญิง ควบคู่ไปกับการคงรักษาจานวนนักเรียน นักศึกษาหญิง โดยการสนับสนุนให้มีการจัดทุนการศึกษา การเข้าถึงแหล่งทุนทางการศึกษา การสนับสนุน ครอบครัวและชุมชน การสนับสนุนเงินและแรงจูงใจให้กับครอบครัว รวมถึง การจัดการศึกษา ภาคบังคับในลักษณะไม่เสียค่าใช้จ่าย
  • 33. ทิศทางการพัฒนาสตรีตามแนวทางการทางานระหว่างประเทศ  กลุ่มชายขอบต่างๆ เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายเหล่านี้สามารถเข้าถึงความยุติธรรม และ สามารถนาไปใช้ในการเข้าถึงทรัพยากรที่นาไปสู่การลดปัญหาความยากจน และความไม่ ยุติธรรมต่างๆ ทั้งนี้ การพัฒนาแนวทางตามกฎหมายที่ว่านี้ จะต้องให้ความสาคัญกับมุมมอง ความเสมอภาคทางเพศทั้งในทางกาหมาย และโอกาสการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม สถาบัน องค์กรราชการและภาคประชาสังคมในการสนับสนุนการทางานของผู้หญิง  การพัฒนาโปรแกรมที่เหมาะสมภายใต้บรรยากาศทางสังคมที่ทาให้รู้สึกปลอดภัย ผ่านรูปแบบ การทางานเครือข่าย เพื่อช่วยเหลือผู้หญิงที่มีฐานะยากจน ด้วยการสร้างระบบการช่วยเหลือ ทางการเงิน และการฝึกอบรมต่างๆ ที่สอดคล้องกับความจาเป็นและความต้องการเพื่อเติมเต็ม ทักษะ และศักยภาพที่จาเป็นต่อการดาเนินชีวิตของผู้หญิง  การยอมรับที่จะนาทุกมาตรการข้างต้นไปใช้เพื่อขจัดการใช้ความรุนแรงในทุกรูปแบบที่มีต่อการ ดารงชีพของผู้หญิงภายใต้ Israeli’s occupation  ให้ความสาคัญต่อการดารงชีพของผุ้หญิงท่ามกลางความชัดแย้งรูปแบบต่างๆ
  • 34. ยุทธศาสตร์การพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัดชายแดนภาคใต้ ศอ.บต.  ยุทธศาสตร์ที่ 1การสร้างเจตคติและการยอมรับสิทธิ บทบาทหญิง-ชาย  ยุทธศาสตร์ที่ 2พัฒนาศักยภาพด้านเศรษฐกิจ และการเพิ่มโอกาส รวมถึง สิทธิทาง สังคมของผู้หญิงในจังหวัดชายแดนภาคใต้  ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาสุขภาวะ สิทธิ อนามัยเจริญพันธุ์ คุณภาพชีวิต และการ เสริมสร้างความมั่นคงในชีวิตของผู้หญิง  ยุทธศาสตร์ที่ 4 การคุ้มครองสิทธิ และการเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิง  ยุทธศาสตร์ที่ 5พัฒนาศักยภาพผู้หญิงเพื่อเพิ่มโอกาสในการมีส่วนร่วมทาง การเมือง การบริหารและการตัดสินใจทุกระดับ  ยุทธศาสตร์ที่ 6ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมและเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้หญิง และเด็ก  ยุทธศาสตร์ที่ 7 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้หญิงมีส่วนร่วมในกระบวนการสร้าง สันติภาพ  ยุทธศาสตร์ที่8ส่งเสริมและสนับสนุนกลไกการขับเคลื่อนแบบบูรณาการดาเนินงาน ด้านสตรีทุกภาคส่วน
  • 35. แผนปฏิบัติการของ ศอ.บต. แผนปฏิบัติการที่ 1 แผนบริหารจัดการโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วนและการติดตาม ประเมินผล 5. สนับสนุนการอยู่ร่วมกันอย่างหลากหลายแตกต่างทางชาติพันธุ์ ศาสนา ภาษา ให้คานึงถึงความเสมอภาค เท่า เทียม โดยส่งเสริมปัญญาชนทั้งพุทธ มุสลิม กลุ่มผู้นาศาสนา ผู้นาท้องถิ่น กลุ่มเยาวชนและสตรี และการสร้าง เครือข่าย หรือกลุ่มที่มีศักยภาพสนับสนุน กระบวนการพูดคุยเพื่อสันติภาพ ด้วยการสื่อสารและทาความเข้าใจ กับ ประชาชนทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมทั้งองค์กรระหว่างประเทศ และประชาคมโลก 6. ส่งเสริมและสนับสนุน กลุ่ม พลังเยาวชน กลุ่มสตรีภาคประชาสังคม และกลุ่มที่มีศักยภาพในพื้นที่ในการร่วมสร้าง ความรัก ความเข้าใจ การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนภาคใต้ และการสร้างความเข้าใจที่ดี กับสังคมภายในและภายนอกประเทศ แผนปฏิบัติการที่ 7 แผนยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน พัฒนาการท่องเที่ยวและกีฬา ให้สอดคล้อง กับบริบทของพื้นที่ กลยุทธ์ 1. ประชาชนผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตการส่งเสริมการรับรู้ของมารดา และเพิ่มการสนับสนุน การ ปกครองส่วนท้องถิ่น สาหรับ ส่งเสริมให้ เด็กเล็ก เข้าถึงผู้ปกครองที่เหมาะสม และมีระบบการกระตุ้นพัฒนาการที่ ดี การสร้างอาชีพและสวัสดิการสังคม อย่างทั่วถึง เท่าเทียมกับประชาชนในภูมิภาคอื่น ๆ และสอดคล้องกับอัต ลักษณ์ในพื้นที่ 2. ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทสตรี ให้มีส่วนร่วมในครอบครัว ชุมชชน และสังคม มากขึ้น เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ผู้ด้อยโอกาส ผู้ได้รับผลกระทบ