SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ١ วิ ช า สุ ข ศึ ก ษา เรื ่ อ ง เลื อ กรั บ
 ประทานอาหารที ่ เ หมาะสมกั บ วั ย
                    ( บู ร ณาการตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ
 พอเพี ย ง )
 กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ส ุ ข ศึ ก ษาและพลศึ ก ษา ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษา
 ปี ท ี ่ 1 เวลา ١ ชั ่ ว โมง
 สาระการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ٤ การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ สมรรถภาพ
 และการป้ อ งกั น โรค
 มาตรฐาน พ.٤.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ
 การดำารงสุขภาพ การป้องกันโรค
                 และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ
 ตั ว ชี ้ ว ั ด  พ.٤.١ ม١/١ เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัย

   รายละเอี ย ด           พั ฒ นาสมรรถภาพทางกายที ่               พั ฒ นาด้ า น
    กิ จ กรรม                     สั ม พั น ธ์ ก ั บ                  สมอง

                              สุ ข ภาพ             ทั ก ษะ
จุ ด ประสงค์ ก าร       1. ความสมบูรณ์         1. การคิด        1. การมีเหตุผล
เรี ย นรู ้             แข็งแรงของ             วิเคราะห์        2. การรู้จักพอ
1. วิเคราะห์อาหารที่    ร่างกาย                สังเคราะห์       ประมาณ
เหมาะสมกับวัยต่างๆ            - มีนำ้าหนัก -   2. การปฏิบัติ    3.
(K)                     ส่วนสูง ตามเกณฑ์       3. การเลือก
2. ออกแบบเมนู                 - มีภาวะ         อาหารที่มี
อาหารที่เหมาะสมกับ      โภชนาการที่ดี          ประโยชน์ที่
วัย (P)                       - ไม่เจ็บไข้     เหมาะสมกับ
3. เห็นความสำาคัญ       ได้ป่วย                วัย
ของการเลือกกิน
อาหารที่เหมาะสมกับ
วัย (A)
กระบวนการ
    1. กระบวนการ
       ปฏิบัติ
      ٢. กระบวนการ
กลุม่
สาระสำ า คั ญ
อาหาร เป็นหนึ่งใน
ปัจจัยสี่ที่มนุษย์
ต้องการในการดำารง
ชีวิต การบริโภค
อาหารที่ถูกต้องเหมาะ
สมย่อมมีผลดีตอ่
สุขภาพ ทั้งในด้าน
การสร้างเสริมและ
ซ่อมแซมส่วนที่
สึกหรอของร่างกาย
ตามวัย โดยต้องคำานึง
ถึงคุณค่าทาง
โภชนาการ ความ
สะอาดและความ
ปลอดภัย ตลอดจนรับ
ประทานอาหาร


    รายละเอี ย ด         พั ฒ นาสมรรถภาพทางกายที ่              พั ฒ นาด้ า น
     กิ จ กรรม                     สั ม พั น ธ์ ก ั บ               สมอง
                             สุ ข ภาพ                 ทั ก ษะ
ให้ได้สารอาหารครบ
ทั้ง 5 หมู่ ด้วยปริมาณ
และสัดส่วนที่เหมาะ
สมตามความต้องการ
ของร่างกายบุคคล
แต่ละประเภทและวัย
อุ ป กรณ์
    1. การรายอาหาร
ต่าง ๆ
    2. ภาพแสดง
รายการอาหารแบบ
ต่าง ๆ และอาหารที่
เหมาะสมกับวัย
    3. หนังสือเรียน
       สาระการ
เรียนรู้สุขศึกษาและ
พลศึกษา
    ٤. แบบฝึกหัด
       สุขศึกษาและ
          พลศึกษา
    5. สื่อ ICT
6. แหล่งเรียนรู้
   เศรษฐกิจพอ
   เพียงของ
   โรงเรียน

สาระการเรี ย นรู ้
        1. ความรู ้
              อาหารที่เหมาะสมกับวัย
        2. ทั ก ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิ ด
              การให้เหตุผล การสรุปความรู้ การประยุกต์
        3. คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์
              มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำางาน
ความเข้ า ใจที ่ ค งทน (Enduring Understanding)
        นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า คนในแต่ละวัยมีความต้องการ
ประเภท ปริมาณ และสัดส่วนของอาหารที่แตกต่างกัน การบริโภค
อาหารที่ถูกต้องเหมาะสมย่อมมีผลดีต่อสุขภาพ ทั้งในด้านการสร้าง
เสริมและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกายตามวัย โดยต้องคำานึงถึง
คุณค่าทางโภชนาการ ความสะอาดและความปลอดภัย ตลอดจนรับ
ประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ ด้วยปริมาณและสัดส่วน
ที่เหมาะสมตามความต้องการของร่างกายแต่ละบุคคล
ชิ ้ น งานหรื อ ภาระงาน (หลั ก ฐาน ร่ อ งรอยแสดงความรู ้ )
        -        เมนูอาหารที่เหมาะสมกับคนวัยต่างๆ
คำ า ถามท้ า ทาย
        - ในวัยของนักเรียนควรเลือกรับประทานอาหารอย่างไร เพราะ
อะไร
ขั ้ น ตอนการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้
        ขั ้ น นำ า เข้ า สู ่ บ ทเรี ย น
        1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
ปัจจัย 4 ในการดำารงชีวิตของมนุษย์ โดยครูใช้คำาถามดังนี้
                 - ปัจจัย 4 ที่มีความจำาเป็นต่อการดำารงชีวิตของมนุษย์มี
        อะไรบ้าง (ตั ว อย่ า งคำ า ตอบ
ยา อาหาร ที ่ อ ยู ่ อ าศั ย เครื ่ อ งนุ ่ ง ห่ ม )
                 - อาหารมีความสำาคัญกับการดำารงชีวิตของมนุษย์มาก
น้อยเพียงใด (ตั ว อย่ า งคำ า ตอบ มี ค วามสำ า คั ญ มากเพราะช่ ว ย
ในการเจริ ญ เติ บ โตของร่ า งกาย)
                 - ถ้าไม่มีอาหารชีวิตมนุษย์จะเป็นอย่างไร (ตั ว อย่ า งคำ า
ตอบ ร่ า งกายแคระแกร็ น ขาดสารอาหาร อาจเสี ย ชี ว ิ ต ถ้ า ไม่
ได้ ร ั บ เป็ น เวลานาน)
- ในแต่ละวันนักเรียนรับประทานอาหารอะไรบ้าง (
ตั ว อย่ า งคำ า ตอบ ข้ า ว ผั ด ผั ก ผลไม้ ต้ ม ยำ า แกงจื ด )
               - อาหารที่นักเรียนชอบรับประทานบ่อยๆ คืออะไร (
ตั ว อย่ า งคำ า ตอบ แกงจื ด เต้ า หู ้ ห มู ส ั บ ไข่ เ จี ย ว)
               - นักเรียนคิดว่าอาหารที่นักเรียนรับประทานในแต่ละวัน มี
ประโยชน์และเพียงพอกับความต้องการของร่างกายหรือไม่ (
ตั ว อย่ า งคำ า ตอบ มี ป ระโยชน์ แ ละเพี ย งพอกั บ ความต้ อ งการ
ของร่ า งกาย)
               - นักเรียนคิดว่าอาหารที่นักเรียนรับประทานในแต่ละวัน มี
ความเหมาะสมกับวัยของตนเองหรือไม่ (ตั ว อย่ า งคำ า ตอบ มี ค วาม
เหมาะสมกั บ วั ย )
               - นักเรียนคิดว่าคนในแต่ละวัยมีความต้องการอาหารใน
       ปริมาณและสัดส่วนที่
เท่ากันหรือไม่อย่างไร (ตั ว อย่ า งคำ า ตอบ ไม่ เ ท่ า กั น เพราะ
ร่ า งกายเจริ ญ เติ บ โต และใช้ พ ลั ง งาน
ไม่ เ ท่ า กั น )
               - การรับประทานอาหารให้ได้ประโยชน์สูงสุด ควรคำานึง
       ถึงอะไรบ้าง (ตั ว อย่ า ง
คำ า ตอบ สารอาหารที ่ ไ ด้ ค รบทุ ก หมู ่ /เพศ และวั ย )




      ขั ้ น สอน
              1. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมกับนักเรียนว่า อาหารเป็นสิ่งจำาเป็น
ในการดำารงชีวิต ซึ่งเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่มนุษย์ต้องการ การบริโภค
อาหารที่ถูกต้องเหมาะสมย่อมมีผลดีต่อสุขภาพ ทั้งในด้านการสร้าง
เสริมและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกายตามวัย โดยต้องคำานึงถึง
คุณค่าทางโภชนาการ ความสะอาดและความปลอดภัย ตลอดจนรับ
ประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ ด้วยปริมาณและสัดส่วน
ที่เหมาะสมตามความต้องการของแต่ละบุคคล
              ٢. ให้นักเรียนศึกษาอาหารที่เหมาะสมกับวัยต่างๆ จาก
      แหล่งเรียนรู้ต่างๆ
              3. ครูสุ่มเลือกตัวแทนนักเรียนออกมานำาเสนออาหารที่
เหมาะสมในแต่ละวัย ให้ครบทุกวัย จากนั้นครูให้ความรู้เพิ่มเติมใน
หัวข้อที่ยังไม่ครอบคลุม
              4. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มและกลุ่มละ 4 – 5 คน ให้แต่ละกลุ่ม
ร่วมกันคิดเมนูอาหารที่เหมาะสมกับคนวัยของตนเอง ร่วมกันคิดวิธี
การนำาเสนอที่น่าสนใจ จากนั้นออกมานำาเสนอเมนูอาหาร พร้อมกับ
อธิบายว่าเมนูอาหารเหล่านั้นเหมาะสมกับคนวัยของตนเอง เพราะ
อะไร
               5. ครูเขียนคำาถามลงบนกระดาน แล้วให้นักเรียนเขียน
คำาถาม และคำาตอบที่ถูกต้องลงในสมุดหรือกระดาษ A 4 แล้วส่งครู
ดังนี้
                          1) เพราะเหตุใดวัยรุ่นจึงต้องได้รับสารอาหาร
ประเภทโปรตีนและแร่ธาตุต่างๆ ในปริมาณมากกว่าสารอาหารประเภท
อื่น จงอธิบาย
                          ٢) อาหารที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพของคนเรา
ได้แก่อะไรบ้าง ให้เหตุผลประกอบการอธิบาย
        ขั ้ น สรุ ป
        1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ วัยรุ่นมีความต้องการ
ประเภท ปริมาณ และสัดส่วนของอาหารที่พอเหมาะตามความต้องการ
ของร่างกาย การบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมย่อมมีผลดีตอ          ่
สุขภาพ ทั้งในด้านการสร้างเสริมและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของ
ร่างกาย โดยต้องคำานึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ ความสะอาดและความ
ปลอดภัย ตลอดจนรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบทัง 5 หมู่ ด้วย ้
ปริมาณและสัดส่วนที่เหมาะสมตามความต้องการของร่างกายแต่ละ
บุคคล
       ٢. ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำาถามท้าทาย ดังนี้
                   - ในวัยของนักเรียนควรเลือกรับประทานอาหาร
อย่างไร เพราะอะไร
การจั ด บรรยากาศเชิ ง บวก
     - ครูชมเชยนักเรียนที่คิดเมนูอาหารที่เหมาะสมกับคนวัยได้
อย่างถูกต้อง และนำาข้อมูลนั้นไปจัดป้ายนิเทศในชั้นเรียน




การวั ด และประเมิ น ผลการเรี ย นรู ้
     1. วิ ธ ี ก ารวั ด และประเมิ น ผล
                     1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วม
กิจกรรม
               1.2 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
กลุ่ม
      2. เครื ่ อ งมื อ
                     2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
   3. เกณฑ์ ก ารประเมิ น
         3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่
2 รายการ ถือว่า ผ่ า น
          ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ ผ ่ า น
         3.2 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
                คะแนน 9-10             ระดับ ดีมาก
                คะแนน 7-8              ระดับ ดี
                คะแนน 5-6              ระดับ พอใช้
                คะแนน 0-4              ระดับ ควรปรับปรุง
กิ จ กรรมเสนอแนะ
        ให้นักเรียนจัดป้ายนิเทศเกี่ยวกับอาหารที่เหมาะสมกับคนวัย ใน
โรงเรียนเพื่อเผยแพร่ความรู้ให้ผู้อื่นต่อไป
สื ่ อ /แหล่ ง การเรี ย นรู ้
     1. ภาพเมนูอาหาร
     2. ภาพอาหารที่เหมาะสมกับวัย
     3. สือ ICT
          ่
     4. หนังสือเรียนสุขศึกษา
      ٥. ใบงาน/ใบกิจกรรม
     6. เฉลยใบงาน/กิจกรรม
       7. อินเทอร์เน็ต
      ٨. แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน




บั น ทึ ก หลั ง การจั ด การเรี ย นรู ้
1. ความสำาเร็จในการจัดการเรียน
    รู………………………………………………………………
      ้
    ……………………………………………………………………………………
    ………….
    ……………………………………………………………………………………
    ………………………….
    ……………………………………………………………………………………
    ……………....
٢. แนวทางในการ
พัฒนา………………………………………………………………
………….
      …………………………………………………………………………………
………………
    ……………………………………………………………………………………
    ………………….
    ……………………………………………………………………………………
    ……………....
٣. ปัญหา/อุปสรรคในการสอน
..........................................................................................
............
    ……………………………………………………………………………………
    ……………
    ……………………………………………………………………………………
    ………………….
    ……………………………………………………………………………………
    ……………....
4. แนวทางในการ
    แก้ไข……………………………………………………………
    ……………..
     …………………………………………………………………………………
    …………………….
    ……………………………………………………………………………………
    ……………....
       …………………………………………………………………………………
………………
٥. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตาม
แผน....................................................................................
.......................
    ......................................................................................
    .............................................................
    ……………………………………………………………………………………
    ………………….
    ……………………………………………………………………………………
    ……………....
เหตุผล…………………………………………………………………………
   ………………….
6. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียน
   รู.....................................................................................
     ้
   .........
   ……………………………………………………………………………………
   ……………
   ……………………………………………………………………………………
   ………………….
   ……………………………………………………………………………………
   ……………....


                               (ลงชื่อ)                      ครูผู้สอน
                                                 ( นายธีระเดช สองคำาชุม




ข้ อ เสนอแนะของหั ว หน้ า สถานศึ ก ษาหรื อ ผู ้ ท ี ่ ไ ด้ ร ั บ มอบ
หมาย
       ...................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
...........................................................................................
..................................................................... .....................
........................................................................... ...............
.........................



       ลงชื่อ................................................................

       (.........................................................)

       ตำาแหน่ง............................................................
วัน
ที่..........เดือน...........................พ.ศ...............




   1.   การประเมิ น ด้ า นความรู ้ ( K )               ١٠     คะแนน

 ระดับคุณภาพ                        แปลความหมาย
( 4 ) ดีมาก         นักเรียนสามารถวิเคราะห์อาหารที่เหมาะสมกับวัย
( ١٠-٨ คะแนน        ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและหลากหลายมาก
)
( 3 ) ดี            นักเรียนสามารถวิเคราะห์อาหารที่เหมาะสมกับวัย
( ٧-٦ คะแนน         ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมดีมีความหลากหลายบ้าง
)
( 2 ) พอใช้         นักเรียนสามารถวิเคราะห์อาหารที่เหมาะสมกับวัย
( ٥ คะแนน )         ได้อย่างถูกต้องแต่ยังไม่หลากหลาย
( 1 )               นักเรียนไม่สามารถวิเคราะห์อาหารที่เหมาะสมกับ
ปรับปรุง            วัยได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและไม่หลากหลาย
( ตำ่ากว่า ٥
คะแนน )

   2.   การประเมิ น ผลด้ า นพฤติ ก รรม คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม ( A
        ) ٤ คะแนน
          1. มีวินัย
          2. ใฝ่เรียนรู้
          3. มุ่งมั่นในการทำางาน

 ระดับคุณภาพ                 แปลความหมาย
( 4 ) ดีมาก นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกับพฤติกรรม
( ٤ คะแนน ) บ่งชี้ได้อย่างเหมาะสมชัดเจนมากสามารถนำามา
             เป็นแบบอย่างได้
( 3 ) ดี     นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกับพฤติกรรม
( ٣ คะแนน ) บ่งชี้ได้อย่างเหมาะสม
( 2 ) พอใช้ นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกับพฤติกรรม
( ٢ คะแนน ) บ่งชี้ได้พอสมควร
( 1 )        นักเรียนไม่สามารถแสดงพฤติกรรมที่สอดคล้อง
ปรับปรุง     กับพฤติกรรมบ่งชี้ได้
( ตำ่ากว่า ٢
คะแนน )




   3. การประเมิ น ผลด้ า นกระบวนการ ( P ) ٦ คะแนน
 ระดับคุณภาพ                  แปลความหมาย
( 4 ) ดีมาก นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้อย่าง
( ٦ - ٥ คะแนน สร้างสรรค์ ถูกต้อง มีความสุขในการทำากิจกรรม
)             และให้ความร่วมมือในการดำาเนินกิจกรรมเป็น
              อย่างดีมาก
( 3 ) ดี      นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้อย่าง
( ٤ คะแนน ) สร้างสรรค์ ถูกต้อง มีความสุขในการทำากิจกรรม
              และให้ความร่วมมือในการดำาเนินกิจกรรมเป็น
              อย่างดี
( 2 ) พอใช้ นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างถูกต้อง มี
( ٣ คะแนน ) ความสุขในการทำากิจกรรม และให้ความร่วมมือ
             ในการดำาเนินกิจกรรมพอสมควร
( 1 )        นักเรียนไม่สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ และไม่ให้
ปรับปรุง     ความร่วมมือในการดำาเนินกิจกรรม
( ตำ่ากว่า ٣
คะแนน )


เกณฑ์ ค ุ ณ ภาพของผู ้ เ รี ย น
        ระดับ 4            นำ้าหนักคะแนน ٢ - ١٨0   คะแนน
        ระดับ 3            นำ้าหนักคะแนน ١٧ - ١٤   คะแนน
        ระดับ 2            นำ้าหนักคะแนน 1 ٠ - 1 ٣ คะแนน
        ระดับ 1            นำ้าหนักคะแนน 1 – ٩ คะแนน
เครื ่ อ งมื อ วั ด และประเมิ น ผล
        1. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม
        2. แบบประเมิน
        3. แบบทดสอบ
เกณฑ์ ก ารตั ด สิ น
ระดับบุคคล           นักเรียนมีผลงานอยู่ในระดับพอใช้ถือว่า ผ่าน (
การประกันตัวชี้วัด )
ระดับกลุ่ม จำานวนนักเรียนที่มีผลงานอยู่ในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ ٧٥
ถือว่าผู้สอน
                         ประสบผลสำาเร็จ ( การประกันการสอนของครู
)




                    แบบสรุ ป ผลการประเมิ น
ที่   ชื่อ - สกุล                     ระดับคุณภาพ   หมายเ
                    ความรู้   คุณลักษ     ทักษะ      หตุ
                                ณะ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1
8
1
9
2
0
2
1
2
2
2
3
2
4
2
5
2
6
2
7


    แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
สมรรถภ
                            การแสดง      การตอบ   การร่วม
ลำาดับที/
        ่      ความสนใจ                    าพทาง
                           ความคิดเห็น   คำาถาม   กิจกรรม
ชื่อ–สกุล                                   กาย
               ٤ ٣ ٢ ١٠ ٤ ٣ ٢ ١ ٠٤ ٣ ٢ ١ ٠ ٤٣٢١٠٤ ٣ ٢ ١ ٠




           เกณฑ์การวัด ให้คะแนนระดับคุณภาพของแต่ละพฤติกรรม
  ดังนี้
    ระดับ
                                                          ควร
         คุ                              ปาน
                                                             ปรั
        ณ       ดีเยี่ยม      ดี            กล    พอใช้
                                                             บป
        ภา                                  าง
                                                             รุง
         พ
คะแนน   ٤   ٣   ٢   ١   ٠

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
khorntee
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
กชนุช คำเวียง
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
ทศพล พรหมภักดี
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
Jaar Alissala
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
Wareerut Hunter
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
dp130233
 

La actualidad más candente (20)

เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัวใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
 
การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
ข้อสอบ พลเมือง
ข้อสอบ พลเมืองข้อสอบ พลเมือง
ข้อสอบ พลเมือง
 

Destacado

กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
tassanee chaicharoen
 
3 กำหนดการสอน
3 กำหนดการสอน3 กำหนดการสอน
3 กำหนดการสอน
Nichaphon Tasombat
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
Krupol Phato
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
chartphysic
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
Inmylove Nupad
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
sonsukda
 
เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5
Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
Mam Chongruk
 
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่าง
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่างวิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่าง
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่าง
kruwongduan
 
เรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันเรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟัน
an1030
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
Wareerut Hunter
 

Destacado (20)

กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
 
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...
 
3 กำหนดการสอน
3 กำหนดการสอน3 กำหนดการสอน
3 กำหนดการสอน
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อทดลองใช้สำหรับช่วงช...
 
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 3
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 3หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 3
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 3
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 
ตารางวิเคราะห์เนื้อหารายวิชา
ตารางวิเคราะห์เนื้อหารายวิชาตารางวิเคราะห์เนื้อหารายวิชา
ตารางวิเคราะห์เนื้อหารายวิชา
 
เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5เค้าโครงสอน ม.5
เค้าโครงสอน ม.5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
 
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่าง
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่างวิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่าง
วิเคราะห์หลักสูตร ตัวอย่าง
 
เรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟันเรื่องฟันฟัน
เรื่องฟันฟัน
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
 
ทันตสุขศึกษาฟันน้ำนม
ทันตสุขศึกษาฟันน้ำนมทันตสุขศึกษาฟันน้ำนม
ทันตสุขศึกษาฟันน้ำนม
 
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4
 

Similar a แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
rainacid
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
supap6259
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
sonsukda
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
thkitiya
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
Kruthai Kidsdee
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
Wareerut Hunter
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
sonsukda
 

Similar a แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง (20)

แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8aแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8a
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 

แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. แผนการจั ด การเรี ย นรู ้ ท ี ่ ١ วิ ช า สุ ข ศึ ก ษา เรื ่ อ ง เลื อ กรั บ ประทานอาหารที ่ เ หมาะสมกั บ วั ย ( บู ร ณาการตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ) กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ส ุ ข ศึ ก ษาและพลศึ ก ษา ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษา ปี ท ี ่ 1 เวลา ١ ชั ่ ว โมง สาระการเรี ย นรู ้ ท ี ่ ٤ การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ สมรรถภาพ และการป้ อ งกั น โรค มาตรฐาน พ.٤.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำารงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ตั ว ชี ้ ว ั ด พ.٤.١ ม١/١ เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัย รายละเอี ย ด พั ฒ นาสมรรถภาพทางกายที ่ พั ฒ นาด้ า น กิ จ กรรม สั ม พั น ธ์ ก ั บ สมอง สุ ข ภาพ ทั ก ษะ จุ ด ประสงค์ ก าร 1. ความสมบูรณ์ 1. การคิด 1. การมีเหตุผล เรี ย นรู ้ แข็งแรงของ วิเคราะห์ 2. การรู้จักพอ 1. วิเคราะห์อาหารที่ ร่างกาย สังเคราะห์ ประมาณ เหมาะสมกับวัยต่างๆ - มีนำ้าหนัก - 2. การปฏิบัติ 3. (K) ส่วนสูง ตามเกณฑ์ 3. การเลือก 2. ออกแบบเมนู - มีภาวะ อาหารที่มี อาหารที่เหมาะสมกับ โภชนาการที่ดี ประโยชน์ที่ วัย (P) - ไม่เจ็บไข้ เหมาะสมกับ 3. เห็นความสำาคัญ ได้ป่วย วัย ของการเลือกกิน อาหารที่เหมาะสมกับ วัย (A) กระบวนการ 1. กระบวนการ ปฏิบัติ ٢. กระบวนการ กลุม่ สาระสำ า คั ญ อาหาร เป็นหนึ่งใน ปัจจัยสี่ที่มนุษย์ ต้องการในการดำารง
  • 2. ชีวิต การบริโภค อาหารที่ถูกต้องเหมาะ สมย่อมมีผลดีตอ่ สุขภาพ ทั้งในด้าน การสร้างเสริมและ ซ่อมแซมส่วนที่ สึกหรอของร่างกาย ตามวัย โดยต้องคำานึง ถึงคุณค่าทาง โภชนาการ ความ สะอาดและความ ปลอดภัย ตลอดจนรับ ประทานอาหาร รายละเอี ย ด พั ฒ นาสมรรถภาพทางกายที ่ พั ฒ นาด้ า น กิ จ กรรม สั ม พั น ธ์ ก ั บ สมอง สุ ข ภาพ ทั ก ษะ ให้ได้สารอาหารครบ ทั้ง 5 หมู่ ด้วยปริมาณ และสัดส่วนที่เหมาะ สมตามความต้องการ ของร่างกายบุคคล แต่ละประเภทและวัย อุ ป กรณ์ 1. การรายอาหาร ต่าง ๆ 2. ภาพแสดง รายการอาหารแบบ ต่าง ๆ และอาหารที่ เหมาะสมกับวัย 3. หนังสือเรียน สาระการ เรียนรู้สุขศึกษาและ พลศึกษา ٤. แบบฝึกหัด สุขศึกษาและ พลศึกษา 5. สื่อ ICT
  • 3. 6. แหล่งเรียนรู้ เศรษฐกิจพอ เพียงของ โรงเรียน สาระการเรี ย นรู ้ 1. ความรู ้ อาหารที่เหมาะสมกับวัย 2. ทั ก ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิ ด การให้เหตุผล การสรุปความรู้ การประยุกต์ 3. คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำางาน ความเข้ า ใจที ่ ค งทน (Enduring Understanding) นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า คนในแต่ละวัยมีความต้องการ ประเภท ปริมาณ และสัดส่วนของอาหารที่แตกต่างกัน การบริโภค อาหารที่ถูกต้องเหมาะสมย่อมมีผลดีต่อสุขภาพ ทั้งในด้านการสร้าง เสริมและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกายตามวัย โดยต้องคำานึงถึง คุณค่าทางโภชนาการ ความสะอาดและความปลอดภัย ตลอดจนรับ ประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ ด้วยปริมาณและสัดส่วน ที่เหมาะสมตามความต้องการของร่างกายแต่ละบุคคล ชิ ้ น งานหรื อ ภาระงาน (หลั ก ฐาน ร่ อ งรอยแสดงความรู ้ ) - เมนูอาหารที่เหมาะสมกับคนวัยต่างๆ คำ า ถามท้ า ทาย - ในวัยของนักเรียนควรเลือกรับประทานอาหารอย่างไร เพราะ อะไร ขั ้ น ตอนการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ขั ้ น นำ า เข้ า สู ่ บ ทเรี ย น 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ปัจจัย 4 ในการดำารงชีวิตของมนุษย์ โดยครูใช้คำาถามดังนี้ - ปัจจัย 4 ที่มีความจำาเป็นต่อการดำารงชีวิตของมนุษย์มี อะไรบ้าง (ตั ว อย่ า งคำ า ตอบ ยา อาหาร ที ่ อ ยู ่ อ าศั ย เครื ่ อ งนุ ่ ง ห่ ม ) - อาหารมีความสำาคัญกับการดำารงชีวิตของมนุษย์มาก น้อยเพียงใด (ตั ว อย่ า งคำ า ตอบ มี ค วามสำ า คั ญ มากเพราะช่ ว ย ในการเจริ ญ เติ บ โตของร่ า งกาย) - ถ้าไม่มีอาหารชีวิตมนุษย์จะเป็นอย่างไร (ตั ว อย่ า งคำ า ตอบ ร่ า งกายแคระแกร็ น ขาดสารอาหาร อาจเสี ย ชี ว ิ ต ถ้ า ไม่ ได้ ร ั บ เป็ น เวลานาน)
  • 4. - ในแต่ละวันนักเรียนรับประทานอาหารอะไรบ้าง ( ตั ว อย่ า งคำ า ตอบ ข้ า ว ผั ด ผั ก ผลไม้ ต้ ม ยำ า แกงจื ด ) - อาหารที่นักเรียนชอบรับประทานบ่อยๆ คืออะไร ( ตั ว อย่ า งคำ า ตอบ แกงจื ด เต้ า หู ้ ห มู ส ั บ ไข่ เ จี ย ว) - นักเรียนคิดว่าอาหารที่นักเรียนรับประทานในแต่ละวัน มี ประโยชน์และเพียงพอกับความต้องการของร่างกายหรือไม่ ( ตั ว อย่ า งคำ า ตอบ มี ป ระโยชน์ แ ละเพี ย งพอกั บ ความต้ อ งการ ของร่ า งกาย) - นักเรียนคิดว่าอาหารที่นักเรียนรับประทานในแต่ละวัน มี ความเหมาะสมกับวัยของตนเองหรือไม่ (ตั ว อย่ า งคำ า ตอบ มี ค วาม เหมาะสมกั บ วั ย ) - นักเรียนคิดว่าคนในแต่ละวัยมีความต้องการอาหารใน ปริมาณและสัดส่วนที่ เท่ากันหรือไม่อย่างไร (ตั ว อย่ า งคำ า ตอบ ไม่ เ ท่ า กั น เพราะ ร่ า งกายเจริ ญ เติ บ โต และใช้ พ ลั ง งาน ไม่ เ ท่ า กั น ) - การรับประทานอาหารให้ได้ประโยชน์สูงสุด ควรคำานึง ถึงอะไรบ้าง (ตั ว อย่ า ง คำ า ตอบ สารอาหารที ่ ไ ด้ ค รบทุ ก หมู ่ /เพศ และวั ย ) ขั ้ น สอน 1. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมกับนักเรียนว่า อาหารเป็นสิ่งจำาเป็น ในการดำารงชีวิต ซึ่งเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่มนุษย์ต้องการ การบริโภค อาหารที่ถูกต้องเหมาะสมย่อมมีผลดีต่อสุขภาพ ทั้งในด้านการสร้าง เสริมและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกายตามวัย โดยต้องคำานึงถึง คุณค่าทางโภชนาการ ความสะอาดและความปลอดภัย ตลอดจนรับ ประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ ด้วยปริมาณและสัดส่วน ที่เหมาะสมตามความต้องการของแต่ละบุคคล ٢. ให้นักเรียนศึกษาอาหารที่เหมาะสมกับวัยต่างๆ จาก แหล่งเรียนรู้ต่างๆ 3. ครูสุ่มเลือกตัวแทนนักเรียนออกมานำาเสนออาหารที่ เหมาะสมในแต่ละวัย ให้ครบทุกวัย จากนั้นครูให้ความรู้เพิ่มเติมใน หัวข้อที่ยังไม่ครอบคลุม 4. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มและกลุ่มละ 4 – 5 คน ให้แต่ละกลุ่ม ร่วมกันคิดเมนูอาหารที่เหมาะสมกับคนวัยของตนเอง ร่วมกันคิดวิธี
  • 5. การนำาเสนอที่น่าสนใจ จากนั้นออกมานำาเสนอเมนูอาหาร พร้อมกับ อธิบายว่าเมนูอาหารเหล่านั้นเหมาะสมกับคนวัยของตนเอง เพราะ อะไร 5. ครูเขียนคำาถามลงบนกระดาน แล้วให้นักเรียนเขียน คำาถาม และคำาตอบที่ถูกต้องลงในสมุดหรือกระดาษ A 4 แล้วส่งครู ดังนี้ 1) เพราะเหตุใดวัยรุ่นจึงต้องได้รับสารอาหาร ประเภทโปรตีนและแร่ธาตุต่างๆ ในปริมาณมากกว่าสารอาหารประเภท อื่น จงอธิบาย ٢) อาหารที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพของคนเรา ได้แก่อะไรบ้าง ให้เหตุผลประกอบการอธิบาย ขั ้ น สรุ ป 1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ วัยรุ่นมีความต้องการ ประเภท ปริมาณ และสัดส่วนของอาหารที่พอเหมาะตามความต้องการ ของร่างกาย การบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมย่อมมีผลดีตอ ่ สุขภาพ ทั้งในด้านการสร้างเสริมและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของ ร่างกาย โดยต้องคำานึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ ความสะอาดและความ ปลอดภัย ตลอดจนรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบทัง 5 หมู่ ด้วย ้ ปริมาณและสัดส่วนที่เหมาะสมตามความต้องการของร่างกายแต่ละ บุคคล ٢. ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำาถามท้าทาย ดังนี้ - ในวัยของนักเรียนควรเลือกรับประทานอาหาร อย่างไร เพราะอะไร การจั ด บรรยากาศเชิ ง บวก - ครูชมเชยนักเรียนที่คิดเมนูอาหารที่เหมาะสมกับคนวัยได้ อย่างถูกต้อง และนำาข้อมูลนั้นไปจัดป้ายนิเทศในชั้นเรียน การวั ด และประเมิ น ผลการเรี ย นรู ้ 1. วิ ธ ี ก ารวั ด และประเมิ น ผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วม กิจกรรม 1.2 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม กลุ่ม 2. เครื ่ อ งมื อ 2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
  • 6. 2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 3. เกณฑ์ ก ารประเมิ น 3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่ า น ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ ผ ่ า น 3.2 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คะแนน 9-10 ระดับ ดีมาก คะแนน 7-8 ระดับ ดี คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้ คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรุง กิ จ กรรมเสนอแนะ ให้นักเรียนจัดป้ายนิเทศเกี่ยวกับอาหารที่เหมาะสมกับคนวัย ใน โรงเรียนเพื่อเผยแพร่ความรู้ให้ผู้อื่นต่อไป สื ่ อ /แหล่ ง การเรี ย นรู ้ 1. ภาพเมนูอาหาร 2. ภาพอาหารที่เหมาะสมกับวัย 3. สือ ICT ่ 4. หนังสือเรียนสุขศึกษา ٥. ใบงาน/ใบกิจกรรม 6. เฉลยใบงาน/กิจกรรม 7. อินเทอร์เน็ต ٨. แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน บั น ทึ ก หลั ง การจั ด การเรี ย นรู ้ 1. ความสำาเร็จในการจัดการเรียน รู……………………………………………………………… ้ …………………………………………………………………………………… …………. …………………………………………………………………………………… …………………………. …………………………………………………………………………………… ……………....
  • 7. ٢. แนวทางในการ พัฒนา……………………………………………………………… …………. ………………………………………………………………………………… ……………… …………………………………………………………………………………… …………………. …………………………………………………………………………………… …………….... ٣. ปัญหา/อุปสรรคในการสอน .......................................................................................... ............ …………………………………………………………………………………… …………… …………………………………………………………………………………… …………………. …………………………………………………………………………………… …………….... 4. แนวทางในการ แก้ไข…………………………………………………………… …………….. ………………………………………………………………………………… ……………………. …………………………………………………………………………………… …………….... ………………………………………………………………………………… ……………… ٥. สิ่งที่ไม่ได้ปฏิบัติตาม แผน.................................................................................... ....................... ...................................................................................... ............................................................. …………………………………………………………………………………… …………………. …………………………………………………………………………………… ……………....
  • 8. เหตุผล………………………………………………………………………… …………………. 6. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียน รู..................................................................................... ้ ......... …………………………………………………………………………………… …………… …………………………………………………………………………………… …………………. …………………………………………………………………………………… …………….... (ลงชื่อ) ครูผู้สอน ( นายธีระเดช สองคำาชุม ข้ อ เสนอแนะของหั ว หน้ า สถานศึ ก ษาหรื อ ผู ้ ท ี ่ ไ ด้ ร ั บ มอบ หมาย ................................................................................... ........................................................................................... ........................................................................................... ........................................................................................... ........................................................................................... ..................................................................... ..................... ........................................................................... ............... ......................... ลงชื่อ................................................................ (.........................................................) ตำาแหน่ง............................................................
  • 9. วัน ที่..........เดือน...........................พ.ศ............... 1. การประเมิ น ด้ า นความรู ้ ( K ) ١٠ คะแนน ระดับคุณภาพ แปลความหมาย ( 4 ) ดีมาก นักเรียนสามารถวิเคราะห์อาหารที่เหมาะสมกับวัย ( ١٠-٨ คะแนน ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและหลากหลายมาก ) ( 3 ) ดี นักเรียนสามารถวิเคราะห์อาหารที่เหมาะสมกับวัย ( ٧-٦ คะแนน ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมดีมีความหลากหลายบ้าง ) ( 2 ) พอใช้ นักเรียนสามารถวิเคราะห์อาหารที่เหมาะสมกับวัย ( ٥ คะแนน ) ได้อย่างถูกต้องแต่ยังไม่หลากหลาย ( 1 ) นักเรียนไม่สามารถวิเคราะห์อาหารที่เหมาะสมกับ ปรับปรุง วัยได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและไม่หลากหลาย
  • 10. ( ตำ่ากว่า ٥ คะแนน ) 2. การประเมิ น ผลด้ า นพฤติ ก รรม คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม ( A ) ٤ คะแนน 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำางาน ระดับคุณภาพ แปลความหมาย ( 4 ) ดีมาก นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกับพฤติกรรม ( ٤ คะแนน ) บ่งชี้ได้อย่างเหมาะสมชัดเจนมากสามารถนำามา เป็นแบบอย่างได้ ( 3 ) ดี นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกับพฤติกรรม ( ٣ คะแนน ) บ่งชี้ได้อย่างเหมาะสม ( 2 ) พอใช้ นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกับพฤติกรรม ( ٢ คะแนน ) บ่งชี้ได้พอสมควร ( 1 ) นักเรียนไม่สามารถแสดงพฤติกรรมที่สอดคล้อง ปรับปรุง กับพฤติกรรมบ่งชี้ได้ ( ตำ่ากว่า ٢ คะแนน ) 3. การประเมิ น ผลด้ า นกระบวนการ ( P ) ٦ คะแนน ระดับคุณภาพ แปลความหมาย ( 4 ) ดีมาก นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้อย่าง ( ٦ - ٥ คะแนน สร้างสรรค์ ถูกต้อง มีความสุขในการทำากิจกรรม ) และให้ความร่วมมือในการดำาเนินกิจกรรมเป็น อย่างดีมาก ( 3 ) ดี นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้อย่าง ( ٤ คะแนน ) สร้างสรรค์ ถูกต้อง มีความสุขในการทำากิจกรรม และให้ความร่วมมือในการดำาเนินกิจกรรมเป็น อย่างดี
  • 11. ( 2 ) พอใช้ นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างถูกต้อง มี ( ٣ คะแนน ) ความสุขในการทำากิจกรรม และให้ความร่วมมือ ในการดำาเนินกิจกรรมพอสมควร ( 1 ) นักเรียนไม่สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ และไม่ให้ ปรับปรุง ความร่วมมือในการดำาเนินกิจกรรม ( ตำ่ากว่า ٣ คะแนน ) เกณฑ์ ค ุ ณ ภาพของผู ้ เ รี ย น ระดับ 4 นำ้าหนักคะแนน ٢ - ١٨0 คะแนน ระดับ 3 นำ้าหนักคะแนน ١٧ - ١٤ คะแนน ระดับ 2 นำ้าหนักคะแนน 1 ٠ - 1 ٣ คะแนน ระดับ 1 นำ้าหนักคะแนน 1 – ٩ คะแนน เครื ่ อ งมื อ วั ด และประเมิ น ผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรม 2. แบบประเมิน 3. แบบทดสอบ เกณฑ์ ก ารตั ด สิ น ระดับบุคคล นักเรียนมีผลงานอยู่ในระดับพอใช้ถือว่า ผ่าน ( การประกันตัวชี้วัด ) ระดับกลุ่ม จำานวนนักเรียนที่มีผลงานอยู่ในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ ٧٥ ถือว่าผู้สอน ประสบผลสำาเร็จ ( การประกันการสอนของครู ) แบบสรุ ป ผลการประเมิ น
  • 12. ที่ ชื่อ - สกุล ระดับคุณภาพ หมายเ ความรู้ คุณลักษ ทักษะ หตุ ณะ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1
  • 13. 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 8 1 9 2 0 2 1 2 2 2 3 2 4 2 5 2 6 2 7 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
  • 14. สมรรถภ การแสดง การตอบ การร่วม ลำาดับที/ ่ ความสนใจ าพทาง ความคิดเห็น คำาถาม กิจกรรม ชื่อ–สกุล กาย ٤ ٣ ٢ ١٠ ٤ ٣ ٢ ١ ٠٤ ٣ ٢ ١ ٠ ٤٣٢١٠٤ ٣ ٢ ١ ٠ เกณฑ์การวัด ให้คะแนนระดับคุณภาพของแต่ละพฤติกรรม ดังนี้ ระดับ ควร คุ ปาน ปรั ณ ดีเยี่ยม ดี กล พอใช้ บป ภา าง รุง พ
  • 15. คะแนน ٤ ٣ ٢ ١ ٠