SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 16
Descargar para leer sin conexión
มคอ. 5
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
คณะ มนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป
์
สาขาวิชา สารสนเทศศึกษา
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
HO101 ทักษะการรู้สารสนเทศ
2. รายวิชาที่ต้องเรียนก่อนรายวิชานี้
ไม่มี
3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและกลุ่มเรียน (section)
อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ รับผิดชอบ กลุ่มภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ
4. ภาคการศึกษา/ปีการศึกษาที่เปิดสอนรายวิชา
ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
5. สถานที่เรียน
คณะมนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป
์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
หมวดที่ 2 การจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบกับแผนการสอน
1. แผนการสอน
หัวข้อ จานวนชั่
วโมง
ตามแผ
น
การสอน
จาน
วน
ชั่วโม
งที่
สอน
จริง
ระบุสาเหตุที่การสอนจริง
ต่างจากแผนการสอนหากมี
ความแตกต่างเกิน 25%
-
อธิบายรายวิชาและการประเ
มินผล
-Tour สำนักหอสมุดกลำง
มหำวิทยำลัยหอกำรค้ำไ
ทย
3 3
หน่วยที่ 1 3 3
มคอ. 5
หัวข้อ จานวนชั่
วโมง
ตามแผ
น
การสอน
จาน
วน
ชั่วโม
งที่
สอน
จริง
ระบุสาเหตุที่การสอนจริง
ต่างจากแผนการสอนหากมี
ความแตกต่างเกิน 25%
สารสนเทศกับการศึกษาใ
น
ระดับอุดมศึกษา
1.
ความหมายของสารสนเทศ
2.
ความสาคัญของสารสนเทศ
ที่มีต่อ
การศึกษา
ในระดับอุดมศึกษา
3.
สารสนเทศที่จาเป็นต่อการเรี
ยนใน
มหาวิทยาลัย
3.1 วิธีการเรียนใน
UTCCอย่างประสบ
ความสาเร็จ
3.2
การศึกษาระบบหน่วยกิตขอ
ง UTCC
3.3
การใช้สานักหอสมุดกลาง
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
4. การรู้เท่าทันสื่อ
4.1
ความหมายและความสาคัญ
4.2 ทักษะที่จาเป็น
มคอ. 5
หัวข้อ จานวนชั่
วโมง
ตามแผ
น
การสอน
จาน
วน
ชั่วโม
งที่
สอน
จริง
ระบุสาเหตุที่การสอนจริง
ต่างจากแผนการสอนหากมี
ความแตกต่างเกิน 25%
สาหรับการรู้เท่าทันสื่อ
4.3
การวิเคราะห์สื่อ/การรับมือสื่
อ
4.4
แนวทางการรับมือสื่อ
หน่วยที่ 2
การรู้สารสนเทศกับการศึ
กษา
ระดับอุดมศึกษา
1.
ความหมายของการรู้สารสนเ
ทศ
2.
ความสาคัญของการมีทักษะ
การรู้สารสนเทศ
3.
องค์ประกอบของการรู้สารส
นเทศ
4.
กระบวนการการรู้สารสนเทศ
หรือ
กระบวนการพัฒนาทักษะกา
รรู้สารสนเทศ
5. ผู้รู้สารสนเทศ
3 3 เนื่องจากเกิดการชุมนุมของกปปส.
ที่ห้าแยกลาดพร้าวมหาวิทยาลัยงดการเรียนการสอน
ผู้สอนจึงใช้วิธีการสอนผ่านFacebook
หน่วยที่ 3 3 3
มคอ. 5
หัวข้อ จานวนชั่
วโมง
ตามแผ
น
การสอน
จาน
วน
ชั่วโม
งที่
สอน
จริง
ระบุสาเหตุที่การสอนจริง
ต่างจากแผนการสอนหากมี
ความแตกต่างเกิน 25%
การวิเคราะห์ความต้องกา
ร
สารสนเทศ
หน่วยที่4
การเลือกแหล่งสารสนเทศแล
ะ
ทรัพยากรสารสนเทศ
1. แหล่งสำรสนเทศ
(Information
Sources)
1.1 ควำมหมำย
1.2 ประเภท
2. ทรัพยำกรสำรสนเทศ
(Information
Resources)
2.1 ควำมหมำย
2.2 ประเภท
2.3
ทรัพยำกรสำรสนเทศประเภ
ทอ้ำงอิง
(Reference
Resources) และกำร
เลือกใช้
3.
กำรเลือกใช้แหล่งสำรสนเทศ
และทรัพยำกร
สำรสนเทศ
3 4 มีเนื้อหาบางส่วนที่ไม่สามารถสอนจบในห้องเรียนตามคาบเรียนที่กาหน
ดจึงใช้วิธีเอาคาถามของเรื่องดังกล่าวลงFacebook
และให้ผู้เรียนเข้ามาตอบคาถามและผู้สอนตรวจและเฉลยผ่านเฟส
มคอ. 5
หัวข้อ จานวนชั่
วโมง
ตามแผ
น
การสอน
จาน
วน
ชั่วโม
งที่
สอน
จริง
ระบุสาเหตุที่การสอนจริง
ต่างจากแผนการสอนหากมี
ความแตกต่างเกิน 25%
มคอ. 5
หัวข้อ จานวนชั่
วโมง
ตามแผ
น
การสอน
จาน
วน
ชั่วโม
งที่
สอน
จริง
ระบุสาเหตุที่การสอนจริง
ต่างจากแผนการสอนหากมี
ความแตกต่างเกิน 25%
หน่วยที่5
การค้นหาสารสนเทศ
1. ความหมาย
“การสืบค้นสารสนเทศ”
2. ช่องทางการสืบค้น
3.
การกาหนดคาสาคัญเพื่อกา
รสืบค้น
4. วิธีการสืบค้น
และเทคนิคการสืบค้น
5.
เครื่องมือช่วยสืบค้นสารสนเ
ทศ
5.1 WebOPAC
ของสานักหอสมุดกลาง
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
3 3
หน่วยที่5
การค้นหาสารสนเทศ(ต่อ)
5.
เครื่องมือช่วยสืบค้นสารสนเ
ทศ (ต่อ)
5.2 Google
3 3
หน่วยที่5
การค้นหาสารสนเทศ(ต่อ)
5.
เครื่องมือช่วยสืบค้นสารสนเ
3 3
มคอ. 5
หัวข้อ จานวนชั่
วโมง
ตามแผ
น
การสอน
จาน
วน
ชั่วโม
งที่
สอน
จริง
ระบุสาเหตุที่การสอนจริง
ต่างจากแผนการสอนหากมี
ความแตกต่างเกิน 25%
ทศ (ต่อ)
5.3 ฐานข้อมูลออนไลน์
(Online
Databases)
ที่ห้องสมุดบอกรับ
5.3.1 GrolierOnline
(Encyclopedia
Americana)
5.3.2 WileyOnline
Library
5.3.3 NEWSCenter
หน่วยที่ 6
การประเมินคุณค่าสารสน
เทศ
3 3
หน่วยที่ 7
การวิเคราะห์และสังเคราะ
ห์
สารสนเทศ
3 3
หน่วยที่ 8
การเรียบเรียงและการอ้าง
อิง
การนาเสนอสารสนเทศ
-
การเรียบเรียงเนื้อหาและการ
เขียน
รายการอ้างถึง
3 3
มคอ. 5
หัวข้อ จานวนชั่
วโมง
ตามแผ
น
การสอน
จาน
วน
ชั่วโม
งที่
สอน
จริง
ระบุสาเหตุที่การสอนจริง
ต่างจากแผนการสอนหากมี
ความแตกต่างเกิน 25%
หน่วยที่ 8
การเรียบเรียงและการอ้าง
อิง
การนาเสนอสารสนเทศ
(ต่อ)
- การเขียนบรรณานุกรม
3 3
สอบย่อย 3 3
หน่วยที่ 8
การเรียบเรียงและการอ้าง
อิง
การนาเสนอสารสนเทศ
(ต่อ)
- การเข้าเล่มรายงาน
- การนาเสนอด้วยการพูด
(+เทคนิคการ
นาเสนอสารสนเทศ)
3 3
สรุป
ทบทวนเนื้อหาทั้งหมดแล
ะชี้แจงแนว
การออกข้อสอบ
3 3
2. หัวข้อที่สอนที่ไม่ครอบคลุมตามแผน
มคอ. 5
ไม่มี
3. ประสิทธิผลของวิธีการสอนที่ทาให้เกิดผลการเรียนรู้ตามที่ระบุไว้ในรายละเอียดของรายวิชา
มาตรฐานประสิทธิผล
ผลการเรียนรู้
วิธีการสอนที่ระบุใน
รายละเอียดของรายวิชา
ประสิ
ทธิผล
อุปสรรคของการใช้กลยุทธ์
พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข
มี ไ
ม่
มี
คุณธรรม จริยธรรม 1. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่
ผู้เรียนโดยการเข้าสอนตรงเวลา
2. การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียนตามกาหนด
เวลาที่ได้ตกลงกับผู้เรียน และได้
กาหนดกติกาการให้คะแนนการเข้าชั้น
เรียน 5 คะแนน ซึ่งนักศึกษาจะได้
คะแนนเต็มเมื่อ1) เข้าเรียนตรงเวลา
2) ไม่ขาดเรียน 3)ตั้งใจเรียนและมี
ส่วนร่วมในชั้นเรียน 4) แต่งกายถูก
ระเบียบของมหาวิทยาลัย 5) รักษา
มารยาทสังคมโดยไม่ใช้อุปกรณ์
สื่อสารในระหว่างการเรียน และกรณี
มาสายรวม 3 ครั้ง นับเป็นการขาด
เรียน 1 ครั้ง กรณีขาดเรียนมากกว่า
4 ครั้ง โดยไม่มีเหตุผลอันควร
นักศึกษาจะถูกตัดสิทธิ์ในการสอบ
ปลายภาคทันที
3. มอบหมายงานให้ผู้เรียนทางานทั้งที่
เป็นงานเดี่ยวและงานกลุ่ม โดย
กาหนดเวลาส่งงานชัดเจน หากไม่
สามารถส่งงานตามกาหนดเวลาได้
นักศึกษาต้องมาพบครูเพื่อแจ้งปัญหา
และแก้ไขต่อไป
4. กาหนดให้นักศึกษาแต่งกายให้ถูกต้อง
ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย หาก
/  นักศึกษาบางคนเข้าชั้นเรียนและ
ส่งงานไม่ตรงเวลา
จึงตักเตือนและหักคะแนน
เพื่อให้ปรับปรุงพฤติกรรม
 นักศึกษาแต่งกายไม่ถูกต้อง
จึงตักเตือนและหักคะแนน
 นักศึกษาบางคนลอกข้อเขียนขอ
งคนอื่นโดยไม่เขียนอ้างอิง
จึงสอนวิธีการเขียนรายการอ้างอิ
ง
และเขียนบรรณานุกรมที่ถูกต้องใ
ห้
มคอ. 5
มาตรฐานประสิทธิผล
ผลการเรียนรู้
วิธีการสอนที่ระบุใน
รายละเอียดของรายวิชา
ประสิ
ทธิผล
อุปสรรคของการใช้กลยุทธ์
พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข
มี ไ
ม่
มี
ไม่ปฏิบัติตามผู้สอนจะเตือนและหัก
คะแนนความประพฤติ (หักที่คะแนน
ดาว)
5. ปลูกฝังค่านิยมเรื่องความซื่อสัตย์
สุจริตผ่านการเรียนการสอน การ
สอบย่อยในระบบeClassroom และ
งานที่ได้รับมอบหมาย
ความรู้ 1. จัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้
รอบทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติ โดยเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ
2. จัดการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ
และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความ
คิดเห็นและซักถามข้อสงสัย อาทิ
- ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการ
สอนใน eClassroom และกรณีไม่
เข้าใจให้ซักถามประเด็นปัญหาต่างๆ
ในห้องเรียน
- ดูสื่อการสอนใน eClassroomมาล่วง
หน้า เพื่อเตรียมตอบคาถามของผู้
สอน ในห้องเรียน
- ใช้วิธีการถาม-ตอบ กล่าวคือเป็นการ
ใช้คาถามเป็นตัวสร้างความเข้าใจใน
เนื้อหา เช่น การสอนเรื่องการสืบค้น
สารสนเทศ และอธิบายประเด็นสาคัญ
เพิ่มเติมในระหว่างการถาม-ตอบ
คาถามเหล่านั้น
- บรรยายและฝึกปฏิบัติการทารายงาน
ไปตามขั้นตอน โดยใช้หัวข้อรายงาน
/  นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่ค่อยอ่านสื่อ
การสอนที่เตรียมไว้ใน
eClassroomล่วงหน้า
แก้ไขปัญหาข้างต้นโดยให้อ่านใน
ห้องเรียน
มคอ. 5
มาตรฐานประสิทธิผล
ผลการเรียนรู้
วิธีการสอนที่ระบุใน
รายละเอียดของรายวิชา
ประสิ
ทธิผล
อุปสรรคของการใช้กลยุทธ์
พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข
มี ไ
ม่
มี
ของนักศึกษาช่วยในกระบวนการเรียน
รู้
- ทากิจกรรมกลุ่มเพื่อเป็นการตรวจสอบ
ว่าผู้เรียนเข้าใจเนื้อหามากน้อย
เพียงใด
3. กาหนดให้ผู้เรียนทารายงานในหัวข้อที่
สนใจซึ่งผู้สอนจะแนะนาให้ผู้เรียนทา
รายงานในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา
ที่ตนเองเรียนอยู่ ในกระบวนการทา
รายงานผู้เรียนต้องศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเองและรู้จักสืบค้นข้อมูลจากแหล่ง
สารสนเทศต่างๆ เพื่อวิเคราะห์
สังเคราะห์ และนาเสนอในรูปแบบของ
รายงานที่ถูกต้องตามแบบมาตรฐาน
สากลได้
ทักษะทางปัญญา 1. จัดการเรียนการสอนที่หลากหลายที่ฝึกกร
ะบวนการคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์และประเมินผล
พร้อมทั้งฝึกการแก้ปัญหาต่างๆ
ได้อย่างเหมาะสมและเป็นระบบ
2. เรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและศึกษ
าด้วยตนเองผ่านระบบeClassroom
3. มอบหมายงานให้ผู้เรียนทารายงานที่กาห
นดโดยใช้ทักษะที่ได้เรียนมาและนาเสนอ
ผลงาน
/  นักศึกษาไม่ศึกษาบทเรียนใน
eClassroomล่วงหน้า
ทาให้ไม่สามารถตอบคาถามหรือ
ทากิจกรรมในชั้นเรียน
จึงต้องตักเตือนเพื่อให้ปรับปรุงพ
ฤติกรรม
ทักษะความสัมพันธ์ระ
หว่างบุคคลและความรั
1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้
ฝึกการทางานเดี่ยวและงานกลุ่ม
/  การทางานกลุ่มบางคนไม่รับผิดช
อบงาน
มคอ. 5
มาตรฐานประสิทธิผล
ผลการเรียนรู้
วิธีการสอนที่ระบุใน
รายละเอียดของรายวิชา
ประสิ
ทธิผล
อุปสรรคของการใช้กลยุทธ์
พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข
มี ไ
ม่
มี
บผิดชอบ และกาหนดเวลาส่งงานชัดเจน
2. มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยตนเ
องในระบบ eClassroom
จึงให้แบ่งงานให้ชัดเจนเพื่อให้ทุก
คนมีส่วนร่วมในการทางาน
ทักษะการวิเคราะห์เชิง
ตัวเลข
การสื่อสารและการใช้เ
ทคโนโลยีสารสนเทศ
1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนมี
โอกาสสืบค้นและนาเสนอข้อมูลโดยใช้เท
คโนโลยีสารสนเทศ
2. มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้นาเสนอในรูป
แบบการเขียนรายงานทางวิชาการ
/  นักศึกษาบางคนไม่นาไอแพดมา
ศึกษาบทเรียนและฝึกการสืบค้น
ข้อมูลในชั้นเรียน
ทาให้ไม่สามารถเรียนรู้เนื้อหาวิช
าเรื่องนั้นได้อย่างเข้าใจ
และไม่ได้คะแนน
ผู้สอนจึงกาหนดไว้ว่าหากไม่มีไอ
แพดก็จะไม่ให้เข้าเรียนในคาบนั้น
ๆ
4. ข้อเสนอการดาเนินการเพื่อปรับปรุงวิธีการสอน
มหาวิทยาลัยควรปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้รองรับการใช้งานของนักศึกษาจานวนมาก
เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาการเข้าระบบไม่ได้หรือถูกตัดออกจากระบบ
หมวดที่ 3 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา
1. จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน (ณ วันหมดกาหนดการเพิ่มถอน) 311 คน
2. จานวนนักศึกษาที่คงอยู่เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา 294 คน
3. จานวนนักศึกษาที่ถอน (W) 17 คน
4. การกระจายของระดับคะแนน (เกรด)
ระดับคะแนน จานวน คิดเป็นร้อยละ
A 17 5.78
B+ 13 4.42
มคอ. 5
B 46 15.65
C+ 56 19.05
C 49 16.67
D+ 43 14.63
D 37 12.59
F 31 10.53
I 2 0.68
5. ปัจจัยที่ทาให้ระดับคะแนนผิดปกติ
ไม่มี
6. ความคลาดเคลื่อนจากแผนการประเมินที่กาหนดไว้ในรายละเอียดรายวิชา
6.1 ความคลาดเคลื่อนด้านกาหนดเวลาการประเมิน
6.2 ความคลาดเคลื่อนด้านวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ (ถ้ามี)
7. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา (คัดลอกมาจาก มคอ.3 หมวด 7 ข้อ4)
วิธีการทวนสอบ สรุปผล
มีการแต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึ
กษา คณะมนุษยศาสตร์ ปีการศึกษา 2556
 วิธีการให้คะแนนและผลการสอบมีความเหมาะ
ความคลาดเคลื่อน เหตุผล
ระยะเวลาที่ใช้ในการตรวจรายงานมากกว่าที่กาห
นดไว้ (นอกชั้นเรียน)
นักศึกษามีจานวนมาก
ทาให้ควบคุมเวลาในการตรวจและแก้ไขงานให้นักศึกษาไ
ด้ยาก แม้จะกาหนดให้ทารายงาน 3-4 คนต่อ 1
กลุ่มก็ตาม
และนักศึกษาบางคนต้องการทารายงานเดี่ยว
จึงทาให้ปริมาณงานที่ต้องตรวจมีมากขึ้น
ความคลาดเคลื่อน เหตุผล
- -
มคอ. 5
สม
 เสนอให้ข้อสอบปลายภาคควรเป็นปรนัย
หมวดที่ 4 ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ
1. ประเด็นด้านทรัพยากรประกอบการเรียน และสิ่งอานวยความสะดวก
อุปสรรคในการใช้แหล่งทรัพยากร
และสิ่งอานวยความสะดวก
ผลกระทบต่อการเรียนรู้
ระบบอินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัยไม่สามารถรองรับการใช้งานพ
ร้อมกันของนักศึกษาจานวนมากในเวลาเดียวกันได้
นักศึกษาบางคนไม่สามารถทากิจกรรมใน
ห้องเรียนได้ตามที่ผู้สอนกาหนด
2. ประเด็นด้านการบริหารและองค์กร
อุปสรรคด้านการบริหารและองค์กร ผลกระทบต่อการเรียนรู้
จานวนนักศึกษาแต่ละกลุ่มไม่เท่ากัน ในกลุ่มที่มีจานวนนักศึกษามาก
ไม่สามารถทากิจกรรมหรือฝึ กทักษะต่าง ๆ ได้อย่างทั่วถึง
หมวดที่ 5 การประเมินรายวิชา
1. ผลการประเมินรายวิชาโดยนักศึกษา
1.1 ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมินโดยนักศึกษา
1. เนื้อหาเยอะมากเกินไป ทาให้ไม่เข้าใจ
2. เนื้อหาที่สอนในแต่ละสัปดาห์เยอะเกินไป จนบางครั้งทาให้เรียนไม่ค่อยรู้เรื่อง
3. ตรวจงานละเอียดมาก อธิบายงานอย่างละเอียด ซึ่งเป็นผลดีกับนักศึกษา
4. อาจารย์สอนเกินเวลา และต้องรอตรวจงานถึงเย็น กลับบ้านลาบาก
5. อาจารย์เสียงดังมาก นักศึกษาบางคนตกใจและไม่ชอบฟังโทนเสียงแบบนี้
1.2 ความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวิพากษ์ตามข้อ 1.1
1. หากเปรียบเทียบสื่อการสอนของภาคต้นและภาคปลาย ปีการศึกษา 2556 พบว่าภาคปลายมีสื่อ
การสอนน้อยกว่าภาคต้น ทั้งนี้เพราะนักศึกษาต้องการเพียงเอกสารเพียงชิ้นเดียวที่ผู้สอนเขียน
ขึ้นเองมากกว่าอ่านเรื่องเดียวกันจากนักวิชาการหลายท่าน ซึ่งหากทาประการหลังนักศึกษาจะมี
โลกทัศน์มากขึ้น
มคอ. 5
2. เนื้อหาเยอะไม่ใช่ประเด็นสาคัญ
สาคัญที่ผู้เรียนควรมีการเตรียมความพร้อมโดยอ่านสื่อการสอนที่ผู้สอนใสไว้ใน eClassroom
ไว้ล่วงหน้า
3. การตรวจงานอย่างละเอียดเป็นการวัดและประเมินความเข้าใจในเนื้อหาของผู้เรียนได้
4. เนื่องจากผู้สอนต้องตรวจงานนักศึกษาจานวนเกือบ 100 กลุ่มเพียงผู้เดียว
และต้องการอธิบายชี้แจงให้นักศึกษาเห็นจุดอ่อนในการทางานของตนเอง
เลยใช้เวลานานพอควรในการตรวจงานแต่ละกลุ่ม
และนักศึกษาบางกลุ่มก็ส่งงานล่าช้าทาให้ปริมาณงานที่ต้องตรวจเพิ่มมากขึ้น
5. อาจเป็นเพราะนักศึกษากลุ่มใหญ่มาก จึงจาเป็นต้องใช้เสียงดัง
และกระตุ้นให้ตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา
แต่อย่างไรก็ดีในการสอนครั้งต่อไปผู้สอนจะปรับระดับเสียงให้ลดลงและปรับโทนเสียงให้นุ่มนวล
มากขึ้น
2. ผลการประเมินรายวิชาโดยวิธีอื่น
2.1 ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมินโดยวิธีอื่น
จากการสอบถามนักศึกษาในขณะตรวจรายงานกลุ่มพบว่าการทารายงานที่ต้องส่งงานเป็นขั้นตอนต
ามที่ผู้สอนกาหนด ทาให้นักศึกษาได้เรียนรู้ขั้นตอนการทารายงานที่ถูกต้อง
แม้จะดูยุ่งยากและรอคอยการตรวจงานเป็นเวลานาน แต่ก็เป็นประโยชน์ต่อการเรียนในวิชาอื่น
วิชานี้เป็นพื้นฐานให้นักศึกษาต่อยอดไปสู่วิชาอื่น ๆ ได้
นักศึกษาได้เรียนรู้การสืบค้นข้อมูลได้อย่างถูกต้อง วิชานี้สอนให้นักศึกษาทางานเป็นทีม
และดูแลทาให้แต่ละคนรู้จักหน้าที่ของตนและความตรงต่อเวลา
ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักในการที่จะประสบความสาเร็จในการเรียนในระดับมหาวิทยาลัย
ทาให้รู้จักความรับผิดชอบในหน้าที่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเรียน การทารายงาน เป็นต้น
2.2 ความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวิพากษ์ตามข้อ 2.1
การฝึกปฎิบัติทารายงาน และดูแลให้คาปรึกษาอย่างใกล้ชิด
ทาให้นักศึกษามีความเข้าใจในการทารายงานมากขึ้น
หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง
มคอ. 5
1. ความก้าวหน้าของการปรับปรุงการเรียนการสอนจากแผนที่เสนอในครั้งที่ผ่านมา
1. ผู้สอนได้ปรับเนื้อหาเป็นหน่วยการสอนโดยใช้กระบวนการการรู้สารสนเทศเป็นหลัก
ตามที่ได้วางแผนไว้ในภาคต้น ปีการศึกษา 2556
2. ได้จัดทาเอกสารคาสอนของบางหน่วยตามที่ได้วางแผนไว้ในภาคต้น ปีการศึกษา 2556
2. แผนการปรับปรุงการเรียนการสอนสาหรับภาคการศึกษาหน้า
แผน/กิจกรรม ช่วงเวลา ผู้รับผิดชอบ
จัดทาเอกสารคาสอนในหน่วยที่ 2
เรื่องการรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ภาคฤดูร้อน
ปีการศึกษา 2556
อ.ศรีอร เจนประภาพงศ์
3. ข้อเสนอแนะของอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาต่อหัวหน้าหลักสูตร
1. ปรับเนื้อหาและกิจกรรมให้น้อยลง เพื่อให้นักศึกษามีเวลาซักถามข้อสงสัยในชั้นเรียนได้มากขึ้น
และอาจารย์มีเวลาเตรียมสอน ตรวจรายงานและประเมินการทากิจกรรมของนักศึกษาได้อย่างทั่วถึง
2. พัฒนาเนื้อหาที่จัดทาเป็นหน่วยการสอน 8 หน่วยให้สมบูรณ์มากขึ้น
ชื่ออาจารย์ผู้ประสานงานรายวิชา : ………………………………………………………………
ลงชื่อ : ………………………………………………………………
วันที่รายงาน ...............................
ชื่อหัวหน้าหลักสูตร : ……………………………………………………………………………
ลงชื่อ : ………………………………………………………………
วันที่รับรายงาน ...............................

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Krudoremon
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Krudoremon
 
แบบสำรวจฯ ศึกษาปัจจุบัน
แบบสำรวจฯ ศึกษาปัจจุบันแบบสำรวจฯ ศึกษาปัจจุบัน
แบบสำรวจฯ ศึกษาปัจจุบันpodjarin
 
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5Krudoremon
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAbdul Mahama
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2Krudoremon
 
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & FreewareBoonlert Aroonpiboon
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตpodjarin
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาการพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาJiraporn Kru
 
การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1thanakit553
 
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 12557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1WC Triumph
 
แผนFamous people
แผนFamous peopleแผนFamous people
แผนFamous peopleIct Krutao
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 

La actualidad más candente (20)

หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
วิชา 4472141
วิชา 4472141วิชา 4472141
วิชา 4472141
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
แบบสำรวจฯ ศึกษาปัจจุบัน
แบบสำรวจฯ ศึกษาปัจจุบันแบบสำรวจฯ ศึกษาปัจจุบัน
แบบสำรวจฯ ศึกษาปัจจุบัน
 
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
 
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาการพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
 
การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1
 
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 12557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
 
แผนFamous people
แผนFamous peopleแผนFamous people
แผนFamous people
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 

Similar a รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556

Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
Morpho syntax assignments edit
Morpho syntax assignments editMorpho syntax assignments edit
Morpho syntax assignments editNamchai
 
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนMonthon Sorakraikitikul
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนนู๋หนึ่ง nooneung
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยArm Watcharin
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxแผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxTangkwaLalida
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)etcenterrbru
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 

Similar a รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556 (20)

มคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศมคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศ
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
Morpho syntax assignments edit
Morpho syntax assignments editMorpho syntax assignments edit
Morpho syntax assignments edit
 
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxแผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
 
งานส่งคศ.3
งานส่งคศ.3งานส่งคศ.3
งานส่งคศ.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 

Más de Srion Janeprapapong

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)Srion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 

Más de Srion Janeprapapong (20)

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 

รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556

  • 1. มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะ มนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป ์ สาขาวิชา สารสนเทศศึกษา หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา HO101 ทักษะการรู้สารสนเทศ 2. รายวิชาที่ต้องเรียนก่อนรายวิชานี้ ไม่มี 3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบและกลุ่มเรียน (section) อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ รับผิดชอบ กลุ่มภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 4. ภาคการศึกษา/ปีการศึกษาที่เปิดสอนรายวิชา ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556 5. สถานที่เรียน คณะมนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป ์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย หมวดที่ 2 การจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบกับแผนการสอน 1. แผนการสอน หัวข้อ จานวนชั่ วโมง ตามแผ น การสอน จาน วน ชั่วโม งที่ สอน จริง ระบุสาเหตุที่การสอนจริง ต่างจากแผนการสอนหากมี ความแตกต่างเกิน 25% - อธิบายรายวิชาและการประเ มินผล -Tour สำนักหอสมุดกลำง มหำวิทยำลัยหอกำรค้ำไ ทย 3 3 หน่วยที่ 1 3 3
  • 2. มคอ. 5 หัวข้อ จานวนชั่ วโมง ตามแผ น การสอน จาน วน ชั่วโม งที่ สอน จริง ระบุสาเหตุที่การสอนจริง ต่างจากแผนการสอนหากมี ความแตกต่างเกิน 25% สารสนเทศกับการศึกษาใ น ระดับอุดมศึกษา 1. ความหมายของสารสนเทศ 2. ความสาคัญของสารสนเทศ ที่มีต่อ การศึกษา ในระดับอุดมศึกษา 3. สารสนเทศที่จาเป็นต่อการเรี ยนใน มหาวิทยาลัย 3.1 วิธีการเรียนใน UTCCอย่างประสบ ความสาเร็จ 3.2 การศึกษาระบบหน่วยกิตขอ ง UTCC 3.3 การใช้สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 4. การรู้เท่าทันสื่อ 4.1 ความหมายและความสาคัญ 4.2 ทักษะที่จาเป็น
  • 3. มคอ. 5 หัวข้อ จานวนชั่ วโมง ตามแผ น การสอน จาน วน ชั่วโม งที่ สอน จริง ระบุสาเหตุที่การสอนจริง ต่างจากแผนการสอนหากมี ความแตกต่างเกิน 25% สาหรับการรู้เท่าทันสื่อ 4.3 การวิเคราะห์สื่อ/การรับมือสื่ อ 4.4 แนวทางการรับมือสื่อ หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึ กษา ระดับอุดมศึกษา 1. ความหมายของการรู้สารสนเ ทศ 2. ความสาคัญของการมีทักษะ การรู้สารสนเทศ 3. องค์ประกอบของการรู้สารส นเทศ 4. กระบวนการการรู้สารสนเทศ หรือ กระบวนการพัฒนาทักษะกา รรู้สารสนเทศ 5. ผู้รู้สารสนเทศ 3 3 เนื่องจากเกิดการชุมนุมของกปปส. ที่ห้าแยกลาดพร้าวมหาวิทยาลัยงดการเรียนการสอน ผู้สอนจึงใช้วิธีการสอนผ่านFacebook หน่วยที่ 3 3 3
  • 4. มคอ. 5 หัวข้อ จานวนชั่ วโมง ตามแผ น การสอน จาน วน ชั่วโม งที่ สอน จริง ระบุสาเหตุที่การสอนจริง ต่างจากแผนการสอนหากมี ความแตกต่างเกิน 25% การวิเคราะห์ความต้องกา ร สารสนเทศ หน่วยที่4 การเลือกแหล่งสารสนเทศแล ะ ทรัพยากรสารสนเทศ 1. แหล่งสำรสนเทศ (Information Sources) 1.1 ควำมหมำย 1.2 ประเภท 2. ทรัพยำกรสำรสนเทศ (Information Resources) 2.1 ควำมหมำย 2.2 ประเภท 2.3 ทรัพยำกรสำรสนเทศประเภ ทอ้ำงอิง (Reference Resources) และกำร เลือกใช้ 3. กำรเลือกใช้แหล่งสำรสนเทศ และทรัพยำกร สำรสนเทศ 3 4 มีเนื้อหาบางส่วนที่ไม่สามารถสอนจบในห้องเรียนตามคาบเรียนที่กาหน ดจึงใช้วิธีเอาคาถามของเรื่องดังกล่าวลงFacebook และให้ผู้เรียนเข้ามาตอบคาถามและผู้สอนตรวจและเฉลยผ่านเฟส
  • 6. มคอ. 5 หัวข้อ จานวนชั่ วโมง ตามแผ น การสอน จาน วน ชั่วโม งที่ สอน จริง ระบุสาเหตุที่การสอนจริง ต่างจากแผนการสอนหากมี ความแตกต่างเกิน 25% หน่วยที่5 การค้นหาสารสนเทศ 1. ความหมาย “การสืบค้นสารสนเทศ” 2. ช่องทางการสืบค้น 3. การกาหนดคาสาคัญเพื่อกา รสืบค้น 4. วิธีการสืบค้น และเทคนิคการสืบค้น 5. เครื่องมือช่วยสืบค้นสารสนเ ทศ 5.1 WebOPAC ของสานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 3 3 หน่วยที่5 การค้นหาสารสนเทศ(ต่อ) 5. เครื่องมือช่วยสืบค้นสารสนเ ทศ (ต่อ) 5.2 Google 3 3 หน่วยที่5 การค้นหาสารสนเทศ(ต่อ) 5. เครื่องมือช่วยสืบค้นสารสนเ 3 3
  • 7. มคอ. 5 หัวข้อ จานวนชั่ วโมง ตามแผ น การสอน จาน วน ชั่วโม งที่ สอน จริง ระบุสาเหตุที่การสอนจริง ต่างจากแผนการสอนหากมี ความแตกต่างเกิน 25% ทศ (ต่อ) 5.3 ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Databases) ที่ห้องสมุดบอกรับ 5.3.1 GrolierOnline (Encyclopedia Americana) 5.3.2 WileyOnline Library 5.3.3 NEWSCenter หน่วยที่ 6 การประเมินคุณค่าสารสน เทศ 3 3 หน่วยที่ 7 การวิเคราะห์และสังเคราะ ห์ สารสนเทศ 3 3 หน่วยที่ 8 การเรียบเรียงและการอ้าง อิง การนาเสนอสารสนเทศ - การเรียบเรียงเนื้อหาและการ เขียน รายการอ้างถึง 3 3
  • 8. มคอ. 5 หัวข้อ จานวนชั่ วโมง ตามแผ น การสอน จาน วน ชั่วโม งที่ สอน จริง ระบุสาเหตุที่การสอนจริง ต่างจากแผนการสอนหากมี ความแตกต่างเกิน 25% หน่วยที่ 8 การเรียบเรียงและการอ้าง อิง การนาเสนอสารสนเทศ (ต่อ) - การเขียนบรรณานุกรม 3 3 สอบย่อย 3 3 หน่วยที่ 8 การเรียบเรียงและการอ้าง อิง การนาเสนอสารสนเทศ (ต่อ) - การเข้าเล่มรายงาน - การนาเสนอด้วยการพูด (+เทคนิคการ นาเสนอสารสนเทศ) 3 3 สรุป ทบทวนเนื้อหาทั้งหมดแล ะชี้แจงแนว การออกข้อสอบ 3 3 2. หัวข้อที่สอนที่ไม่ครอบคลุมตามแผน
  • 9. มคอ. 5 ไม่มี 3. ประสิทธิผลของวิธีการสอนที่ทาให้เกิดผลการเรียนรู้ตามที่ระบุไว้ในรายละเอียดของรายวิชา มาตรฐานประสิทธิผล ผลการเรียนรู้ วิธีการสอนที่ระบุใน รายละเอียดของรายวิชา ประสิ ทธิผล อุปสรรคของการใช้กลยุทธ์ พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข มี ไ ม่ มี คุณธรรม จริยธรรม 1. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ ผู้เรียนโดยการเข้าสอนตรงเวลา 2. การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียนตามกาหนด เวลาที่ได้ตกลงกับผู้เรียน และได้ กาหนดกติกาการให้คะแนนการเข้าชั้น เรียน 5 คะแนน ซึ่งนักศึกษาจะได้ คะแนนเต็มเมื่อ1) เข้าเรียนตรงเวลา 2) ไม่ขาดเรียน 3)ตั้งใจเรียนและมี ส่วนร่วมในชั้นเรียน 4) แต่งกายถูก ระเบียบของมหาวิทยาลัย 5) รักษา มารยาทสังคมโดยไม่ใช้อุปกรณ์ สื่อสารในระหว่างการเรียน และกรณี มาสายรวม 3 ครั้ง นับเป็นการขาด เรียน 1 ครั้ง กรณีขาดเรียนมากกว่า 4 ครั้ง โดยไม่มีเหตุผลอันควร นักศึกษาจะถูกตัดสิทธิ์ในการสอบ ปลายภาคทันที 3. มอบหมายงานให้ผู้เรียนทางานทั้งที่ เป็นงานเดี่ยวและงานกลุ่ม โดย กาหนดเวลาส่งงานชัดเจน หากไม่ สามารถส่งงานตามกาหนดเวลาได้ นักศึกษาต้องมาพบครูเพื่อแจ้งปัญหา และแก้ไขต่อไป 4. กาหนดให้นักศึกษาแต่งกายให้ถูกต้อง ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย หาก /  นักศึกษาบางคนเข้าชั้นเรียนและ ส่งงานไม่ตรงเวลา จึงตักเตือนและหักคะแนน เพื่อให้ปรับปรุงพฤติกรรม  นักศึกษาแต่งกายไม่ถูกต้อง จึงตักเตือนและหักคะแนน  นักศึกษาบางคนลอกข้อเขียนขอ งคนอื่นโดยไม่เขียนอ้างอิง จึงสอนวิธีการเขียนรายการอ้างอิ ง และเขียนบรรณานุกรมที่ถูกต้องใ ห้
  • 10. มคอ. 5 มาตรฐานประสิทธิผล ผลการเรียนรู้ วิธีการสอนที่ระบุใน รายละเอียดของรายวิชา ประสิ ทธิผล อุปสรรคของการใช้กลยุทธ์ พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข มี ไ ม่ มี ไม่ปฏิบัติตามผู้สอนจะเตือนและหัก คะแนนความประพฤติ (หักที่คะแนน ดาว) 5. ปลูกฝังค่านิยมเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริตผ่านการเรียนการสอน การ สอบย่อยในระบบeClassroom และ งานที่ได้รับมอบหมาย ความรู้ 1. จัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ รอบทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติ โดยเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ 2. จัดการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความ คิดเห็นและซักถามข้อสงสัย อาทิ - ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการ สอนใน eClassroom และกรณีไม่ เข้าใจให้ซักถามประเด็นปัญหาต่างๆ ในห้องเรียน - ดูสื่อการสอนใน eClassroomมาล่วง หน้า เพื่อเตรียมตอบคาถามของผู้ สอน ในห้องเรียน - ใช้วิธีการถาม-ตอบ กล่าวคือเป็นการ ใช้คาถามเป็นตัวสร้างความเข้าใจใน เนื้อหา เช่น การสอนเรื่องการสืบค้น สารสนเทศ และอธิบายประเด็นสาคัญ เพิ่มเติมในระหว่างการถาม-ตอบ คาถามเหล่านั้น - บรรยายและฝึกปฏิบัติการทารายงาน ไปตามขั้นตอน โดยใช้หัวข้อรายงาน /  นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่ค่อยอ่านสื่อ การสอนที่เตรียมไว้ใน eClassroomล่วงหน้า แก้ไขปัญหาข้างต้นโดยให้อ่านใน ห้องเรียน
  • 11. มคอ. 5 มาตรฐานประสิทธิผล ผลการเรียนรู้ วิธีการสอนที่ระบุใน รายละเอียดของรายวิชา ประสิ ทธิผล อุปสรรคของการใช้กลยุทธ์ พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข มี ไ ม่ มี ของนักศึกษาช่วยในกระบวนการเรียน รู้ - ทากิจกรรมกลุ่มเพื่อเป็นการตรวจสอบ ว่าผู้เรียนเข้าใจเนื้อหามากน้อย เพียงใด 3. กาหนดให้ผู้เรียนทารายงานในหัวข้อที่ สนใจซึ่งผู้สอนจะแนะนาให้ผู้เรียนทา รายงานในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา ที่ตนเองเรียนอยู่ ในกระบวนการทา รายงานผู้เรียนต้องศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเองและรู้จักสืบค้นข้อมูลจากแหล่ง สารสนเทศต่างๆ เพื่อวิเคราะห์ สังเคราะห์ และนาเสนอในรูปแบบของ รายงานที่ถูกต้องตามแบบมาตรฐาน สากลได้ ทักษะทางปัญญา 1. จัดการเรียนการสอนที่หลากหลายที่ฝึกกร ะบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินผล พร้อมทั้งฝึกการแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมและเป็นระบบ 2. เรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและศึกษ าด้วยตนเองผ่านระบบeClassroom 3. มอบหมายงานให้ผู้เรียนทารายงานที่กาห นดโดยใช้ทักษะที่ได้เรียนมาและนาเสนอ ผลงาน /  นักศึกษาไม่ศึกษาบทเรียนใน eClassroomล่วงหน้า ทาให้ไม่สามารถตอบคาถามหรือ ทากิจกรรมในชั้นเรียน จึงต้องตักเตือนเพื่อให้ปรับปรุงพ ฤติกรรม ทักษะความสัมพันธ์ระ หว่างบุคคลและความรั 1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้ ฝึกการทางานเดี่ยวและงานกลุ่ม /  การทางานกลุ่มบางคนไม่รับผิดช อบงาน
  • 12. มคอ. 5 มาตรฐานประสิทธิผล ผลการเรียนรู้ วิธีการสอนที่ระบุใน รายละเอียดของรายวิชา ประสิ ทธิผล อุปสรรคของการใช้กลยุทธ์ พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข มี ไ ม่ มี บผิดชอบ และกาหนดเวลาส่งงานชัดเจน 2. มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยตนเ องในระบบ eClassroom จึงให้แบ่งงานให้ชัดเจนเพื่อให้ทุก คนมีส่วนร่วมในการทางาน ทักษะการวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสารและการใช้เ ทคโนโลยีสารสนเทศ 1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนมี โอกาสสืบค้นและนาเสนอข้อมูลโดยใช้เท คโนโลยีสารสนเทศ 2. มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้นาเสนอในรูป แบบการเขียนรายงานทางวิชาการ /  นักศึกษาบางคนไม่นาไอแพดมา ศึกษาบทเรียนและฝึกการสืบค้น ข้อมูลในชั้นเรียน ทาให้ไม่สามารถเรียนรู้เนื้อหาวิช าเรื่องนั้นได้อย่างเข้าใจ และไม่ได้คะแนน ผู้สอนจึงกาหนดไว้ว่าหากไม่มีไอ แพดก็จะไม่ให้เข้าเรียนในคาบนั้น ๆ 4. ข้อเสนอการดาเนินการเพื่อปรับปรุงวิธีการสอน มหาวิทยาลัยควรปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้รองรับการใช้งานของนักศึกษาจานวนมาก เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาการเข้าระบบไม่ได้หรือถูกตัดออกจากระบบ หมวดที่ 3 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา 1. จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน (ณ วันหมดกาหนดการเพิ่มถอน) 311 คน 2. จานวนนักศึกษาที่คงอยู่เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา 294 คน 3. จานวนนักศึกษาที่ถอน (W) 17 คน 4. การกระจายของระดับคะแนน (เกรด) ระดับคะแนน จานวน คิดเป็นร้อยละ A 17 5.78 B+ 13 4.42
  • 13. มคอ. 5 B 46 15.65 C+ 56 19.05 C 49 16.67 D+ 43 14.63 D 37 12.59 F 31 10.53 I 2 0.68 5. ปัจจัยที่ทาให้ระดับคะแนนผิดปกติ ไม่มี 6. ความคลาดเคลื่อนจากแผนการประเมินที่กาหนดไว้ในรายละเอียดรายวิชา 6.1 ความคลาดเคลื่อนด้านกาหนดเวลาการประเมิน 6.2 ความคลาดเคลื่อนด้านวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ (ถ้ามี) 7. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา (คัดลอกมาจาก มคอ.3 หมวด 7 ข้อ4) วิธีการทวนสอบ สรุปผล มีการแต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึ กษา คณะมนุษยศาสตร์ ปีการศึกษา 2556  วิธีการให้คะแนนและผลการสอบมีความเหมาะ ความคลาดเคลื่อน เหตุผล ระยะเวลาที่ใช้ในการตรวจรายงานมากกว่าที่กาห นดไว้ (นอกชั้นเรียน) นักศึกษามีจานวนมาก ทาให้ควบคุมเวลาในการตรวจและแก้ไขงานให้นักศึกษาไ ด้ยาก แม้จะกาหนดให้ทารายงาน 3-4 คนต่อ 1 กลุ่มก็ตาม และนักศึกษาบางคนต้องการทารายงานเดี่ยว จึงทาให้ปริมาณงานที่ต้องตรวจมีมากขึ้น ความคลาดเคลื่อน เหตุผล - -
  • 14. มคอ. 5 สม  เสนอให้ข้อสอบปลายภาคควรเป็นปรนัย หมวดที่ 4 ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ 1. ประเด็นด้านทรัพยากรประกอบการเรียน และสิ่งอานวยความสะดวก อุปสรรคในการใช้แหล่งทรัพยากร และสิ่งอานวยความสะดวก ผลกระทบต่อการเรียนรู้ ระบบอินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัยไม่สามารถรองรับการใช้งานพ ร้อมกันของนักศึกษาจานวนมากในเวลาเดียวกันได้ นักศึกษาบางคนไม่สามารถทากิจกรรมใน ห้องเรียนได้ตามที่ผู้สอนกาหนด 2. ประเด็นด้านการบริหารและองค์กร อุปสรรคด้านการบริหารและองค์กร ผลกระทบต่อการเรียนรู้ จานวนนักศึกษาแต่ละกลุ่มไม่เท่ากัน ในกลุ่มที่มีจานวนนักศึกษามาก ไม่สามารถทากิจกรรมหรือฝึ กทักษะต่าง ๆ ได้อย่างทั่วถึง หมวดที่ 5 การประเมินรายวิชา 1. ผลการประเมินรายวิชาโดยนักศึกษา 1.1 ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมินโดยนักศึกษา 1. เนื้อหาเยอะมากเกินไป ทาให้ไม่เข้าใจ 2. เนื้อหาที่สอนในแต่ละสัปดาห์เยอะเกินไป จนบางครั้งทาให้เรียนไม่ค่อยรู้เรื่อง 3. ตรวจงานละเอียดมาก อธิบายงานอย่างละเอียด ซึ่งเป็นผลดีกับนักศึกษา 4. อาจารย์สอนเกินเวลา และต้องรอตรวจงานถึงเย็น กลับบ้านลาบาก 5. อาจารย์เสียงดังมาก นักศึกษาบางคนตกใจและไม่ชอบฟังโทนเสียงแบบนี้ 1.2 ความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวิพากษ์ตามข้อ 1.1 1. หากเปรียบเทียบสื่อการสอนของภาคต้นและภาคปลาย ปีการศึกษา 2556 พบว่าภาคปลายมีสื่อ การสอนน้อยกว่าภาคต้น ทั้งนี้เพราะนักศึกษาต้องการเพียงเอกสารเพียงชิ้นเดียวที่ผู้สอนเขียน ขึ้นเองมากกว่าอ่านเรื่องเดียวกันจากนักวิชาการหลายท่าน ซึ่งหากทาประการหลังนักศึกษาจะมี โลกทัศน์มากขึ้น
  • 15. มคอ. 5 2. เนื้อหาเยอะไม่ใช่ประเด็นสาคัญ สาคัญที่ผู้เรียนควรมีการเตรียมความพร้อมโดยอ่านสื่อการสอนที่ผู้สอนใสไว้ใน eClassroom ไว้ล่วงหน้า 3. การตรวจงานอย่างละเอียดเป็นการวัดและประเมินความเข้าใจในเนื้อหาของผู้เรียนได้ 4. เนื่องจากผู้สอนต้องตรวจงานนักศึกษาจานวนเกือบ 100 กลุ่มเพียงผู้เดียว และต้องการอธิบายชี้แจงให้นักศึกษาเห็นจุดอ่อนในการทางานของตนเอง เลยใช้เวลานานพอควรในการตรวจงานแต่ละกลุ่ม และนักศึกษาบางกลุ่มก็ส่งงานล่าช้าทาให้ปริมาณงานที่ต้องตรวจเพิ่มมากขึ้น 5. อาจเป็นเพราะนักศึกษากลุ่มใหญ่มาก จึงจาเป็นต้องใช้เสียงดัง และกระตุ้นให้ตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา แต่อย่างไรก็ดีในการสอนครั้งต่อไปผู้สอนจะปรับระดับเสียงให้ลดลงและปรับโทนเสียงให้นุ่มนวล มากขึ้น 2. ผลการประเมินรายวิชาโดยวิธีอื่น 2.1 ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมินโดยวิธีอื่น จากการสอบถามนักศึกษาในขณะตรวจรายงานกลุ่มพบว่าการทารายงานที่ต้องส่งงานเป็นขั้นตอนต ามที่ผู้สอนกาหนด ทาให้นักศึกษาได้เรียนรู้ขั้นตอนการทารายงานที่ถูกต้อง แม้จะดูยุ่งยากและรอคอยการตรวจงานเป็นเวลานาน แต่ก็เป็นประโยชน์ต่อการเรียนในวิชาอื่น วิชานี้เป็นพื้นฐานให้นักศึกษาต่อยอดไปสู่วิชาอื่น ๆ ได้ นักศึกษาได้เรียนรู้การสืบค้นข้อมูลได้อย่างถูกต้อง วิชานี้สอนให้นักศึกษาทางานเป็นทีม และดูแลทาให้แต่ละคนรู้จักหน้าที่ของตนและความตรงต่อเวลา ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักในการที่จะประสบความสาเร็จในการเรียนในระดับมหาวิทยาลัย ทาให้รู้จักความรับผิดชอบในหน้าที่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเรียน การทารายงาน เป็นต้น 2.2 ความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวิพากษ์ตามข้อ 2.1 การฝึกปฎิบัติทารายงาน และดูแลให้คาปรึกษาอย่างใกล้ชิด ทาให้นักศึกษามีความเข้าใจในการทารายงานมากขึ้น หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง
  • 16. มคอ. 5 1. ความก้าวหน้าของการปรับปรุงการเรียนการสอนจากแผนที่เสนอในครั้งที่ผ่านมา 1. ผู้สอนได้ปรับเนื้อหาเป็นหน่วยการสอนโดยใช้กระบวนการการรู้สารสนเทศเป็นหลัก ตามที่ได้วางแผนไว้ในภาคต้น ปีการศึกษา 2556 2. ได้จัดทาเอกสารคาสอนของบางหน่วยตามที่ได้วางแผนไว้ในภาคต้น ปีการศึกษา 2556 2. แผนการปรับปรุงการเรียนการสอนสาหรับภาคการศึกษาหน้า แผน/กิจกรรม ช่วงเวลา ผู้รับผิดชอบ จัดทาเอกสารคาสอนในหน่วยที่ 2 เรื่องการรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2556 อ.ศรีอร เจนประภาพงศ์ 3. ข้อเสนอแนะของอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาต่อหัวหน้าหลักสูตร 1. ปรับเนื้อหาและกิจกรรมให้น้อยลง เพื่อให้นักศึกษามีเวลาซักถามข้อสงสัยในชั้นเรียนได้มากขึ้น และอาจารย์มีเวลาเตรียมสอน ตรวจรายงานและประเมินการทากิจกรรมของนักศึกษาได้อย่างทั่วถึง 2. พัฒนาเนื้อหาที่จัดทาเป็นหน่วยการสอน 8 หน่วยให้สมบูรณ์มากขึ้น ชื่ออาจารย์ผู้ประสานงานรายวิชา : ……………………………………………………………… ลงชื่อ : ……………………………………………………………… วันที่รายงาน ............................... ชื่อหัวหน้าหลักสูตร : …………………………………………………………………………… ลงชื่อ : ……………………………………………………………… วันที่รับรายงาน ...............................