SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 70
Descargar para leer sin conexión
จัดทาโดย
       อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์
สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์
         มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
            ปีการศึกษา 2553
ความหมาย “ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิง
                 (Reference Resources)”
* ทรัพยากรสารสนเทศในรูปแบบใดก็ตาม (สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ ฐานข้อมูล)
* จัดทาขึ้นเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงบางเรื่องที่ต้องการ ไม่มุ่งหมายจะอ่าน/ใช้เนื้อหา
    ทั้งหมดที่มี
* ตัวอย่างเช่น อยากทราบความหมายของคาว่า “เจ้าชีวิต” ก็จะค้นหาความหมาย
    ของคาศัพท์ดังกล่าวที่พจนานุกรมไทย โดยดูที่คาว่า “เจ้าชีวิต” เท่านั้น และ
    ไม่เปิดดูความหมายของศัพท์อื่น ๆ
* จัดเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบ มีระบบการสืบค้นที่มีประสิทธิภาพ เพื่อสามารถ
    ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างสะดวก และรวดเร็วตามความต้องการ
* ไม่อนุญาตให้ยืมออกนอกห้องสมุด
การจัดเก็บ Reference Resources:
1. หนังสืออ้างอิง ให้สัญลักษณ์ “อ” “R” “Ref” กากับเหนือเลขเรียกหนังสือ        อ
                                                                            495.913
                                                                            ร656พ
                  แยกจากหนังสือทั่วไป -----> ส่วนหนึ่ง หรือห้องหนึ่ง
                  จัดเรียงเช่นเดียวกับหนังสือทั่วไป บริการชั้นเปิด

2. สื่อโสตทัศน์ ให้สัญลักษณ์ เช่นเดียวกับหนังสือ
                  จัดเก็บไว้ที่ แผนกโสตทัศนวัสดุ   ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์

3. ฐานข้อมูลประเภท ซีดีรอม ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูลบน Internet
                   เข้าถึงสารสนเทศด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
ความสาคัญ “Reference Resources”:

 ใช้ค้นหาคาตอบในเรื่องทีผู้ใช้ต้องการอย่างสะดวก และรวดเร็ว ทั้งที่เป็น
                        ่

 * Fact ของ เหตุการณ์ เรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลกทั้งที่เป็นความรู้ทางวิชาการ/ทั่วไป
         เช่น ภาวะโลกร้อน, จานวนประชากรที่นับถือศาสนาพุทธในปัจจุบัน,
              ความหมายของฌัลล์   ผู้ชายที่สูงที่สุดในโลก ฯลฯ

 * รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศตามความต้องการของผู้ใช้
          เช่น รายชื่อวิทยานิพนธ์ และรายชื่อบทความที่ศึกษาเกี่ยวกับการให้การศึกษา
                        ผู้ใช้       ฯลฯ
ลักษณะสาคัญ “Reference Resources”:

เนื่องจากปัจจุบันมีการจัดทา Reference Resources ออกมาหลายรูปแบบทั้งที่เป็นสื่อ
     สิ่งพิมพ์ (เรียกว่าหนังสืออ้างอิง) และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นในการอธิบาย
     ลักษณะของ Reference Resources จึงอธิบายเป็น 2 ประเด็น คือ
            1. ลักษณะทั่วไป (ทุกสื่อเหมือนกัน)
         2. ลักษณะแตกต่างไปตามรูปแบบสื่อ
                 2.1 สื่อสิ่งพิมพ์ (คือหนังสืออ้างอิง)
                 2.2 ฐานข้อมูล (หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์)
1. ลักษณะโดยทั่วไป พบในสื่อทุกรูปแบบ

    1.1 ใช้ค้นหาข้อเท็จจริงทางวิชาการ/ความรู้ทั่วไปบางเรื่อง ไม่จาเป็น
            ต้องอ่าน/ ใช้เนื้อหาทั้งหมด    เช่น

           อยากทราบความหมาย “เจ้าชีวิต”
           ใช้ -------> พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
1. ลักษณะโดยทั่วไป พบในสื่อทุกรูปแบบ (ต่อ)

     1.2 รวมความรู้หลายประเภท ใช้ค้นหาความรู้ที่เกิดขึ้นในโลก โดยเฉพาะ
            เรื่องราวใหม่ ๆ เช่น

        อยากทราบว่าใครได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพปีล่าสุด
        ใช้ --> Information Please Almanac หรือ Infoplease.com
1. ลักษณะโดยทั่วไป พบในสื่อทุกรูปแบบ (ต่อ)

  1.3 มีขอบเขตเนื้อหากว้างขวาง คลอบคลุมวิชาการต่างๆ ให้รายละเอียด
       กว้าง ๆ เป็นพื้นความรูในสาขาหนึ่ง ๆ
                              ้                 เช่น

      อยากทราบข้อมูลเกี่ยวกับการจัดทาสาระสังเขป (Abstracts and Abstracting) ซึ่งเป็น
                        พื้นความรู้ของผู้เรียนในสาขาวิชา Information Studies
      ใช้ ------- > Encyclopedia of Library and Information Science
1. ลักษณะโดยทั่วไป พบในสื่อทุกรูปแบบ (ต่อ)


  1.4 เขียนเรื่องราวอย่างกะทัดรัดจบในตัวเอง “บทความ”


  1.5 เขียนโดยผู้ทรงคุณวุฒหลายท่าน เช่น Katz, Taylor, Bopp, Cohen …
                          ิ
1. ลักษณะโดยทั่วไป พบในสื่อทุกรูปแบบ (ต่อ)
  1.6 เรียบเรียงเนื้อหาเป็นระบบ เช่น ตามลาดับอักษร หัวข้อเรื่อง (Topic) ฯลฯ
       ค้นง่าย ถ้าเป็น
                * Reference Books จะมีเครื่องมือช่วยค้น เช่น คานาทาง
                      อักษรหรือเลขที่นาเล่ม รายการโยง         ดรรชนี      ฯลฯ
               * databases ดูที่
                      วิธีการค้นคืน: 1) Search (Basic / Advanced)
                                     2) Browse (หมวดหมู่, ตัวอักษร)
                      เทคนิคการค้นคืน: ตรรกบูล (Boolean Logic) (and or not)
                                         ค้นระบุเขตข้อมูล (Field) (Title:abstracts)
                                                ฯลฯ
2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ
  2.1 ถ้าเป็น หนังสืออ้างอิง (Reference Books) มีลักษณะเพิ่มเติม ดังนี้
     1) เรียบเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบ
         1.1) Alphabetical Arrangement คือ เรียงตามลาดับอักษรแบบพจนานุกรม
            ถ้าเป็นหนังสืออ้างอิงภาษาไทย เรียงตามแบบ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตย-
                         สถาน เช่น
                       กกุธภัณฑ์
                       กมุท
                       กระสวน
                       กุญชร
                       แกลลอน
                       ไก่แจ้
2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ (ต่อ)

  ถ้าเป็นหนังสืออ้างอิงภาษาต่างประเทศ เรียงได้ 2 วิธี
  ก. Word by Word Arrangement เรียงแบบคาต่อคา ดูไปทีละคา
       1. Horse                    2. Horse Racing
       3. Horseback Riding         4. Horses and Their Relatives
       5. Horseshoe Crab           6. Horseshoe Pitching
  ข. Letter by Letter Arrangement เรียงแบบอักษรต่ออักษร ดูไปทีละตัวอักษร
       1. Horse                    2. Horseback Riding
       3. Horse Racing             4. Horses and Their Relatives
       5. Horseshoe Crab           6. Horseshoe Pitching
2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ (ต่อ)

  1.2) Chronological Arrangement      เรียงตามลาดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนหลัง
       เช่น สารานุกรมประวัติศาสตร์   สมพัตรสร ฯลฯ
  1.3) Geographical Arrangement เรียงตามสภาพภูมิศาสตร์ เรียงตามเขตที่ตั้งทาง
       ภูมิศาสตร์   เช่น หนังสือนาเที่ยว หนังสือแผนที่ เป็นต้น
  1.4) Classified Arrangement เรียงตามระบบการจัดหมู่หนังสือ/หมวดหมู่
       เรียงตามลาดับของการแบ่งหมวดหมู่หนังสือ (เช่น DC LC) เช่น
       หนังสือบรรณานุกรม เป็นต้น
  1.5) Topical/ Subject Arrangement เรียงตามหัวข้อวิชา เรียงตามลาดับภายใต้
       หัวข้อวิชา หรือหัวข้อกว้าง ๆ เช่น ดรรชนีและสาระสังเขป
       หนังสือบรรณานุกรม เป็นต้น
ตัวอย่างการจัดเรียงตามหัวข้อวิชา ( Topical/ Subject Arrangement )

สารานุกรมวิทยาศาสตร์:
1.   วิทยาศาสตร์กายภาพ (เช่น สุริยุปราคา นาขึ้นน้าลง)
2.   วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (เช่น เซ่งจี้ หัวใจ)
3.   วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เช่น ท่อพีวีซี กล้องถ่ายรูป)



บทคัดย่อวิทยานิพนธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย:
     คณะ  สาขาวิชา  ชื่อผู้เขียน (เรียงตามลาดับอักษร)
2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ (ต่อ)

     2) มีการจัดทาเครื่องมือช่วยค้นเนื้อหาภายในเล่ม               ค้นได้เร็วยิ่งขึ้น

             2.1) Volume Guide อักษร/เลขที่นาเล่ม

                     เล่ม 1                                    Vol 1
                    ก - โขนง                                   A-C

                 - พบใน หนังสืออ้างอิงหลายเล่มจบ
                 - อยู่ที่ปกหนังสือ สันหนังสือ ฯลฯ
                 - รู้ว่าหนังสือเล่มนั้นมีเนื้อหาเริ่มต้น และสิ้นสุดที่ตัวอักษร/เรื่องใด
2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ (ต่อ)

            2.2) Inside Guide Word = คานาทาง
                 คือ คาที่ปรากฏอยู่มุมบนซ้ายขวา หรือกลางหน้ากระดาษแต่ละหน้า
    ทาให้ทราบว่าหน้านั้น ๆ ขึ้นต้นด้วยคาใดถึงคาใด


    กิเลน         106       กีฬา                   so/society       818
2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ (ต่อ)
    2.3) Thumb Index = ดรรชนีริมหน้ากระดาษ            ปรากฏที่ริม
    หนังสือด้านตรงข้ามกับสันหนังสือ พบในหนังสืออ้างอิงเล่มหนา ๆ
2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ (ต่อ)

       2.4) Cross Reference = ส่วนโยง เป็นการแนะนาให้ไปอ่านเรื่องที่
                       ต้องการจากหัวข้ออื่นๆ ภายในเล่ม (see, see also)   เช่น


 พระภิกษุ ดูที่ สงฆ์          Oil Companies See Petroleum industry


     การบริหารงานบุคคล ดูเพิ่มเติมที่       การนิเทศลูกจ้าง
                                            การประเมินผลงาน
2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ (ต่อ)

        2.5) Index = ดรรชนี           นาคา/กลุ่มคาสาคัญในหนังสือ มาจัดเรียงตามลาดับ
อักษร & มีเลขหน้ากากับ ปกติอยู่ท้ายเล่ม แต่หนังสือชุด ดรรชนีอยู่ในเล่มสุดท้าย บอก
ทั้งเล่มที่ (Volume) และ หน้าที่ปรากฎเรื่องนั้น ๆ เช่น


     ดรรชนีที่อยู่ท้ายเล่ม                    ดรรชนีแยกเล่ม
     Reference sources                    LOAN 17-361; Banks and
        guide to, 302-8                        Finance 3-154, 172-174;
        evaluation of, 293-314                 Credit 8-172, 18-130b
     Remote users, 13, 146,                    see also Credit, Economic
2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ (ต่อ)
  2.2 ถ้าเป็น Reference Resources ที่อยู่ในรูปแบบฐานข้อมูล มีลักษณะเพิ่มเติม
       ดังนี้
       1) ให้ข้อมูลย้อนหลังหลาย ๆ ปี ในสื่อ 1 แผ่น/ฐาน
       2) ปรับปรุงข้อมูลได้รวดเร็วนับได้เป็นชั่วโมง หรือนาที หรือวินาที
       3) มีความน่าสนใจมากกว่าการใช้หนังสืออ้างอิง เพราะเป็นสื่อผสม
       4) บางชื่อเรื่องรวม Reference Resources หลาย ๆ ประเภทไว้ในชื่อเรื่องเดียวกัน
       5) ค้นหาสารสนเทศได้สะดวก รวดเร็ว & ตรง Need เข้าถึงได้หลายจุด (ISBN,
                เลขหมู่หนังสือ, ชื่อผู้แต่ง, ชื่อเรื่อง, คาสาคัญ, หัวเรื่อง ...)
                จากัดขอบเขตการค้นได้โดยใช้ ตรรกบูล หรือช่วงปีค.ศ.ของสารสนเทศ
                ฯลฯ
       6) ค้นได้ทุกที่ทุกเวลาทุกโอกาส
ประเภท Reference Resources:
 จาแนกได้ 3 วิธี
 1. รูปแบบ (Format)
 2. หน้าที่ (Function)
 3. ขอบเขต (Scope)
ประเภท Reference Resources: (ต่อ)
  วิธีที่ 1: จาแนกตามรูปแบบ
              เป็น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ ฐานข้อมูล
ในที่นี้อธิบายประเภทของ Reference Resources ที่อยู่ในรูปแบบฐานข้อมูลเท่านั้น
ประเภท Reference Resources: (ต่อ)
ฐานข้อมูล (Databases)
คือ กลุ่มของสารสนเทศ หรือ เป็นสารสนเทศจานวนหนึ่ง
   ซึ่งมีความสัมพันธ์กัน เพราะ มีเนื้อหาในเรื่องเดียวกัน
       (เช่น ให้สารสนเทศทางด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์)
   รวบรวมสารสนเทศจากทรัพยากรสารสนเทศประเภทเดียวกัน
       (เช่น รวมสารสนเทศจากบทความในวารสาร วิทยานิพนธ์ งานวิจัยทาง LIS)

   บันทึกในสื่อที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ เช่น ซีดีรอม ฐานข้อมูลออนไลน์
   มีโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล ช่วยจัดข้อมูลให้เป็นระบบ & ค้นง่าย
        (ตัวอย่าง Software เช่น Microsoft Access, Oracle)
   ตัวอย่างฐานข้อมูล เช่น LISA (Library and Information Science Abstracts)
ประเภท Reference Resources: (ต่อ)
ประเภทของฐานข้อมูล:

1. ฐานข้อมูลอ้างอิง/ฐานข้อมูลบรรณานุกรม
     (Reference/Bibliographic Databases)

2. ฐานข้อมูลที่ให้ความรู้ & ข้อเท็จจริง
     (Nonbibliographic/ Source Databases)
ประเภท Reference Resources: (ต่อ)
ประเภทของฐานข้อมูล: (ต่อ)
1. ฐานข้อมูลอ้างอิง/ฐานข้อมูลบรรณานุกรม
      (Reference/Bibliograhic Databases)
  * ให้ข้อมูลชี้แนะแหล่งสารสนเทศที่ให้คาตอบแก่ผู้ใช้
  * ให้รายละเอียดทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
  * ส่วนใหญ่จะมีสาระสังเขป หรือบทคัดย่อประกอบ

  * ตัวอย่างเช่น Readers’ Guide to Periodical Literature, DAO ฯลฯ
  * หนังสือบรรณานุกรม ดรรชนีและสาระสังเขป.
  * ปัจจุบันฐานข้อมูลประเภทนี้อาจให้เนื้อหาเต็มรูป (Full-text) ได้ด้วย
DIGITAL REFERENCE SERVICES BIBLIOGRAPHY

               ตัวอย่างฐานข้อมูลอ้างอิง หรือฐานข้อมูลบรรณานุกรม
ประเภท Reference Resources: (ต่อ)
ประเภทของฐานข้อมูล:        (ต่อ)
  2. ฐานข้อมูลทีให้ความรู้ & ข้อเท็จจริง (Nonbibliographic/ Source Databases)
                ่
      * ให้ความรู้ หรือข้อเท็จจริง ที่มีเนื้อหาสาระสมบูรณ์ นาไปใช้ประโยชน์ได้ทันที
      * แบ่งย่อยได้ 4 ประเภท ดังนี้
           2.1 ฐานข้อมูลเนื้อหาเต็มรูป (Full-text Databases)
           2.2 ฐานข้อมูลตัวเลข (Numeric Databases)
           2.3 ฐานข้อมูลเนื้อหาผสมตัวเลข (Texual Numeric Databases)
           2.4 ฐานข้อมูลคุณสมบัติ (Properties Databases)
ประเภท Reference Resources: (ต่อ)
ประเภทของฐานข้อมูล: (ต่อ)


2.1 ฐานข้อมูลเนื้อหาเต็มรูป (Full-text Databases)
    * บันทึกสารสนเทศจากสิ่งพิมพ์ต้นฉบับอย่างสมบูรณ์
    * เป็นแหล่งสารสนเทศที่มีคุณค่าสมบูรณ์ & ผู้ใช้ชอบ
    * เช่น UPI NEWS (ข่าว)     NEXIS (กฎหมาย) NEWSCenters (ข่าว)   ฯลฯ
    * พจนานุกรม สารานุกรม อักขรานุกรมชีวประวัติ ฯลฯ
2.2 ฐานข้อมูลตัวเลข (Numeric Databases)
    * ให้ข้อมูลเป็นตัวเลขสถิติต่าง ๆ
    * ส่วนใหญ่มาจาก Primary Sources เช่น Donnelly Demographic (ประชากร).

2.3 ฐานข้อมูลเนื้อหาผสมตัวเลข (Texual Numeric Databases)
    * ให้ข้อมูลที่เป็นตัวเลข & ข้อเท็จจริงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
    * เช่น Standard and Poor’s News (ธุรกิจ เศรษฐกิจ การเงิน) ฯลฯ
    * รวมถึงฐานข้อมูลที่ให้ข้อมูลประเภท ทาเนียบนาม.

2.4 ฐานข้อมูลคุณสมบัติ (Properties Databases)
    * เป็นคุณสมบัติ & ส่วนประกอบของสสาร วัตถุ แร่ธาตุ
    * ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลด้านเคมี ฟิสิกส์ วิศวกรรม เช่น CHEMDEX
ตัวอย่างฐานข้อมูลตัวเลข
(Numeric Databases)
ประเภท Reference Resources: (ต่อ)
วิธีที่ 2: จาแนกตาม หน้าที่
1. ให้ข้อเท็จจริงโดยตรง (Source Type)
  * ให้รายละเอียดของสารสนเทศที่ใช้ตอบคาถามได้ทันที เช่น ความหมายของเจ้าชีวิต ฯลฯ
  * ได้แก่ พจนานุกรม สารานุกรม แหล่งสารสนเทศรายปี ทาเนียบนาม
           อักขรานุกรมชีวประวัติ แหล่งสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ หนังสือคู่มือ.

2. แนะแหล่งสารสนเทศที่ให้คาตอบ (Direction Type)
  * ชี้แนะ/บอก ให้ทราบว่าสารสนเทศที่ต้องการอยู่ในทรัพยากรสารสนเทศชื่อเรื่องใด เช่น
       วิจัยหลักสูตร LIS,   ใครทาวิทยานิพนธ์เรื่อง “Search Tools กับการให้บริการตอบคาถามฯ”
  * ควบคุมแหล่งสารสนเทศที่มีผู้ผลิตขึ้น
  * ได้แก่ หนังสือบรรณานุกรม ดรรชนีและสาระสังเขป.
ประเภท Reference Resources: (ต่อ)
 วิธีที่ 3: จาแนกตาม ขอบเขตเนื้อหาสาระ
 1. แหล่งสารสนเทศประเภทอ้างอิงทั่วไป (General Reference Sources)
        * ให้สารสนเทศทั่วไปกว้างๆ ไม่จากัดสาขาวิชา
        * เช่น สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฯลฯ
        * ผู้ใช้ทั่วไป และ นักวิชาการ

 2. แหล่งสารสนเทศประเภทอ้างอิงเฉพาะวิชา (Subject Reference Sources)
        * ให้สารสนเทศเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง   ข้อมูลละเอียดลึกซึ้งกว่าใน 1
        * เช่น สารานุกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ
        * นักวิชาการสาขาวิชานั้นๆ
การคัดเลือก & การประเมินคุณค่า Reference Resources
        1. ปรัชญาการพัฒนา
        2. แหล่งผลิต & เผยแพร่
        3. หลักเกณฑ์การประเมินคุณค่าโดยทั่วไป
        4. คู่มือทีใช้ประกอบการคัดเลือก
                   ่
        5. เทคนิคการคัดเลือก

        6. การคัดออก (Weeding)
การคัดเลือก & การประเมินคุณค่า Reference Resources: (ต่อ)

 หน้าที่ของบรรณารักษ์บริการตอบคาถาม (Reference Librarians)
      1. ตอบคาถามแก่ผู้ใช้
      2. คัดเลือก Reference Resources ให้ตรงกับความต้องการผู้ใช้
      3. ดูแลจัดการเรื่องการจัดเก็บ Reference Resources ให้เรียบร้อย

      4. บริการรวบรวมบรรณานุกรม
                              ฯลฯ
ปรัชญาการพัฒนา Reference Resources
  มี 2 หลักการ (รูปแบบ, การใช้)

  1. เน้นรูปแบบ (Format)
    * ถ้าทรัพยากรสารสนเทศชื่อเรื่องนั้นมีวัตถุประสงค์การจัดทาเพื่อเป็น Reference
             Resources -----> จัดเก็บไว้ในกลุ่ม Reference Resources ทันที
    * Collection จะมีขนาดใหญ่มาก & ครอบคลุมครบถ้วน
    * เช่น สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  2. เน้นการใช้ (Usage)
    * Reference Resources ชื่อเรื่องที่มีการใช้มากจะจัดเก็บไว้ในกลุ่ม Reference
             Resources
    * Collection เล็ก หาง่าย
แหล่งผลิต & เผยแพร่ Reference Resources
1.   สานักพิมพ์เพือการค้า หรือบริษัทผู้ขาย/จัดจาหน่ายฐานข้อมูล
                  ่
2.   องค์กรของรัฐ
3.   สานักพิมพ์ตัวแทนจาหน่าย หรือ บริษัทตัวกลาง
4.   บริษัทข่ายงานทางบรรณานุกรม (Bibliographic Utilities)
5.   องค์กรระหว่างประเทศ
6.   สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย
7.   สมาคมวิชาชีพ สมาคมวิชาการ & สมาคมเพื่อการวิจย.
                                                 ั
แหล่งผลิต & เผยแพร่ Reference Resources: (ต่อ)
1.   สานักพิมพ์เพือการค้า หรือบริษัทผู้ขาย/จัดจาหน่ายฐานข้อมูล
                  ่

     * เป็นทั้งผู้ผลิต & จัดจาหน่าย Reference Resources ประเภทต่าง ๆ
     * ขายเอง / จาหน่ายการเข้าถึงเอง หรือ
       จาหน่ายผ่านร้านขายหนังสือ / สานักพิมพ์ตัวแทนจาหน่าย (Vendors)
     * สานักพิมพ์เพื่อการค้า กับ ความมีชื่อเสียงในการจัดทา Reference Resources
       ดรรชนีและสาระสังเขป:               H. W. Wilson …
       สารานุกรม:                      Grolier …
       พจนานุกรม:                      Merriam-Webster, Macmillan …
                                          ฯลฯ
ตัวอย่าง Reference Resources ที่จัดทาโดย
สานักพิมพ์ H.W. Wilson ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะ
เป็น ดรรชนีและสาระสังเขป
แหล่งผลิต & เผยแพร่ Reference Resources:                       (ต่อ)
2.   องค์กรของรัฐ
     * ผู้ผลิต & จาหน่ายเอง
          เช่น ห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน ผลิต & จาหน่าย Encyclopedia of the
              Library of Congress ฯลฯ
     * หรือ ให้บริษัทตัวกลาง (Vendors) จาหน่ายให้
           เช่น
          ห้องสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน ผลิต & จาหน่ายฐานข้อมูล MEDLINE และ
                ให้ ProQuest จาหน่ายฐานข้อมูลดังกล่าวด้วย (เป็นส่วนหนึ่งของบริการ
                        ฐานข้อมูล DIALOG)
          ราชบัณฑิตยสถาน: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
                           สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน
          หอสมุดแห่งชาติ: บรรณานุกรมแห่งชาติ
ตัวอย่าง Encyclopedia of the Library of Congress
ที่จัดทาโดยห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน
http://www.royin.go.th/th/home/index.php

ตัวอย่าง Reference Resources
 จัดทาโดยราชบัณฑิตยสถาน
3.   สานักพิมพ์ตัวแทนจาหน่าย หรือ บริษัทตัวกลาง

     * รับมาขายอย่างเดียว (ขายหนังสือ, จาหน่ายการเข้าถึงฐานข้อมูลออนไลน์)
     * เช่น ดวงกมลสมัย วรสาส์น ศึกษิตสยาม บริษัท ProQuest               ฯลฯ
บริษัท ดวงกมลสมัย จากัดเป็นตัวแทนจัดจาหน่ายหนังสือ
ของสานักพิมพ์ชั้นนาต่างๆ อีกมากมาย อาทิ เช่น สมาคม
ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) และอีกหลายสานักพิมพ์
ชั้นนาในประเทศ และเป็นผู้นาด้านสื่อการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษ ของสานักพิมพ์ Oxford University Press
(ELT) รวมถึง Cambridge University Press (ELT) แต่
เพียงผู้เดียวในประเทศไทย
4. บริษัทข่ายงานทางบรรณานุกรม (Bibliograhic Utilities)
   * จาหน่ายการใช้ฐานข้อมูลบัตรรายการของข่ายงานแก่ห้องสมุดสมาชิก
       เช่น    OCLC        เป็นต้น
5.   องค์กรระหว่างประเทศ
     * ผลิต & เผยแพร่ Reference Resources ประเภทต่าง ๆ
     * เช่น
                 UNESCO       - Statistical Yearbook (หนังสือรายปี)
                 FAO           - AGRIS (ฐานข้อมูลการเกษตร)
ตัวอย่างรายชื่อ Reference Resources
        จัดทาโดย UNESCO
6.   สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย

     * ผลิต & จาหน่าย Reference Resources ที่ผลิตโดย มหาวิทยาลัยเอง
       เช่น Columbia University Press ผลิต Grangler’s Index to Poetry เป็นต้น
     * หมายรวมถึง ห้องสมุดสถาบันการศึกษาแห่งนั้นที่ผลิต Reference Resources ด้วย
       เช่น ห้องสมุดNIDA ผลิต ดรรชนีวารสารไทย ฯลฯ
             สานักหอสมุด มธ. ผลิต ดรรชนีราชกิจจานุเบกษา

     * หมายรวมถึง คณะทางานเฉพาะกิจของการรวมตัวบรรณารักษ์ห้องสมุด
       สถาบันอุดมศึกษา     เช่น
       คณะทางานฝ่ายวารสาร -รวมรายชื่อวารสารในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา
       คณะทางานฝ่ายพัฒนาทรัพยากรสารนิเทศ -นามานุกรมแหล่งทรัพยากรสารนิเทศ
                                ฯลฯ
http://cup.columbia.edu/
7. สมาคมวิชาชีพ สมาคมวิชาการ & สมาคมเพื่อการวิจัย
  * ผลิต & เผยแพร่ Reference Resources ที่มีประโยชน์ต่อบุคลากรในกลุ่มวิชาชีพนั้นๆ
  * เช่น Library Association - LISA
           American Chemical Society - Chemical Abstract          เป็นต้น.
ตัวอย่าง Reference Resources ของ ALA
การประเมินคุณค่า Reference Resources โดยทั่วไป


1. เกณฑ์การประเมินค่าหนังสืออ้างอิง (มี 7 ข้อ)
2. เกณฑ์การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงในรูปแบบฐานข้อมูล
     หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์     มี 3 ส่วน
       2.1 เกณฑ์กลางทั่วไป (ฐานข้อมูลออนไลน์ & ซีดีรอม) (มี 9 ข้อ)
       2.2 เกณฑ์ใช้คัดเลือกฐานข้อมูลออนไลน์ (มี 3 ข้อ)
       2.3 เกณฑ์ใช้คัดเลือกซีดีรอม (มี 4 ข้อ)
การประเมินคุณค่า Reference Resources โดยทั่วไป
1. พิจารณาความต้องการผู้ใช้เป็นหลัก       (เป็นใคร สนใจสาขาใด)

2. วัตถุประสงค์การจัดทา
  2.1 เป็น Reference Resources หรือไม่
  2.2 ให้เนื้อหาสาระด้านใด (เรื่องใดเรื่องหนึ่ง, ครอบคลุมทุกเรื่อง)
        เช่น สารานุกรมปรัชญา = รวมเรื่องเฉพาะด้านอย่างครบถ้วน ละเอียด ลึกซึ้ง
              Encyclopedia Americana = รวมทุกเรื่อง ให้รายละเอียดอย่างกว้าง ๆ
  2.3 กลุ่มผู้อาน (เด็ก ผู้ใหญ่ นักวิชาการ ฯลฯ)
               ่
      ถ้าตรงกับกลุ่มผู้ใช้เรา ---------> สารวจการใช้ภาษา &
               การนาเสนอเนื้อหา เหมาะสม.
3. ขอบเขตเนื้อหา
  3.1 เป็น Reference Resources ประเภทใด
                (ให้สารสนเทศโดยตรง, ชี้แนะแหล่งสารสนเทศ )
      รู้แล้ว -----> ตรวจสอบสิ่งที่ควรมีใน Reference Resources ประเภทนั้น ๆ
       1) ให้สารสนเทศโดยตรง ดูว่า เนื้อหาครอบคลุม ครบถ้วน ถูกต้อง ชัดเจน ลึกซึ้ง
       2) ชี้แนะแหล่งสารสนเทศ ดูว่า รวมทรัพยากรสารสนเทศประเภทใด ให้ข้อมูลทาง-
                บรรณานุกรมครบถ้วน    +Abstract +Full text

  3.2 เนื้อหาสาระมีคุณค่า
  3.3 ครอบคลุมสารสนเทศช่วงปีใด
  3.4 สารสนเทศทันสมัย มีการUpdateข้อมูลสม่าเสมอ
  3.5 เสนอเนื้อหาเป็นแบบแผนเดียวกัน
4. ความน่าเชื่อถือ

4.1 ผู้จัดทา (ผู้แต่ง/ผู้รวบรวม/บรรณาธิการ) --> คุณวุฒิ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ

4.2 สานักพิมพ์ ---> ความมีชื่อเสียง    เช่น
                ดรรชนีและสาระสังเขป  H W Wilson

4.3 แหล่งความรู้ที่ใช้อ้างอิง (บรรณานุกรม)   ทันสมัย ปฐมภูมิ
4.4 ความเป็นกลางในการนาเสนอสารสนเทศ (ลัทธิความเชื่อ ศาสนา สีผิว เชื้อชาติ )
5. ความสะดวก รวดเร็วในการค้นหา
   5.1 หนังสืออ้างอิง      ดูที่
           - การจัดเรียงเนื้อหา
           - เครื่องมือช่วยค้นเนื้อหาภายในเล่ม (เช่น ดรรชนี, ส่วนโยง, คานาทาง)
   5.2 ฐานข้อมูล ดูที่ “วิธีการสืบค้น” และ “เทคนิคการค้นคืน”
           - ค้นจาก Keyword หัวเรื่อง ชื่อผู้แต่ง เลขหมู่หนังสือ ISBN ...
           - การใช้ตรรกบูล (Boolean Logic)
           - การใช้ Truncation (การตัดคา)
           - การหยุดสืบค้นกลางคัน
            - การพิมพ์ผลการสืบค้น (ย่อ เต็ม)
                      ฯลฯ
6. ราคา เหมาะสมกับคุณภาพ ราคาแพงแต่ใช้เยอะ OK

7. ลักษณะพิเศษอื่น ๆ (ให้สารสนเทศที่ไม่มีในชื่อเรื่องอื่น, ค้นข้อมูลง่ายกว่า)
กรณีเป็นฐานข้อมูล หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์มีเกณฑ์เพิมเติม ดังนี้
                                                  ่
 1. มีเรื่อง Hardware/ Software เข้ามามีส่วนช่วยตัดสินใจ
        - ความสามารถเข้ากับ/ ใช้ได้กับ IT เดิม
        - ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมด้าน Hardware/ Software
        - มีระบบการจัดการเพื่อการค้นคืนสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพสูงสุด

 2. เทคนิคพิเศษในการค้นหาสารสนเทศ เช่น คลังคา (Index) ค้นระบุ Fields …

 3. การได้รับอนุญาตเกี่ยวกับลิขสิทธิ์
        - หนังสือ คุ้มครองโดยอัตโนมัติตามพรบ.ลิขสิทธิ์
        - ฐานข้อมูล จะมีเรื่อง License เข้ามาเกี่ยวข้อง (สิทธิในการใช้ ทาสาเนา
                 ซอฟต์แวร์ และทาสาเนาข้อมูล)
4. ค่าใช้ฐานข้อมูลออนไลน์เชิงพาณิชย์ จะแตกต่างไปแต่ละฐาน
  (อัตราค่าใช้ฐาน ค่าคาสั่งพิมพ์ ค่าใช้สารสนเทศบนจอภาพ ฯลฯ)

5. บริการจากสานักพิมพ์/ ผู้จัดจาหน่ายฐานข้อมูล จะแตกต่างไปแต่ละฐาน
      - บริการ Hotline
      - การคิดค่าบริการในอัตราพิเศษ (ลดราคา)
      - บริการจัดส่งเอกสาร
      - คู่มือการใช้ฐาน (มี? ปรับปรุง?)
      - บริการจัดฝึกอบรมการใช้ฐาน
      - บริการ Newsletter เพื่อ? ส่งแบบใด?
                                    ฯลฯ
6.   ถ้าเป็นซีดีรอม เลือกที่มีปริมาณสารสนเทศเต็มแผ่น & ใช้ CD-Networking

7.   ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ และเก็บข้อมูลในปริมาณมากกว่าสื่อสิ่งพิมพ์

8.   เป็น Multimedia น่าสนใจกว่าสื่อสิ่งพิมพ์.
คู่มือที่ใช้ประกอบการคัดเลือก Reference Resources:
    (ความหมาย, ประเภท)


    คือ
    สิ่งพิมพ์/ ฐานข้อมูล ที่ช่วยประเมินค่า Reference Resources

    เพื่อ คัดเลือก Reference Resources ชื่อเรื่องที่ดีที่สุดมาไว้ให้บริการ

    ประกอบด้วย รายชื่อ Reference Resources + รายละเอียดทางบรรณานุกรม +
               บรรณนิทัศน์ หรือ บทวิจารณ์ ประกอบแต่ละชื่อ.
บทวิจารณ์ (Review)
* เป็นการตรวจสอบ & วิจารณ์ Reference Resources โดยเฉพาะ
* วิจารณ์ในประเด็น
     - ผู้แต่ง: ใคร ทางาน ผู้เชี่ยวชาญด้าน ----> น่าเชื่อถือ
     - Goal / เป้าหมาย: บรรลุ (ดูจาก Scope)
     - แนวการเขียน (Writing Style): ภาษาง่ายๆ อ่านง่าย ศัพท์เทคนิค
     - ขอบเขตเนื้อหา: องค์ประกอบ หัวข้อสาคัญ ลักษณะพิเศษ ฯลฯ
* ชี้ข้อดี - ข้อเสีย อย่างชัดเจน
* วิจารณ์เปรียบ (ชื่อเรื่องอื่น, ชื่อเดียวกันต่าง Edition)
* เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกซื้อ Reference Resources ชื่อเรื่องที่ดีที่สุด.
เป็นบทวิจารณ์ เพราะวิจารณ์เจาะลงไปที่เนื้อหาของแผนที่ว่ามีการให้สารสนเทศใหม่ ๆ
ในประเด็นใดบ้างโดยเปรียบเทียบกับ edition ที่ 9 และบอกว่ามี bias ในการนาเสนอ
มาตราส่วนแผนที่ยุโรป รวมถึงแนะนาว่าเหมาะกับผู้อ่านกลุ่มใด
เป็นบทวิจารณ์ เพราะ
1.    บอก Goal ชัดเจน
2.    บอก Scope ชัดเจน
3.    Update ข้อมูลประจา
4.    การจัดการไซต์
     1.     ค้นง่าย
     2.     Load ข้อมูลเร็ว
บรรณนิทัศน์ (Annotation)

  * การสรุปสาระที่เป็นประเด็นสาคัญของ Reference Resources ชื่อเรื่องนั้น ๆ
       ข้อมูลที่ให้ = Goal, Scope, Special Features

  * กรณีเป็นบรรณนิทัศน์เชิงวิจารณ์จะมีการแจกแจงข้อดี - ข้อเสีย
      วิจารณ์เปรียบเทียบ (ชื่อเรื่องอื่น, ชื่อเดียวกันต่าง Edition)
  * เพื่อ 1. แจ้งผู้อ่านทราบสาระ
          2. ช่วยในการพิจารณาคัดเลือก
ตัวอย่าง
                       บรรณนิทัศน์



(ที่มา: http://www.lib.ku.ac.th/reference_DB.htm)
ประเภทของคู่มือที่ใช้ประกอบการคัดเลือก Reference Resources :

      1. คู่มือฉบับหลัก (Guide to Reference Sources)

      2. วารสารวิชาชีพที่ให้บทวิจารณ์ หรือบรรณนิทัศน์
              Reference Resources ชื่อเรื่องใหม่ ๆ.
ประเภทของคู่มือที่ใช้ประกอบการคัดเลือก Reference Resources

1. คู่มือฉบับหลัก (Guide to Reference Sources)

    * ให้รายชื่อ Reference Resources ชื่อเรื่องสาคัญ ๆ ที่เป็นฉบับมาตรฐานที่ควรจัดไว้
             ให้บริการในห้องสมุด/ ศูนย์สารสนเทศ

    * ประโยชน์ 1. สร้าง Collection ของ Reference Resources ใหม่ๆ
               2. ปรับปรุง/ พัฒนา Collection ของ Reference Resources ที่มีอยู่เดิม
                    --> ทันสมัย

    * ตัวอย่างเช่น Guide to Reference Materials
                   American Reference Books Annual
2. วารสารวิชาชีพทีให้บทวิจารณ์/ บรรณนิทัศน์ของ Reference Resources
                  ่
      ใหม่ ๆ

  1. จัดทาเพื่อใช้เป็นคู่มือการคัดเลือก Information Resources ใหม่ๆ รวมถึง Reference
       Resources ชื่อเรื่องใหม่ ๆ
       เช่น CHOICE
 (http://www.ala.org/ala/mgrps/divs/acrl/publications/choice/choicereviewsonline/cro.cfm)
              BOOKLIST
 (http://www.ala.org/ala/aboutala/offices/publishing/booklist_publications/booklist/booklist.cfm)

  2. เป็นวารสารวิชาการ และ มีคอลัมน์บทวิจารณ์/ บรรณนิทัศน์ Reference Resources
       ชื่อเรื่องใหม่ ๆ
       เช่น LIBRARY JOURNAL (“Reference” “Database & Disc Review”)
                   (http://www.libraryjournal.com)
การคัดออก (Weeding)                    (ความหมาย, เกณฑ์การคัดออก)

   คือ กระบวนการคัดทรัพยากรสารสนเทศ (รวม Reference Resources) ที่ไม่มีประโยชน์ใน
         การใช้ออกจากที่จัดเก็บ
         เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ (Collection
         Development) เพื่อให้มี Reference Resources ที่ทันสมัย ตรงตามความต้องการ &
         เข้าถึงง่าย

   เกณฑ์การคัดออก:
1. เกณฑ์ทั่วไป * ข้อมูลเก่า * ไม่มีการใช้/ ไม่ได้ใช้ * ไม่มีประโยชน์ มีชื่อเรื่องใหม่แทน.
2. เกณฑ์สาหรับ Ref. Reso. แต่ละประเภท -----> มุ่ง Reference Books
3. เกณฑ์การคัดออกโดยดูสาขาวิชาเป็นหลัก

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5keatsunee.b
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R Suranaree University of Technology
 
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรมเรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรมMarg Kok
 
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงSupaporn Khiewwan
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58Supaporn Khiewwan
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdatenonny_taneo
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมjiratt
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecturesupimon1956
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการWatcharapol Wiboolyasarin
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมPongsri Limkhom
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนSupaporn Khiewwan
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานChainarong Maharak
 
การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58Supaporn Khiewwan
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
เว็บล็อค Weblog
เว็บล็อค Weblogเว็บล็อค Weblog
เว็บล็อค WeblogPropan Daa
 

La actualidad más candente (20)

บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
 
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
 
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรมเรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
เรื่องที่ 7 การเขียนบรรณานุกรม
 
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิงใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
ใบความรู้ เรื่องอ้างอิง
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 
การเขียนบทความทางวิชาการ
การเขียนบทความทางวิชาการการเขียนบทความทางวิชาการ
การเขียนบทความทางวิชาการ
 
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรมเอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืน
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
 
AACR2
AACR2AACR2
AACR2
 
การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 
เว็บล็อค Weblog
เว็บล็อค Weblogเว็บล็อค Weblog
เว็บล็อค Weblog
 

Destacado

การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandBoonlert Aroonpiboon
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 

Destacado (20)

การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
Dspace
DspaceDspace
Dspace
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
Data Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in ThailandData Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in Thailand
 
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 

Similar a Reference resources

สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..Lib Rru
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..Librru Phrisit
 
Lesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปLesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปSamorn Tara
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงAttaporn Saranoppakun
 
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมthanapat yeekhaday
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography databaseJoy sarinubia
 
G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)ILyas Waeyakoh
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศอิ่' เฉิ่ม
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 

Similar a Reference resources (20)

สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
Lesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุปLesson4 refer33 สรุป
Lesson4 refer33 สรุป
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
 
Bibliography language
Bibliography languageBibliography language
Bibliography language
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
Web opac
Web opacWeb opac
Web opac
 
Is2ขั้นตอนการเขียรายงาน
Is2ขั้นตอนการเขียรายงานIs2ขั้นตอนการเขียรายงาน
Is2ขั้นตอนการเขียรายงาน
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
 
Bliography
BliographyBliography
Bliography
 
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
 
Webopac
WebopacWebopac
Webopac
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database[Thai] Bibliography database
[Thai] Bibliography database
 
G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)G.14 (25.หนังสือ)
G.14 (25.หนังสือ)
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 

Más de Srion Janeprapapong

เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมSrion Janeprapapong
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตSrion Janeprapapong
 

Más de Srion Janeprapapong (10)

เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
 

Reference resources

  • 1. จัดทาโดย อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีการศึกษา 2553
  • 2. ความหมาย “ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิง (Reference Resources)” * ทรัพยากรสารสนเทศในรูปแบบใดก็ตาม (สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ ฐานข้อมูล) * จัดทาขึ้นเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงบางเรื่องที่ต้องการ ไม่มุ่งหมายจะอ่าน/ใช้เนื้อหา ทั้งหมดที่มี * ตัวอย่างเช่น อยากทราบความหมายของคาว่า “เจ้าชีวิต” ก็จะค้นหาความหมาย ของคาศัพท์ดังกล่าวที่พจนานุกรมไทย โดยดูที่คาว่า “เจ้าชีวิต” เท่านั้น และ ไม่เปิดดูความหมายของศัพท์อื่น ๆ * จัดเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบ มีระบบการสืบค้นที่มีประสิทธิภาพ เพื่อสามารถ ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างสะดวก และรวดเร็วตามความต้องการ * ไม่อนุญาตให้ยืมออกนอกห้องสมุด
  • 3. การจัดเก็บ Reference Resources: 1. หนังสืออ้างอิง ให้สัญลักษณ์ “อ” “R” “Ref” กากับเหนือเลขเรียกหนังสือ อ 495.913 ร656พ แยกจากหนังสือทั่วไป -----> ส่วนหนึ่ง หรือห้องหนึ่ง จัดเรียงเช่นเดียวกับหนังสือทั่วไป บริการชั้นเปิด 2. สื่อโสตทัศน์ ให้สัญลักษณ์ เช่นเดียวกับหนังสือ จัดเก็บไว้ที่ แผนกโสตทัศนวัสดุ ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ 3. ฐานข้อมูลประเภท ซีดีรอม ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูลบน Internet เข้าถึงสารสนเทศด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
  • 4. ความสาคัญ “Reference Resources”: ใช้ค้นหาคาตอบในเรื่องทีผู้ใช้ต้องการอย่างสะดวก และรวดเร็ว ทั้งที่เป็น ่ * Fact ของ เหตุการณ์ เรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลกทั้งที่เป็นความรู้ทางวิชาการ/ทั่วไป เช่น ภาวะโลกร้อน, จานวนประชากรที่นับถือศาสนาพุทธในปัจจุบัน, ความหมายของฌัลล์ ผู้ชายที่สูงที่สุดในโลก ฯลฯ * รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศตามความต้องการของผู้ใช้ เช่น รายชื่อวิทยานิพนธ์ และรายชื่อบทความที่ศึกษาเกี่ยวกับการให้การศึกษา ผู้ใช้ ฯลฯ
  • 5. ลักษณะสาคัญ “Reference Resources”: เนื่องจากปัจจุบันมีการจัดทา Reference Resources ออกมาหลายรูปแบบทั้งที่เป็นสื่อ สิ่งพิมพ์ (เรียกว่าหนังสืออ้างอิง) และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นในการอธิบาย ลักษณะของ Reference Resources จึงอธิบายเป็น 2 ประเด็น คือ 1. ลักษณะทั่วไป (ทุกสื่อเหมือนกัน) 2. ลักษณะแตกต่างไปตามรูปแบบสื่อ 2.1 สื่อสิ่งพิมพ์ (คือหนังสืออ้างอิง) 2.2 ฐานข้อมูล (หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์)
  • 6. 1. ลักษณะโดยทั่วไป พบในสื่อทุกรูปแบบ 1.1 ใช้ค้นหาข้อเท็จจริงทางวิชาการ/ความรู้ทั่วไปบางเรื่อง ไม่จาเป็น ต้องอ่าน/ ใช้เนื้อหาทั้งหมด เช่น อยากทราบความหมาย “เจ้าชีวิต” ใช้ -------> พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
  • 7. 1. ลักษณะโดยทั่วไป พบในสื่อทุกรูปแบบ (ต่อ) 1.2 รวมความรู้หลายประเภท ใช้ค้นหาความรู้ที่เกิดขึ้นในโลก โดยเฉพาะ เรื่องราวใหม่ ๆ เช่น อยากทราบว่าใครได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพปีล่าสุด ใช้ --> Information Please Almanac หรือ Infoplease.com
  • 8. 1. ลักษณะโดยทั่วไป พบในสื่อทุกรูปแบบ (ต่อ) 1.3 มีขอบเขตเนื้อหากว้างขวาง คลอบคลุมวิชาการต่างๆ ให้รายละเอียด กว้าง ๆ เป็นพื้นความรูในสาขาหนึ่ง ๆ ้ เช่น อยากทราบข้อมูลเกี่ยวกับการจัดทาสาระสังเขป (Abstracts and Abstracting) ซึ่งเป็น พื้นความรู้ของผู้เรียนในสาขาวิชา Information Studies ใช้ ------- > Encyclopedia of Library and Information Science
  • 9. 1. ลักษณะโดยทั่วไป พบในสื่อทุกรูปแบบ (ต่อ) 1.4 เขียนเรื่องราวอย่างกะทัดรัดจบในตัวเอง “บทความ” 1.5 เขียนโดยผู้ทรงคุณวุฒหลายท่าน เช่น Katz, Taylor, Bopp, Cohen … ิ
  • 10. 1. ลักษณะโดยทั่วไป พบในสื่อทุกรูปแบบ (ต่อ) 1.6 เรียบเรียงเนื้อหาเป็นระบบ เช่น ตามลาดับอักษร หัวข้อเรื่อง (Topic) ฯลฯ ค้นง่าย ถ้าเป็น * Reference Books จะมีเครื่องมือช่วยค้น เช่น คานาทาง อักษรหรือเลขที่นาเล่ม รายการโยง ดรรชนี ฯลฯ * databases ดูที่ วิธีการค้นคืน: 1) Search (Basic / Advanced) 2) Browse (หมวดหมู่, ตัวอักษร) เทคนิคการค้นคืน: ตรรกบูล (Boolean Logic) (and or not) ค้นระบุเขตข้อมูล (Field) (Title:abstracts) ฯลฯ
  • 11. 2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ 2.1 ถ้าเป็น หนังสืออ้างอิง (Reference Books) มีลักษณะเพิ่มเติม ดังนี้ 1) เรียบเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบ 1.1) Alphabetical Arrangement คือ เรียงตามลาดับอักษรแบบพจนานุกรม ถ้าเป็นหนังสืออ้างอิงภาษาไทย เรียงตามแบบ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตย- สถาน เช่น กกุธภัณฑ์ กมุท กระสวน กุญชร แกลลอน ไก่แจ้
  • 12. 2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ (ต่อ) ถ้าเป็นหนังสืออ้างอิงภาษาต่างประเทศ เรียงได้ 2 วิธี ก. Word by Word Arrangement เรียงแบบคาต่อคา ดูไปทีละคา 1. Horse 2. Horse Racing 3. Horseback Riding 4. Horses and Their Relatives 5. Horseshoe Crab 6. Horseshoe Pitching ข. Letter by Letter Arrangement เรียงแบบอักษรต่ออักษร ดูไปทีละตัวอักษร 1. Horse 2. Horseback Riding 3. Horse Racing 4. Horses and Their Relatives 5. Horseshoe Crab 6. Horseshoe Pitching
  • 13. 2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ (ต่อ) 1.2) Chronological Arrangement เรียงตามลาดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนหลัง เช่น สารานุกรมประวัติศาสตร์ สมพัตรสร ฯลฯ 1.3) Geographical Arrangement เรียงตามสภาพภูมิศาสตร์ เรียงตามเขตที่ตั้งทาง ภูมิศาสตร์ เช่น หนังสือนาเที่ยว หนังสือแผนที่ เป็นต้น 1.4) Classified Arrangement เรียงตามระบบการจัดหมู่หนังสือ/หมวดหมู่ เรียงตามลาดับของการแบ่งหมวดหมู่หนังสือ (เช่น DC LC) เช่น หนังสือบรรณานุกรม เป็นต้น 1.5) Topical/ Subject Arrangement เรียงตามหัวข้อวิชา เรียงตามลาดับภายใต้ หัวข้อวิชา หรือหัวข้อกว้าง ๆ เช่น ดรรชนีและสาระสังเขป หนังสือบรรณานุกรม เป็นต้น
  • 14. ตัวอย่างการจัดเรียงตามหัวข้อวิชา ( Topical/ Subject Arrangement ) สารานุกรมวิทยาศาสตร์: 1. วิทยาศาสตร์กายภาพ (เช่น สุริยุปราคา นาขึ้นน้าลง) 2. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (เช่น เซ่งจี้ หัวใจ) 3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เช่น ท่อพีวีซี กล้องถ่ายรูป) บทคัดย่อวิทยานิพนธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: คณะ  สาขาวิชา  ชื่อผู้เขียน (เรียงตามลาดับอักษร)
  • 15. 2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ (ต่อ) 2) มีการจัดทาเครื่องมือช่วยค้นเนื้อหาภายในเล่ม ค้นได้เร็วยิ่งขึ้น 2.1) Volume Guide อักษร/เลขที่นาเล่ม เล่ม 1 Vol 1 ก - โขนง A-C - พบใน หนังสืออ้างอิงหลายเล่มจบ - อยู่ที่ปกหนังสือ สันหนังสือ ฯลฯ - รู้ว่าหนังสือเล่มนั้นมีเนื้อหาเริ่มต้น และสิ้นสุดที่ตัวอักษร/เรื่องใด
  • 16. 2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ (ต่อ) 2.2) Inside Guide Word = คานาทาง คือ คาที่ปรากฏอยู่มุมบนซ้ายขวา หรือกลางหน้ากระดาษแต่ละหน้า ทาให้ทราบว่าหน้านั้น ๆ ขึ้นต้นด้วยคาใดถึงคาใด กิเลน 106 กีฬา so/society 818
  • 17. 2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ (ต่อ) 2.3) Thumb Index = ดรรชนีริมหน้ากระดาษ ปรากฏที่ริม หนังสือด้านตรงข้ามกับสันหนังสือ พบในหนังสืออ้างอิงเล่มหนา ๆ
  • 18. 2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ (ต่อ) 2.4) Cross Reference = ส่วนโยง เป็นการแนะนาให้ไปอ่านเรื่องที่ ต้องการจากหัวข้ออื่นๆ ภายในเล่ม (see, see also) เช่น พระภิกษุ ดูที่ สงฆ์ Oil Companies See Petroleum industry การบริหารงานบุคคล ดูเพิ่มเติมที่ การนิเทศลูกจ้าง การประเมินผลงาน
  • 19. 2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ (ต่อ) 2.5) Index = ดรรชนี นาคา/กลุ่มคาสาคัญในหนังสือ มาจัดเรียงตามลาดับ อักษร & มีเลขหน้ากากับ ปกติอยู่ท้ายเล่ม แต่หนังสือชุด ดรรชนีอยู่ในเล่มสุดท้าย บอก ทั้งเล่มที่ (Volume) และ หน้าที่ปรากฎเรื่องนั้น ๆ เช่น ดรรชนีที่อยู่ท้ายเล่ม ดรรชนีแยกเล่ม Reference sources LOAN 17-361; Banks and guide to, 302-8 Finance 3-154, 172-174; evaluation of, 293-314 Credit 8-172, 18-130b Remote users, 13, 146, see also Credit, Economic
  • 20. 2. ลักษณะของ Reference Resources ที่แตกต่างไปตามรูปแบบของสื่อ (ต่อ) 2.2 ถ้าเป็น Reference Resources ที่อยู่ในรูปแบบฐานข้อมูล มีลักษณะเพิ่มเติม ดังนี้ 1) ให้ข้อมูลย้อนหลังหลาย ๆ ปี ในสื่อ 1 แผ่น/ฐาน 2) ปรับปรุงข้อมูลได้รวดเร็วนับได้เป็นชั่วโมง หรือนาที หรือวินาที 3) มีความน่าสนใจมากกว่าการใช้หนังสืออ้างอิง เพราะเป็นสื่อผสม 4) บางชื่อเรื่องรวม Reference Resources หลาย ๆ ประเภทไว้ในชื่อเรื่องเดียวกัน 5) ค้นหาสารสนเทศได้สะดวก รวดเร็ว & ตรง Need เข้าถึงได้หลายจุด (ISBN, เลขหมู่หนังสือ, ชื่อผู้แต่ง, ชื่อเรื่อง, คาสาคัญ, หัวเรื่อง ...) จากัดขอบเขตการค้นได้โดยใช้ ตรรกบูล หรือช่วงปีค.ศ.ของสารสนเทศ ฯลฯ 6) ค้นได้ทุกที่ทุกเวลาทุกโอกาส
  • 21. ประเภท Reference Resources: จาแนกได้ 3 วิธี 1. รูปแบบ (Format) 2. หน้าที่ (Function) 3. ขอบเขต (Scope)
  • 22. ประเภท Reference Resources: (ต่อ) วิธีที่ 1: จาแนกตามรูปแบบ เป็น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ ฐานข้อมูล ในที่นี้อธิบายประเภทของ Reference Resources ที่อยู่ในรูปแบบฐานข้อมูลเท่านั้น
  • 23. ประเภท Reference Resources: (ต่อ) ฐานข้อมูล (Databases) คือ กลุ่มของสารสนเทศ หรือ เป็นสารสนเทศจานวนหนึ่ง ซึ่งมีความสัมพันธ์กัน เพราะ มีเนื้อหาในเรื่องเดียวกัน (เช่น ให้สารสนเทศทางด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์) รวบรวมสารสนเทศจากทรัพยากรสารสนเทศประเภทเดียวกัน (เช่น รวมสารสนเทศจากบทความในวารสาร วิทยานิพนธ์ งานวิจัยทาง LIS) บันทึกในสื่อที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ เช่น ซีดีรอม ฐานข้อมูลออนไลน์ มีโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล ช่วยจัดข้อมูลให้เป็นระบบ & ค้นง่าย (ตัวอย่าง Software เช่น Microsoft Access, Oracle) ตัวอย่างฐานข้อมูล เช่น LISA (Library and Information Science Abstracts)
  • 24. ประเภท Reference Resources: (ต่อ) ประเภทของฐานข้อมูล: 1. ฐานข้อมูลอ้างอิง/ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Reference/Bibliographic Databases) 2. ฐานข้อมูลที่ให้ความรู้ & ข้อเท็จจริง (Nonbibliographic/ Source Databases)
  • 25. ประเภท Reference Resources: (ต่อ) ประเภทของฐานข้อมูล: (ต่อ) 1. ฐานข้อมูลอ้างอิง/ฐานข้อมูลบรรณานุกรม (Reference/Bibliograhic Databases) * ให้ข้อมูลชี้แนะแหล่งสารสนเทศที่ให้คาตอบแก่ผู้ใช้ * ให้รายละเอียดทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่าง ๆ * ส่วนใหญ่จะมีสาระสังเขป หรือบทคัดย่อประกอบ * ตัวอย่างเช่น Readers’ Guide to Periodical Literature, DAO ฯลฯ * หนังสือบรรณานุกรม ดรรชนีและสาระสังเขป. * ปัจจุบันฐานข้อมูลประเภทนี้อาจให้เนื้อหาเต็มรูป (Full-text) ได้ด้วย
  • 26. DIGITAL REFERENCE SERVICES BIBLIOGRAPHY ตัวอย่างฐานข้อมูลอ้างอิง หรือฐานข้อมูลบรรณานุกรม
  • 27. ประเภท Reference Resources: (ต่อ) ประเภทของฐานข้อมูล: (ต่อ) 2. ฐานข้อมูลทีให้ความรู้ & ข้อเท็จจริง (Nonbibliographic/ Source Databases) ่ * ให้ความรู้ หรือข้อเท็จจริง ที่มีเนื้อหาสาระสมบูรณ์ นาไปใช้ประโยชน์ได้ทันที * แบ่งย่อยได้ 4 ประเภท ดังนี้ 2.1 ฐานข้อมูลเนื้อหาเต็มรูป (Full-text Databases) 2.2 ฐานข้อมูลตัวเลข (Numeric Databases) 2.3 ฐานข้อมูลเนื้อหาผสมตัวเลข (Texual Numeric Databases) 2.4 ฐานข้อมูลคุณสมบัติ (Properties Databases)
  • 28. ประเภท Reference Resources: (ต่อ) ประเภทของฐานข้อมูล: (ต่อ) 2.1 ฐานข้อมูลเนื้อหาเต็มรูป (Full-text Databases) * บันทึกสารสนเทศจากสิ่งพิมพ์ต้นฉบับอย่างสมบูรณ์ * เป็นแหล่งสารสนเทศที่มีคุณค่าสมบูรณ์ & ผู้ใช้ชอบ * เช่น UPI NEWS (ข่าว) NEXIS (กฎหมาย) NEWSCenters (ข่าว) ฯลฯ * พจนานุกรม สารานุกรม อักขรานุกรมชีวประวัติ ฯลฯ
  • 29. 2.2 ฐานข้อมูลตัวเลข (Numeric Databases) * ให้ข้อมูลเป็นตัวเลขสถิติต่าง ๆ * ส่วนใหญ่มาจาก Primary Sources เช่น Donnelly Demographic (ประชากร). 2.3 ฐานข้อมูลเนื้อหาผสมตัวเลข (Texual Numeric Databases) * ให้ข้อมูลที่เป็นตัวเลข & ข้อเท็จจริงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง * เช่น Standard and Poor’s News (ธุรกิจ เศรษฐกิจ การเงิน) ฯลฯ * รวมถึงฐานข้อมูลที่ให้ข้อมูลประเภท ทาเนียบนาม. 2.4 ฐานข้อมูลคุณสมบัติ (Properties Databases) * เป็นคุณสมบัติ & ส่วนประกอบของสสาร วัตถุ แร่ธาตุ * ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลด้านเคมี ฟิสิกส์ วิศวกรรม เช่น CHEMDEX
  • 31. ประเภท Reference Resources: (ต่อ) วิธีที่ 2: จาแนกตาม หน้าที่ 1. ให้ข้อเท็จจริงโดยตรง (Source Type) * ให้รายละเอียดของสารสนเทศที่ใช้ตอบคาถามได้ทันที เช่น ความหมายของเจ้าชีวิต ฯลฯ * ได้แก่ พจนานุกรม สารานุกรม แหล่งสารสนเทศรายปี ทาเนียบนาม อักขรานุกรมชีวประวัติ แหล่งสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ หนังสือคู่มือ. 2. แนะแหล่งสารสนเทศที่ให้คาตอบ (Direction Type) * ชี้แนะ/บอก ให้ทราบว่าสารสนเทศที่ต้องการอยู่ในทรัพยากรสารสนเทศชื่อเรื่องใด เช่น วิจัยหลักสูตร LIS, ใครทาวิทยานิพนธ์เรื่อง “Search Tools กับการให้บริการตอบคาถามฯ” * ควบคุมแหล่งสารสนเทศที่มีผู้ผลิตขึ้น * ได้แก่ หนังสือบรรณานุกรม ดรรชนีและสาระสังเขป.
  • 32. ประเภท Reference Resources: (ต่อ) วิธีที่ 3: จาแนกตาม ขอบเขตเนื้อหาสาระ 1. แหล่งสารสนเทศประเภทอ้างอิงทั่วไป (General Reference Sources) * ให้สารสนเทศทั่วไปกว้างๆ ไม่จากัดสาขาวิชา * เช่น สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฯลฯ * ผู้ใช้ทั่วไป และ นักวิชาการ 2. แหล่งสารสนเทศประเภทอ้างอิงเฉพาะวิชา (Subject Reference Sources) * ให้สารสนเทศเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ข้อมูลละเอียดลึกซึ้งกว่าใน 1 * เช่น สารานุกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ * นักวิชาการสาขาวิชานั้นๆ
  • 33. การคัดเลือก & การประเมินคุณค่า Reference Resources 1. ปรัชญาการพัฒนา 2. แหล่งผลิต & เผยแพร่ 3. หลักเกณฑ์การประเมินคุณค่าโดยทั่วไป 4. คู่มือทีใช้ประกอบการคัดเลือก ่ 5. เทคนิคการคัดเลือก 6. การคัดออก (Weeding)
  • 34. การคัดเลือก & การประเมินคุณค่า Reference Resources: (ต่อ) หน้าที่ของบรรณารักษ์บริการตอบคาถาม (Reference Librarians) 1. ตอบคาถามแก่ผู้ใช้ 2. คัดเลือก Reference Resources ให้ตรงกับความต้องการผู้ใช้ 3. ดูแลจัดการเรื่องการจัดเก็บ Reference Resources ให้เรียบร้อย 4. บริการรวบรวมบรรณานุกรม ฯลฯ
  • 35. ปรัชญาการพัฒนา Reference Resources มี 2 หลักการ (รูปแบบ, การใช้) 1. เน้นรูปแบบ (Format) * ถ้าทรัพยากรสารสนเทศชื่อเรื่องนั้นมีวัตถุประสงค์การจัดทาเพื่อเป็น Reference Resources -----> จัดเก็บไว้ในกลุ่ม Reference Resources ทันที * Collection จะมีขนาดใหญ่มาก & ครอบคลุมครบถ้วน * เช่น สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 2. เน้นการใช้ (Usage) * Reference Resources ชื่อเรื่องที่มีการใช้มากจะจัดเก็บไว้ในกลุ่ม Reference Resources * Collection เล็ก หาง่าย
  • 36. แหล่งผลิต & เผยแพร่ Reference Resources 1. สานักพิมพ์เพือการค้า หรือบริษัทผู้ขาย/จัดจาหน่ายฐานข้อมูล ่ 2. องค์กรของรัฐ 3. สานักพิมพ์ตัวแทนจาหน่าย หรือ บริษัทตัวกลาง 4. บริษัทข่ายงานทางบรรณานุกรม (Bibliographic Utilities) 5. องค์กรระหว่างประเทศ 6. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย 7. สมาคมวิชาชีพ สมาคมวิชาการ & สมาคมเพื่อการวิจย. ั
  • 37. แหล่งผลิต & เผยแพร่ Reference Resources: (ต่อ) 1. สานักพิมพ์เพือการค้า หรือบริษัทผู้ขาย/จัดจาหน่ายฐานข้อมูล ่ * เป็นทั้งผู้ผลิต & จัดจาหน่าย Reference Resources ประเภทต่าง ๆ * ขายเอง / จาหน่ายการเข้าถึงเอง หรือ จาหน่ายผ่านร้านขายหนังสือ / สานักพิมพ์ตัวแทนจาหน่าย (Vendors) * สานักพิมพ์เพื่อการค้า กับ ความมีชื่อเสียงในการจัดทา Reference Resources ดรรชนีและสาระสังเขป: H. W. Wilson … สารานุกรม: Grolier … พจนานุกรม: Merriam-Webster, Macmillan … ฯลฯ
  • 38. ตัวอย่าง Reference Resources ที่จัดทาโดย สานักพิมพ์ H.W. Wilson ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะ เป็น ดรรชนีและสาระสังเขป
  • 39. แหล่งผลิต & เผยแพร่ Reference Resources: (ต่อ) 2. องค์กรของรัฐ * ผู้ผลิต & จาหน่ายเอง เช่น ห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน ผลิต & จาหน่าย Encyclopedia of the Library of Congress ฯลฯ * หรือ ให้บริษัทตัวกลาง (Vendors) จาหน่ายให้ เช่น ห้องสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน ผลิต & จาหน่ายฐานข้อมูล MEDLINE และ ให้ ProQuest จาหน่ายฐานข้อมูลดังกล่าวด้วย (เป็นส่วนหนึ่งของบริการ ฐานข้อมูล DIALOG) ราชบัณฑิตยสถาน: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน หอสมุดแห่งชาติ: บรรณานุกรมแห่งชาติ
  • 40. ตัวอย่าง Encyclopedia of the Library of Congress ที่จัดทาโดยห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน
  • 41. http://www.royin.go.th/th/home/index.php ตัวอย่าง Reference Resources จัดทาโดยราชบัณฑิตยสถาน
  • 42. 3. สานักพิมพ์ตัวแทนจาหน่าย หรือ บริษัทตัวกลาง * รับมาขายอย่างเดียว (ขายหนังสือ, จาหน่ายการเข้าถึงฐานข้อมูลออนไลน์) * เช่น ดวงกมลสมัย วรสาส์น ศึกษิตสยาม บริษัท ProQuest ฯลฯ
  • 43. บริษัท ดวงกมลสมัย จากัดเป็นตัวแทนจัดจาหน่ายหนังสือ ของสานักพิมพ์ชั้นนาต่างๆ อีกมากมาย อาทิ เช่น สมาคม ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) และอีกหลายสานักพิมพ์ ชั้นนาในประเทศ และเป็นผู้นาด้านสื่อการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษ ของสานักพิมพ์ Oxford University Press (ELT) รวมถึง Cambridge University Press (ELT) แต่ เพียงผู้เดียวในประเทศไทย
  • 44. 4. บริษัทข่ายงานทางบรรณานุกรม (Bibliograhic Utilities) * จาหน่ายการใช้ฐานข้อมูลบัตรรายการของข่ายงานแก่ห้องสมุดสมาชิก เช่น OCLC เป็นต้น
  • 45. 5. องค์กรระหว่างประเทศ * ผลิต & เผยแพร่ Reference Resources ประเภทต่าง ๆ * เช่น UNESCO - Statistical Yearbook (หนังสือรายปี) FAO - AGRIS (ฐานข้อมูลการเกษตร)
  • 47. 6. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย * ผลิต & จาหน่าย Reference Resources ที่ผลิตโดย มหาวิทยาลัยเอง เช่น Columbia University Press ผลิต Grangler’s Index to Poetry เป็นต้น * หมายรวมถึง ห้องสมุดสถาบันการศึกษาแห่งนั้นที่ผลิต Reference Resources ด้วย เช่น ห้องสมุดNIDA ผลิต ดรรชนีวารสารไทย ฯลฯ สานักหอสมุด มธ. ผลิต ดรรชนีราชกิจจานุเบกษา * หมายรวมถึง คณะทางานเฉพาะกิจของการรวมตัวบรรณารักษ์ห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษา เช่น คณะทางานฝ่ายวารสาร -รวมรายชื่อวารสารในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา คณะทางานฝ่ายพัฒนาทรัพยากรสารนิเทศ -นามานุกรมแหล่งทรัพยากรสารนิเทศ ฯลฯ
  • 49. 7. สมาคมวิชาชีพ สมาคมวิชาการ & สมาคมเพื่อการวิจัย * ผลิต & เผยแพร่ Reference Resources ที่มีประโยชน์ต่อบุคลากรในกลุ่มวิชาชีพนั้นๆ * เช่น Library Association - LISA American Chemical Society - Chemical Abstract เป็นต้น.
  • 51. การประเมินคุณค่า Reference Resources โดยทั่วไป 1. เกณฑ์การประเมินค่าหนังสืออ้างอิง (มี 7 ข้อ) 2. เกณฑ์การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงในรูปแบบฐานข้อมูล หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มี 3 ส่วน 2.1 เกณฑ์กลางทั่วไป (ฐานข้อมูลออนไลน์ & ซีดีรอม) (มี 9 ข้อ) 2.2 เกณฑ์ใช้คัดเลือกฐานข้อมูลออนไลน์ (มี 3 ข้อ) 2.3 เกณฑ์ใช้คัดเลือกซีดีรอม (มี 4 ข้อ)
  • 52. การประเมินคุณค่า Reference Resources โดยทั่วไป 1. พิจารณาความต้องการผู้ใช้เป็นหลัก (เป็นใคร สนใจสาขาใด) 2. วัตถุประสงค์การจัดทา 2.1 เป็น Reference Resources หรือไม่ 2.2 ให้เนื้อหาสาระด้านใด (เรื่องใดเรื่องหนึ่ง, ครอบคลุมทุกเรื่อง) เช่น สารานุกรมปรัชญา = รวมเรื่องเฉพาะด้านอย่างครบถ้วน ละเอียด ลึกซึ้ง Encyclopedia Americana = รวมทุกเรื่อง ให้รายละเอียดอย่างกว้าง ๆ 2.3 กลุ่มผู้อาน (เด็ก ผู้ใหญ่ นักวิชาการ ฯลฯ) ่ ถ้าตรงกับกลุ่มผู้ใช้เรา ---------> สารวจการใช้ภาษา & การนาเสนอเนื้อหา เหมาะสม.
  • 53. 3. ขอบเขตเนื้อหา 3.1 เป็น Reference Resources ประเภทใด (ให้สารสนเทศโดยตรง, ชี้แนะแหล่งสารสนเทศ ) รู้แล้ว -----> ตรวจสอบสิ่งที่ควรมีใน Reference Resources ประเภทนั้น ๆ 1) ให้สารสนเทศโดยตรง ดูว่า เนื้อหาครอบคลุม ครบถ้วน ถูกต้อง ชัดเจน ลึกซึ้ง 2) ชี้แนะแหล่งสารสนเทศ ดูว่า รวมทรัพยากรสารสนเทศประเภทใด ให้ข้อมูลทาง- บรรณานุกรมครบถ้วน +Abstract +Full text 3.2 เนื้อหาสาระมีคุณค่า 3.3 ครอบคลุมสารสนเทศช่วงปีใด 3.4 สารสนเทศทันสมัย มีการUpdateข้อมูลสม่าเสมอ 3.5 เสนอเนื้อหาเป็นแบบแผนเดียวกัน
  • 54. 4. ความน่าเชื่อถือ 4.1 ผู้จัดทา (ผู้แต่ง/ผู้รวบรวม/บรรณาธิการ) --> คุณวุฒิ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ 4.2 สานักพิมพ์ ---> ความมีชื่อเสียง เช่น ดรรชนีและสาระสังเขป  H W Wilson 4.3 แหล่งความรู้ที่ใช้อ้างอิง (บรรณานุกรม) ทันสมัย ปฐมภูมิ 4.4 ความเป็นกลางในการนาเสนอสารสนเทศ (ลัทธิความเชื่อ ศาสนา สีผิว เชื้อชาติ )
  • 55. 5. ความสะดวก รวดเร็วในการค้นหา 5.1 หนังสืออ้างอิง ดูที่ - การจัดเรียงเนื้อหา - เครื่องมือช่วยค้นเนื้อหาภายในเล่ม (เช่น ดรรชนี, ส่วนโยง, คานาทาง) 5.2 ฐานข้อมูล ดูที่ “วิธีการสืบค้น” และ “เทคนิคการค้นคืน” - ค้นจาก Keyword หัวเรื่อง ชื่อผู้แต่ง เลขหมู่หนังสือ ISBN ... - การใช้ตรรกบูล (Boolean Logic) - การใช้ Truncation (การตัดคา) - การหยุดสืบค้นกลางคัน - การพิมพ์ผลการสืบค้น (ย่อ เต็ม) ฯลฯ
  • 56. 6. ราคา เหมาะสมกับคุณภาพ ราคาแพงแต่ใช้เยอะ OK 7. ลักษณะพิเศษอื่น ๆ (ให้สารสนเทศที่ไม่มีในชื่อเรื่องอื่น, ค้นข้อมูลง่ายกว่า)
  • 57. กรณีเป็นฐานข้อมูล หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์มีเกณฑ์เพิมเติม ดังนี้ ่ 1. มีเรื่อง Hardware/ Software เข้ามามีส่วนช่วยตัดสินใจ - ความสามารถเข้ากับ/ ใช้ได้กับ IT เดิม - ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมด้าน Hardware/ Software - มีระบบการจัดการเพื่อการค้นคืนสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพสูงสุด 2. เทคนิคพิเศษในการค้นหาสารสนเทศ เช่น คลังคา (Index) ค้นระบุ Fields … 3. การได้รับอนุญาตเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ - หนังสือ คุ้มครองโดยอัตโนมัติตามพรบ.ลิขสิทธิ์ - ฐานข้อมูล จะมีเรื่อง License เข้ามาเกี่ยวข้อง (สิทธิในการใช้ ทาสาเนา ซอฟต์แวร์ และทาสาเนาข้อมูล)
  • 58. 4. ค่าใช้ฐานข้อมูลออนไลน์เชิงพาณิชย์ จะแตกต่างไปแต่ละฐาน (อัตราค่าใช้ฐาน ค่าคาสั่งพิมพ์ ค่าใช้สารสนเทศบนจอภาพ ฯลฯ) 5. บริการจากสานักพิมพ์/ ผู้จัดจาหน่ายฐานข้อมูล จะแตกต่างไปแต่ละฐาน - บริการ Hotline - การคิดค่าบริการในอัตราพิเศษ (ลดราคา) - บริการจัดส่งเอกสาร - คู่มือการใช้ฐาน (มี? ปรับปรุง?) - บริการจัดฝึกอบรมการใช้ฐาน - บริการ Newsletter เพื่อ? ส่งแบบใด? ฯลฯ
  • 59. 6. ถ้าเป็นซีดีรอม เลือกที่มีปริมาณสารสนเทศเต็มแผ่น & ใช้ CD-Networking 7. ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ และเก็บข้อมูลในปริมาณมากกว่าสื่อสิ่งพิมพ์ 8. เป็น Multimedia น่าสนใจกว่าสื่อสิ่งพิมพ์.
  • 60. คู่มือที่ใช้ประกอบการคัดเลือก Reference Resources: (ความหมาย, ประเภท) คือ สิ่งพิมพ์/ ฐานข้อมูล ที่ช่วยประเมินค่า Reference Resources เพื่อ คัดเลือก Reference Resources ชื่อเรื่องที่ดีที่สุดมาไว้ให้บริการ ประกอบด้วย รายชื่อ Reference Resources + รายละเอียดทางบรรณานุกรม + บรรณนิทัศน์ หรือ บทวิจารณ์ ประกอบแต่ละชื่อ.
  • 61. บทวิจารณ์ (Review) * เป็นการตรวจสอบ & วิจารณ์ Reference Resources โดยเฉพาะ * วิจารณ์ในประเด็น - ผู้แต่ง: ใคร ทางาน ผู้เชี่ยวชาญด้าน ----> น่าเชื่อถือ - Goal / เป้าหมาย: บรรลุ (ดูจาก Scope) - แนวการเขียน (Writing Style): ภาษาง่ายๆ อ่านง่าย ศัพท์เทคนิค - ขอบเขตเนื้อหา: องค์ประกอบ หัวข้อสาคัญ ลักษณะพิเศษ ฯลฯ * ชี้ข้อดี - ข้อเสีย อย่างชัดเจน * วิจารณ์เปรียบ (ชื่อเรื่องอื่น, ชื่อเดียวกันต่าง Edition) * เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกซื้อ Reference Resources ชื่อเรื่องที่ดีที่สุด.
  • 62. เป็นบทวิจารณ์ เพราะวิจารณ์เจาะลงไปที่เนื้อหาของแผนที่ว่ามีการให้สารสนเทศใหม่ ๆ ในประเด็นใดบ้างโดยเปรียบเทียบกับ edition ที่ 9 และบอกว่ามี bias ในการนาเสนอ มาตราส่วนแผนที่ยุโรป รวมถึงแนะนาว่าเหมาะกับผู้อ่านกลุ่มใด
  • 63. เป็นบทวิจารณ์ เพราะ 1. บอก Goal ชัดเจน 2. บอก Scope ชัดเจน 3. Update ข้อมูลประจา 4. การจัดการไซต์ 1. ค้นง่าย 2. Load ข้อมูลเร็ว
  • 64. บรรณนิทัศน์ (Annotation) * การสรุปสาระที่เป็นประเด็นสาคัญของ Reference Resources ชื่อเรื่องนั้น ๆ ข้อมูลที่ให้ = Goal, Scope, Special Features * กรณีเป็นบรรณนิทัศน์เชิงวิจารณ์จะมีการแจกแจงข้อดี - ข้อเสีย วิจารณ์เปรียบเทียบ (ชื่อเรื่องอื่น, ชื่อเดียวกันต่าง Edition) * เพื่อ 1. แจ้งผู้อ่านทราบสาระ 2. ช่วยในการพิจารณาคัดเลือก
  • 65. ตัวอย่าง บรรณนิทัศน์ (ที่มา: http://www.lib.ku.ac.th/reference_DB.htm)
  • 66. ประเภทของคู่มือที่ใช้ประกอบการคัดเลือก Reference Resources : 1. คู่มือฉบับหลัก (Guide to Reference Sources) 2. วารสารวิชาชีพที่ให้บทวิจารณ์ หรือบรรณนิทัศน์ Reference Resources ชื่อเรื่องใหม่ ๆ.
  • 67. ประเภทของคู่มือที่ใช้ประกอบการคัดเลือก Reference Resources 1. คู่มือฉบับหลัก (Guide to Reference Sources) * ให้รายชื่อ Reference Resources ชื่อเรื่องสาคัญ ๆ ที่เป็นฉบับมาตรฐานที่ควรจัดไว้ ให้บริการในห้องสมุด/ ศูนย์สารสนเทศ * ประโยชน์ 1. สร้าง Collection ของ Reference Resources ใหม่ๆ 2. ปรับปรุง/ พัฒนา Collection ของ Reference Resources ที่มีอยู่เดิม --> ทันสมัย * ตัวอย่างเช่น Guide to Reference Materials American Reference Books Annual
  • 68. 2. วารสารวิชาชีพทีให้บทวิจารณ์/ บรรณนิทัศน์ของ Reference Resources ่ ใหม่ ๆ 1. จัดทาเพื่อใช้เป็นคู่มือการคัดเลือก Information Resources ใหม่ๆ รวมถึง Reference Resources ชื่อเรื่องใหม่ ๆ เช่น CHOICE (http://www.ala.org/ala/mgrps/divs/acrl/publications/choice/choicereviewsonline/cro.cfm) BOOKLIST (http://www.ala.org/ala/aboutala/offices/publishing/booklist_publications/booklist/booklist.cfm) 2. เป็นวารสารวิชาการ และ มีคอลัมน์บทวิจารณ์/ บรรณนิทัศน์ Reference Resources ชื่อเรื่องใหม่ ๆ เช่น LIBRARY JOURNAL (“Reference” “Database & Disc Review”) (http://www.libraryjournal.com)
  • 69.
  • 70. การคัดออก (Weeding) (ความหมาย, เกณฑ์การคัดออก) คือ กระบวนการคัดทรัพยากรสารสนเทศ (รวม Reference Resources) ที่ไม่มีประโยชน์ใน การใช้ออกจากที่จัดเก็บ เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ (Collection Development) เพื่อให้มี Reference Resources ที่ทันสมัย ตรงตามความต้องการ & เข้าถึงง่าย เกณฑ์การคัดออก: 1. เกณฑ์ทั่วไป * ข้อมูลเก่า * ไม่มีการใช้/ ไม่ได้ใช้ * ไม่มีประโยชน์ มีชื่อเรื่องใหม่แทน. 2. เกณฑ์สาหรับ Ref. Reso. แต่ละประเภท -----> มุ่ง Reference Books 3. เกณฑ์การคัดออกโดยดูสาขาวิชาเป็นหลัก