SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 30
Descargar para leer sin conexión
การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกและผลกระทบ
    ภายนอกจากการผลิตไฟฟ้ าชีวมวล
       กรณีศึกษา โรงไฟฟ้ าน้ าตาลขอนแก่น
                 Keerati Thawisap, 2553.
Keerati Thawisap, 2553.   2
ประเทศไทยมีรากฐาน
                         เกษตรกรรม
                      เป็ นแหล่งชีวมวล


เป็ นนโยบายพลังงาน                               ลดการนาเข้าไฟฟา1.28
                                                               ้
 ทดแทนหลักของรัฐ                                      พันล้านบาท




         ลดปั ญหาโลกร้อน                 Carbon Credit

                       Keerati Thawisap, 2553.                         3
เป้ าหมายการผลิตกระแสไฟฟ้ า
                                   พลังงานหมุนเวียนของไทย ปี 2554
                                            พลังงานจากลม                       พลังงานจากขยะ
                                                 3%                                  5%



                                               พลังงานจากน้ า
                            พลังงานจาก              17%
                            แสงอาทิตย์
                                2%
                                                                          พลังงานจากชีวมวล
               พลังงานจากก๊าซ
                                                                                73%
                   ชีวภาพ
                                                                    1,548 MW
                     0%
         10MW

ที่มา: ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ (2552)
                                                     Keerati Thawisap, 2553.                   4
Biomass




ที่มา: Bioenergy Solutions
                              Keerati Thawisap, 2553.   5
แผนการผลิตไฟฟา    ้
                                        ต้ นทุนสิ่ งแวดล้ อมในปี 2558

            แผนทางเลือก

                                                                                                  ต้ นทุนสิ่งแวดล้อม
             แผนถ่ านหิน                                                                          ต้ นทุนค่าเชื้อเพลิง
                                                                                                  ต้ นทุนค่าปฏิบัตการ
                                                                                                                  ิ
                                                                                                  ต้ นทุนค่าลงทุน
                  แผนก๊าซ

                                                                                       ล้ านบาท
                                    0    200000   400000       600000         800000


ที่มา: เดชรัตน์ สุ ขกาเนิด (2551)
                                                    Keerati Thawisap, 2553.                                              6
ปล่อยมลพิษจากการขนส่ง




ยากแก่การดูแลรักษา                                       ปริมาณไม่แน่นอน




    มีการบริโภคไฟฟามากขึ้ น
                  ้
                                        กระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมใน
                                                    ชุมชน
                              Keerati Thawisap, 2553.                      7
เพื่อคานวณหาปริ มาณการปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจกและ
ปริ มาณก๊าซเรื อนกระจกที่ลดลงได้จากการผลิตไฟฟ้ าชีวมวล
ของโรงไฟฟ้ าน้ าตาลขอนแก่น


      เพื่อศึกษาปริ มาณการปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจกของการผลิต
      ไฟฟ้ าชีวมวล เปรี ยบเทียบกับการผลิตไฟฟ้ าด้วยก๊าซธรรมชาติ
      และถ่านหินของการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย


             เพื่อเปรี ยบเทียบมูลค่าผลกระทบภายนอกด้านบวกและด้านลบ
             จากการผลิตไฟฟ้ าชีวมวล
                                    Keerati Thawisap, 2553.         8
ขอบเขตการวิจย
                                   ั
• กรณีศึกษา โรงไฟฟ้ าน้ าตาล ขอนแก่น กาลังการผลิต 30 เมกะวัตต์
• เปรียบเทียบการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากการผลิตไฟฟ้ าถ่านหินและ
  ก๊าซธรรมชาติ ของกฟผ.
• ผลกระทบภายนอกด้านลบ ประเมินจากค่ารักษาพยาบาลเมื่อสมมติให้
  ประชาชนในตาบล มีการเจ็บป่ วยจากโรคทางเดินหายใจปี ละ 1 ครั้ง/คน
• ผลกระทบภายนอกด้านบวก ประเมินจากมูลค่า Carbon Credit



                           Keerati Thawisap, 2553.            9
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
•   ผลกระทบภายนอกด้านบวก (Positive Externality)
•   ผลกระทบภายนอกด้านลบ (Negative Externality)
•   ต้นทุนทางสังคม (Social Cost)
•   ต้นทุนทางสิ่งแวดล้อม (Environment Cost)


                                       vs.
                         Keerati Thawisap, 2553.   10
งานวิจยที่เกี่ยวข้อง
             ั
การประเมินวัฏจักรชีวตและต้นทุนของการผลิต
                     ิ
กระแสไฟฟ้ าจากแก๊สซิฟิเคชันของไม้โตเร็ว ชนาภา
                          ่
วรรณศรี (2551) ซึ่งใช้ไม้กระถินยักษ์เป็ นเชื้ อเพลิง
ประเมินวัฏจักรชีวต ประเมินการปลดปล่อยมลพิษ และ
                  ิ
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ใช้โปรแกรมสาเร็จรูป Sima
Pro ด้วยวิธี EDIP/UMIP ผลจากการศึกษาพบว่าต้นทุน
การผลิตจะต ่ากว่าต้นทุนการผลิตที่รวมต้นทุน
สิ่งแวดล้อมเข้าไปด้วย


              Keerati Thawisap, 2553.                  11
การศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของการผลิต
กระแสไฟฟ้ าจากก๊าซชีวภาพ ปรีชา ศิรชาญ
                                    ิ
(2544) โดยวิธี Numerical Environmental Total
Standard [NETS] ร่วมกับการวิเคราะห์ Externality
Cost โดยศึกษาฟาร์มสุกรซึ่งขนาดต่างๆ มีขนาด
ระบบผลิตก๊าซชีวภาพไม่เกิน 1,500 ลูกบาตรเมตร
และมีกาลังผลิตไฟฟ้ าไม่เกิน 138 กิโลวัตต์



         Keerati Thawisap, 2553.              12
ตารางแสดง ผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมและต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของ
   พลังงานไฟฟ้ าที่เกิดจากก๊าซชีวภาพ กับพลังงานไฟฟ้ าที่ผลิตจากเชื้ อเพลิงฟอสซิล


                                ค่ าผลกระทบทางสั งคมและสิ่ งแวดล้ อม      ต้ นทุนทาง
  แหล่ งผลิตพลังงานไฟฟ้ า                                               เศรษฐศาสตร์
                                                            Simapro      (บาท/kWh)
                                    [NETS]/kWh
                                                           (Pt./kWh)

1. ก๊ าซชีวภาพจากฟาร์ มสุกร 0.00077-0.00086               0.060-0.064   2.974-3.160


2.เชื ้อเพลิงฟอสซิล                   .00150                 .00104        6.212

ที่มา: อภิชาติ เชี่ยววานิช (2546)

                                       Keerati Thawisap, 2553.                         13
ทนงเกียรติ เกียรติศิรโรจน์ (2552) ศึกษาวิเคราะห์
                              ิ
แนวทางการจัดการขยะในการผลิตไฟฟ้ าระดับอาเภอ ใน
พื้ นที่จงหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลาปาง ทาการวิเคราะห์ 3
         ั
ประเด็น คือ วิเคราะห์เทคโนโลยี วิเคราะห์ผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม และวิเคราะห์ดานสังคม
                            ้




               Keerati Thawisap, 2553.              14
การวิเคราะห์ขอมูล
                                      ้

1. Consolidated methodology for electricity
   generation from Biomass residuesศึกษาโดยใช้มล
                                               ู
   ต่อไปนี้
  •   ปริมาณชีวมวลที่ใช้ (ตัน/ปี )
  •   ระยะทางเฉลี่ยในการขนส่งชีวมวลจากแหล่งวัตถุดิบถึงโครงการ (กม./เที่ยว)
  •   น้ าหนักเฉลี่ยในการบรรทุกชีวมวล (ตัน/เที่ยว)
  •   ค่าสัมประสิทธิ์การปล่อย CO2 จากรถบรรทุก (tCO2/km)
  •   ปริมาณไฟฟ้ าที่ผลิตได้ (MWh/y)
  •   ค่าสัมประสิทธิ์การปล่อย CO2 สาหรับไฟฟ้ าจาก grid (tCO2/MWh)
2. วิเคราะห์โดยการเปรียบเทียบสัดส่วน
                                 Keerati Thawisap, 2553.                     15
ผลการศึกษา 1
ปริมาณการปลดปล่อยมลพิษและมลพิษที่สามารถลดได้
           จากการผลิตไฟฟาชีวมวล
                        ้




                Keerati Thawisap, 2553.        16
ปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตไฟฟา
                                            ้

   ผลิตไฟฟ้ า 30 MW หรื อ 216,000 หน่วยเมกะวัตต์
   ระยะทางรวมในการขนส่ งชีวมวล 2,270,984 กิโลเมตร
   ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 2,516.25 ตัน
   ไฟฟ้ าชีวมวล 1 หน่วยเมกะวัตต์ ปล่อย CO2 ประมาณ 0.02 ตัน




                  Keerati Thawisap, 2553.               17
การลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก


                               ค่ าสั มประสิ ทธิ์การปล่ อย
ไฟฟ้ าทีผลิตได้ ในโครงการ
        ่                                                  ปริมาณการลดก๊ าซเรือนกระจก
                          คาร์ บอนไดออกไซด์ สาหรับไฟฟ้ า
       และส่ งGrid                                             จากการทดแทนไฟฟ้ า
                                   ทีกาหนดจาก Grid
                                      ่

                                   tCO2e/MWh
        MWH                                                         tCO2

                                      0.5355
      -59,566.00                                                  -31,897.59



                                 Keerati Thawisap, 2553.                           18
ปลดปล่อยก๊าซ
        เรือนกระจก
            8%




                                           ลดการเกิดก๊าซ
                                            เรือนกระจก
                                                92%



แผนภูมิเปรี ยบเทียบการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกและปริ มาณก๊าซเรื อนกระจกที่ลดได้จากการผลิต
ไฟฟ้ าชีวมวล
                               Keerati Thawisap, 2553.                            19
ผลการศึกษา 2
การปลดปล่อยมลพิษทางอากาศของโรงไฟฟาถ่ านหินและก๊าซธรรมชาติ
                                    ้
        เปรียบเทียบกับการปล่ อยมลพิษของไฟฟาชีวมวล
                                          ้




                     Keerati Thawisap, 2553.                20
ตารางแสดงปริมาณการปลดปล่ อยมลพิษทางอากาศของโรงไฟฟาถ่ านหินและก๊ าซธรรมชาติ
                                                 ้



                       ปริมาณเชื้อเพลิง          กาลังการผลิต        เกิดคาร์ บอนไดออกไซด์
     เชื้อเพลิง
                            Fi,j,v                  (Gwh)                      (ตัน)



   ก๊าซธรรมชาติ              94,725                                        5,420,354
                                                 14,599 GWh
      ถ่ านหิน                 899                                         2,242,231
  ที่มา: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, 2550.

                                           Keerati Thawisap, 2553.                           21
เปรียบเทียบปริมาณการปลดปล่อยมลพิษจากการผลิตไฟฟาขนาด
                                                            ้
ตัน                     30 เมกะวัตต์ ของโรงไฟฟาประเภทต่ างๆ
                                              ้
90,000.00

80,000.00                                                       80,197

70,000.00

60,000.00

50,000.00

40,000.00
                                          33,175
30,000.00

20,000.00

10,000.00
                    2,516
      0.00
                 เชื้อเพลิงชีวมวล     เชื้อเพลิงถ่านหิน       ก๊าซธรรมชาติ   เชื้อเพลิง
                                    Keerati Thawisap, 2553.                          22
ผลการศึกษา 3
ผลกระทบภายนอกด้ านลบและด้ านบวก




         Keerati Thawisap, 2553.   23
ผลกระทบภายนอกด้านลบ
   มีมลพิษชนิ ดต่างๆ ถูกปล่อยขึ้นสู่ อากาศดังนี้
1. คาร์ บอนไดออกไซด์ กระทบต่อระบบทางเดินหายใจ เป็ นองค์ประกอบของฝน
กรดส่ งความเสี ยหายให้แก่พืช แต่ถามีการปลูกพืชรอบๆ บริ เวณโรงไฟฟ้ าชีวมวลจะ
                                  ้
ทาให้เกิดผลกระทบด้านบวก คือ พืชได้ประโยชน์จากการใช้คาร์ บอนไดออกไซด์มา
สังเคราะห์ดวยแสงในกระบวนการเจริ ญเติบโต
            ้
2. ไนโตรเจนออกไซด์ เป็ นสาเหตุของโรคปอด ร้ายแรงถึงขั้นเสี ยชีวิต ชะงักการ
เติบโตของพืช และทาให้แหล่งน้ ามีวชพืชมากกว่าปกติ
                                      ั
3. ฝุ่ นละอองขนาดเล็ก เป็ นองค์ประกอบของมลพิษที่ก่อให้เกิดสภาวะเรื อนกระจก



                            Keerati Thawisap, 2553.                     24
ภาพแสดงกระบวนการผลิตไฟฟา ด้ วยเทคโนโลยีไอนาของโรงไฟฟานาตาลขอนแก่น
                       ้                  ้         ้ ้




        ที่มา โรงไฟฟ้ าน้ าตาลขอนแก่น
                              Keerati Thawisap, 2553.           25
มูลค่าผลกระทบด้านลบ
จากต้ นทุนรักษาพยาบาลของประชาชนในท้ องถิ่นเนื่องจากปัญหามลพิษ
            ประชากรตาบลน้ าพองทั้งหมด 8,198 คน
            ค่ารักษาพยาบาลทางด้านระบบทางเดินหายใจของ
            ประชาชน โดยเฉลี่ย 275 บาทต่อครั้ง
            กรณีสมมติให้ ประชาชนในตาบลน้ าพองต้องทาการ
            รักษาพยาบาลด้านระบบทางเดินหายใจปี ละ 1 ครั้ง
                    ดังนั้นมูลค่าการรักษาพยาบาลด้านระบบทางเดิน
            หายใจอันเนื่ องมาจากปั ญหามลพิษของประชาชนในตาบล
            น้ าพอง คือ 2,254,450 บาท และสรุปได้วา ไฟฟ้ าชีวมวล
                                                   ่
            1 หน่ วย ทาให้เกิดผลกระทบด้านลบประมาณ 10.43 บาท
                        Keerati Thawisap, 2553.             26
มูลค่าผลกระทบด้านบวก
รายได้จากการขาย Carbon Credit
ไฟฟ้ าชีวมวลช่วยลดการปลดปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ ได้ 29,381.34 ตัน
อัตราการรับซื้ อคาร์บอนเครดิต ประมาณ $15/ตัน
ดังนั้น โรงไฟฟ้ าน้ าตาลขอนแก่นจะสามารถขายคาร์บอน
เครดิตได้ $440,720หรือประมาณ 14,543,760 บาท
หรือ การผลิตไฟฟ้ าชีวมวล 1 หน่ วย จะทาให้เกิดผล
กระทบด้านบวกประมาณ 67.34 บาท


          Keerati Thawisap, 2553.             27
ภาพเปรียบเทียบสั ดส่ วนมูลค่ าผลกระทบภายนอกด้ านบวกและด้ านลบ
จากการผลิตไฟฟาชีวมวล กรณีศึกษาโรงไฟฟานาตาลขอนแก่น กาลังการผลิต 30 เมกะวัตต์
             ้                           ้ ้

           ผลกระทบ
            ด้านลบ
             13%


                                               ผลกระทบ
                                                ด้านบวก
                                                   87%


                              Keerati Thawisap, 2553.                  28
ข้อเสนอแนะ
1.ส่ งเสริ มให้มีการตั้งแหล่งผลิตวัตถุดิบเชื้อเพลิงชีวมวลที่
       ั
ใกล้กบโรงไฟฟ้ ามากยิงขึ้น เพื่อลดการปลดปล่อยมลพิษ
                         ่
ลดต้นทุน จากด้านการขนส่ งวัตถุดิบ
2.พัฒนาความรู้และเทคโนโลยี ในเรื่ องการนาพืชชีวมวล
ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด
3.พัฒนาและส่ งเสริ มความรู ้ให้แก่ประชาชนในเรื่ องการ
ผลิตพืชวัตถุดิบชีวมวลนอกฤดูกาล
4.สร้างมาตรการในการให้ความสาคัญกับมาตรฐานในการ
ปกป้ องชุมชนและสภาพแวดล้อม
5.สนับสนุนให้ทุกหน่วยธุรกิจผลิตสิ นค้าที่เป็ นมิตรต่อ
สิ่ งแวดล้อมมากยิงขึ้น
                   ่
    Keerati Thawisap, 2553.                           29
ข้อเสนอแนะในการทา
                   วิจยครั้งต่อไป
                      ั

1. ทาการศึกษาวิจยรอยเท้าคาร์บอนจากการผลิตไฟฟาชีวมวล เพื่อ
                ั                               ้
   เปรียบเทียบหาพื้นที่ๆ เหมาะสมที่สุดในการผลิตไฟฟา
                                                  ้
2. ศึกษารอยเท้าคาร์บอนตลอดวัฏจักรชีวิตของวัตถุดิบชีวมวล
3. ศึกษาแนวโน้มราคาคาร์บอนเครดิตที่ได้จากการผลิตพลังงานทดแทนชีว
   มวลในรูปแบบต่างๆ เช่น ก๊าซเอทานอล และกระแสไฟฟา เป็ นต้น
                                                     ้




                          Keerati Thawisap, 2553.                 30

Más contenido relacionado

Destacado

การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
Wanida Kook
 
พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์
Nan's Tippawan
 
การ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลการ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวล
Boom Rattamanee Boom
 
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน
Kobwit Piriyawat
 
Financial Management
Financial ManagementFinancial Management
Financial Management
tltutortutor
 
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
guest1f2d6d
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
pranpriya08320
 

Destacado (20)

เครื่องกำเนิดไฟฟ้าไม่จ่ายไฟ
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าไม่จ่ายไฟเครื่องกำเนิดไฟฟ้าไม่จ่ายไฟ
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าไม่จ่ายไฟ
 
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.PromptRMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
 
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
 
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
 
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
 
พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์
 
การ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลการ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวล
 
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคินสัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
 
6.ตอนที่ 4
6.ตอนที่ 46.ตอนที่ 4
6.ตอนที่ 4
 
08.ชีวมวล
08.ชีวมวล08.ชีวมวล
08.ชีวมวล
 
ค่าสินไหมทดแทน
ค่าสินไหมทดแทนค่าสินไหมทดแทน
ค่าสินไหมทดแทน
 
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน
8. ความรู้และความเข้าใจพื้นฐานด้านพลังงาน
 
Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2Basic K M1 Sept05 2
Basic K M1 Sept05 2
 
3.ตอนที่ 1
3.ตอนที่ 13.ตอนที่ 1
3.ตอนที่ 1
 
Toeic project by tciapTOEIC ตีแผ่แบไต๋ สอบอย่างไรให้ได้คะแนน 750 เปลี่ยนชีวิต...
Toeic project by tciapTOEIC ตีแผ่แบไต๋ สอบอย่างไรให้ได้คะแนน 750 เปลี่ยนชีวิต...Toeic project by tciapTOEIC ตีแผ่แบไต๋ สอบอย่างไรให้ได้คะแนน 750 เปลี่ยนชีวิต...
Toeic project by tciapTOEIC ตีแผ่แบไต๋ สอบอย่างไรให้ได้คะแนน 750 เปลี่ยนชีวิต...
 
Financial Management
Financial ManagementFinancial Management
Financial Management
 
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
Iel
IelIel
Iel
 
Solar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, ThailandSolar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, Thailand
 

Similar a biomass

Cc parliament seminar[1]
Cc parliament seminar[1]Cc parliament seminar[1]
Cc parliament seminar[1]
numpueng
 
ความจริงเรื่องพลังงาน สัมมนาแม่กลอง
ความจริงเรื่องพลังงาน สัมมนาแม่กลองความจริงเรื่องพลังงาน สัมมนาแม่กลอง
ความจริงเรื่องพลังงาน สัมมนาแม่กลอง
บัณฑิต ป้านสวาท
 
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
Office of Atoms for Peace
 
12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ
Kobwit Piriyawat
 
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
sudsanguan
 

Similar a biomass (14)

CLFR with Garbage 150kW, Thailand
CLFR with Garbage 150kW, Thailand CLFR with Garbage 150kW, Thailand
CLFR with Garbage 150kW, Thailand
 
Power2554
Power2554Power2554
Power2554
 
Cc parliament seminar[1]
Cc parliament seminar[1]Cc parliament seminar[1]
Cc parliament seminar[1]
 
3การพัฒนาอุปกรณ์เพื่อการรีไซเคิล(full paper)
3การพัฒนาอุปกรณ์เพื่อการรีไซเคิล(full paper)3การพัฒนาอุปกรณ์เพื่อการรีไซเคิล(full paper)
3การพัฒนาอุปกรณ์เพื่อการรีไซเคิล(full paper)
 
CLFR with Biomass Back up 250 kW
CLFR with Biomass Back up 250 kWCLFR with Biomass Back up 250 kW
CLFR with Biomass Back up 250 kW
 
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.107_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
 
การสัมมนา“ก๊าซและน้ำมัน สมบัติที่โลกประทานให้คนอ่าวไทย” ความจริงเรื่องพลังงาน
การสัมมนา“ก๊าซและน้ำมัน สมบัติที่โลกประทานให้คนอ่าวไทย” ความจริงเรื่องพลังงาน การสัมมนา“ก๊าซและน้ำมัน สมบัติที่โลกประทานให้คนอ่าวไทย” ความจริงเรื่องพลังงาน
การสัมมนา“ก๊าซและน้ำมัน สมบัติที่โลกประทานให้คนอ่าวไทย” ความจริงเรื่องพลังงาน
 
ความจริงเรื่องพลังงาน สัมมนาแม่กลอง
ความจริงเรื่องพลังงาน สัมมนาแม่กลองความจริงเรื่องพลังงาน สัมมนาแม่กลอง
ความจริงเรื่องพลังงาน สัมมนาแม่กลอง
 
ONEP-Low Carbon and Sustainable Business
ONEP-Low Carbon and Sustainable BusinessONEP-Low Carbon and Sustainable Business
ONEP-Low Carbon and Sustainable Business
 
Eneygy Awarness
Eneygy AwarnessEneygy Awarness
Eneygy Awarness
 
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
 
12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ
 
Problems and Problem-Solving in Mab Ta Phut
Problems and Problem-Solving in Mab Ta PhutProblems and Problem-Solving in Mab Ta Phut
Problems and Problem-Solving in Mab Ta Phut
 
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
พาวเวอร์พ้อยท์ภาวะโลกร้อน2
 

biomass

  • 1. การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกและผลกระทบ ภายนอกจากการผลิตไฟฟ้ าชีวมวล กรณีศึกษา โรงไฟฟ้ าน้ าตาลขอนแก่น Keerati Thawisap, 2553.
  • 3. ประเทศไทยมีรากฐาน เกษตรกรรม เป็ นแหล่งชีวมวล เป็ นนโยบายพลังงาน ลดการนาเข้าไฟฟา1.28 ้ ทดแทนหลักของรัฐ พันล้านบาท ลดปั ญหาโลกร้อน Carbon Credit Keerati Thawisap, 2553. 3
  • 4. เป้ าหมายการผลิตกระแสไฟฟ้ า พลังงานหมุนเวียนของไทย ปี 2554 พลังงานจากลม พลังงานจากขยะ 3% 5% พลังงานจากน้ า พลังงานจาก 17% แสงอาทิตย์ 2% พลังงานจากชีวมวล พลังงานจากก๊าซ 73% ชีวภาพ 1,548 MW 0% 10MW ที่มา: ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ (2552) Keerati Thawisap, 2553. 4
  • 6. แผนการผลิตไฟฟา ้ ต้ นทุนสิ่ งแวดล้ อมในปี 2558 แผนทางเลือก ต้ นทุนสิ่งแวดล้อม แผนถ่ านหิน ต้ นทุนค่าเชื้อเพลิง ต้ นทุนค่าปฏิบัตการ ิ ต้ นทุนค่าลงทุน แผนก๊าซ ล้ านบาท 0 200000 400000 600000 800000 ที่มา: เดชรัตน์ สุ ขกาเนิด (2551) Keerati Thawisap, 2553. 6
  • 7. ปล่อยมลพิษจากการขนส่ง ยากแก่การดูแลรักษา ปริมาณไม่แน่นอน มีการบริโภคไฟฟามากขึ้ น ้ กระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมใน ชุมชน Keerati Thawisap, 2553. 7
  • 8. เพื่อคานวณหาปริ มาณการปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจกและ ปริ มาณก๊าซเรื อนกระจกที่ลดลงได้จากการผลิตไฟฟ้ าชีวมวล ของโรงไฟฟ้ าน้ าตาลขอนแก่น เพื่อศึกษาปริ มาณการปลดปล่อยก๊าซเรื อนกระจกของการผลิต ไฟฟ้ าชีวมวล เปรี ยบเทียบกับการผลิตไฟฟ้ าด้วยก๊าซธรรมชาติ และถ่านหินของการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย เพื่อเปรี ยบเทียบมูลค่าผลกระทบภายนอกด้านบวกและด้านลบ จากการผลิตไฟฟ้ าชีวมวล Keerati Thawisap, 2553. 8
  • 9. ขอบเขตการวิจย ั • กรณีศึกษา โรงไฟฟ้ าน้ าตาล ขอนแก่น กาลังการผลิต 30 เมกะวัตต์ • เปรียบเทียบการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากการผลิตไฟฟ้ าถ่านหินและ ก๊าซธรรมชาติ ของกฟผ. • ผลกระทบภายนอกด้านลบ ประเมินจากค่ารักษาพยาบาลเมื่อสมมติให้ ประชาชนในตาบล มีการเจ็บป่ วยจากโรคทางเดินหายใจปี ละ 1 ครั้ง/คน • ผลกระทบภายนอกด้านบวก ประเมินจากมูลค่า Carbon Credit Keerati Thawisap, 2553. 9
  • 10. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง • ผลกระทบภายนอกด้านบวก (Positive Externality) • ผลกระทบภายนอกด้านลบ (Negative Externality) • ต้นทุนทางสังคม (Social Cost) • ต้นทุนทางสิ่งแวดล้อม (Environment Cost) vs. Keerati Thawisap, 2553. 10
  • 11. งานวิจยที่เกี่ยวข้อง ั การประเมินวัฏจักรชีวตและต้นทุนของการผลิต ิ กระแสไฟฟ้ าจากแก๊สซิฟิเคชันของไม้โตเร็ว ชนาภา ่ วรรณศรี (2551) ซึ่งใช้ไม้กระถินยักษ์เป็ นเชื้ อเพลิง ประเมินวัฏจักรชีวต ประเมินการปลดปล่อยมลพิษ และ ิ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ใช้โปรแกรมสาเร็จรูป Sima Pro ด้วยวิธี EDIP/UMIP ผลจากการศึกษาพบว่าต้นทุน การผลิตจะต ่ากว่าต้นทุนการผลิตที่รวมต้นทุน สิ่งแวดล้อมเข้าไปด้วย Keerati Thawisap, 2553. 11
  • 12. การศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของการผลิต กระแสไฟฟ้ าจากก๊าซชีวภาพ ปรีชา ศิรชาญ ิ (2544) โดยวิธี Numerical Environmental Total Standard [NETS] ร่วมกับการวิเคราะห์ Externality Cost โดยศึกษาฟาร์มสุกรซึ่งขนาดต่างๆ มีขนาด ระบบผลิตก๊าซชีวภาพไม่เกิน 1,500 ลูกบาตรเมตร และมีกาลังผลิตไฟฟ้ าไม่เกิน 138 กิโลวัตต์ Keerati Thawisap, 2553. 12
  • 13. ตารางแสดง ผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมและต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของ พลังงานไฟฟ้ าที่เกิดจากก๊าซชีวภาพ กับพลังงานไฟฟ้ าที่ผลิตจากเชื้ อเพลิงฟอสซิล ค่ าผลกระทบทางสั งคมและสิ่ งแวดล้ อม ต้ นทุนทาง แหล่ งผลิตพลังงานไฟฟ้ า เศรษฐศาสตร์ Simapro (บาท/kWh) [NETS]/kWh (Pt./kWh) 1. ก๊ าซชีวภาพจากฟาร์ มสุกร 0.00077-0.00086 0.060-0.064 2.974-3.160 2.เชื ้อเพลิงฟอสซิล .00150 .00104 6.212 ที่มา: อภิชาติ เชี่ยววานิช (2546) Keerati Thawisap, 2553. 13
  • 14. ทนงเกียรติ เกียรติศิรโรจน์ (2552) ศึกษาวิเคราะห์ ิ แนวทางการจัดการขยะในการผลิตไฟฟ้ าระดับอาเภอ ใน พื้ นที่จงหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลาปาง ทาการวิเคราะห์ 3 ั ประเด็น คือ วิเคราะห์เทคโนโลยี วิเคราะห์ผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม และวิเคราะห์ดานสังคม ้ Keerati Thawisap, 2553. 14
  • 15. การวิเคราะห์ขอมูล ้ 1. Consolidated methodology for electricity generation from Biomass residuesศึกษาโดยใช้มล ู ต่อไปนี้ • ปริมาณชีวมวลที่ใช้ (ตัน/ปี ) • ระยะทางเฉลี่ยในการขนส่งชีวมวลจากแหล่งวัตถุดิบถึงโครงการ (กม./เที่ยว) • น้ าหนักเฉลี่ยในการบรรทุกชีวมวล (ตัน/เที่ยว) • ค่าสัมประสิทธิ์การปล่อย CO2 จากรถบรรทุก (tCO2/km) • ปริมาณไฟฟ้ าที่ผลิตได้ (MWh/y) • ค่าสัมประสิทธิ์การปล่อย CO2 สาหรับไฟฟ้ าจาก grid (tCO2/MWh) 2. วิเคราะห์โดยการเปรียบเทียบสัดส่วน Keerati Thawisap, 2553. 15
  • 17. ปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตไฟฟา ้ ผลิตไฟฟ้ า 30 MW หรื อ 216,000 หน่วยเมกะวัตต์ ระยะทางรวมในการขนส่ งชีวมวล 2,270,984 กิโลเมตร ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 2,516.25 ตัน ไฟฟ้ าชีวมวล 1 หน่วยเมกะวัตต์ ปล่อย CO2 ประมาณ 0.02 ตัน Keerati Thawisap, 2553. 17
  • 18. การลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ค่ าสั มประสิ ทธิ์การปล่ อย ไฟฟ้ าทีผลิตได้ ในโครงการ ่ ปริมาณการลดก๊ าซเรือนกระจก คาร์ บอนไดออกไซด์ สาหรับไฟฟ้ า และส่ งGrid จากการทดแทนไฟฟ้ า ทีกาหนดจาก Grid ่ tCO2e/MWh MWH tCO2 0.5355 -59,566.00 -31,897.59 Keerati Thawisap, 2553. 18
  • 19. ปลดปล่อยก๊าซ เรือนกระจก 8% ลดการเกิดก๊าซ เรือนกระจก 92% แผนภูมิเปรี ยบเทียบการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกและปริ มาณก๊าซเรื อนกระจกที่ลดได้จากการผลิต ไฟฟ้ าชีวมวล Keerati Thawisap, 2553. 19
  • 20. ผลการศึกษา 2 การปลดปล่อยมลพิษทางอากาศของโรงไฟฟาถ่ านหินและก๊าซธรรมชาติ ้ เปรียบเทียบกับการปล่ อยมลพิษของไฟฟาชีวมวล ้ Keerati Thawisap, 2553. 20
  • 21. ตารางแสดงปริมาณการปลดปล่ อยมลพิษทางอากาศของโรงไฟฟาถ่ านหินและก๊ าซธรรมชาติ ้ ปริมาณเชื้อเพลิง กาลังการผลิต เกิดคาร์ บอนไดออกไซด์ เชื้อเพลิง Fi,j,v (Gwh) (ตัน) ก๊าซธรรมชาติ 94,725 5,420,354 14,599 GWh ถ่ านหิน 899 2,242,231 ที่มา: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, 2550. Keerati Thawisap, 2553. 21
  • 22. เปรียบเทียบปริมาณการปลดปล่อยมลพิษจากการผลิตไฟฟาขนาด ้ ตัน 30 เมกะวัตต์ ของโรงไฟฟาประเภทต่ างๆ ้ 90,000.00 80,000.00 80,197 70,000.00 60,000.00 50,000.00 40,000.00 33,175 30,000.00 20,000.00 10,000.00 2,516 0.00 เชื้อเพลิงชีวมวล เชื้อเพลิงถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ เชื้อเพลิง Keerati Thawisap, 2553. 22
  • 24. ผลกระทบภายนอกด้านลบ มีมลพิษชนิ ดต่างๆ ถูกปล่อยขึ้นสู่ อากาศดังนี้ 1. คาร์ บอนไดออกไซด์ กระทบต่อระบบทางเดินหายใจ เป็ นองค์ประกอบของฝน กรดส่ งความเสี ยหายให้แก่พืช แต่ถามีการปลูกพืชรอบๆ บริ เวณโรงไฟฟ้ าชีวมวลจะ ้ ทาให้เกิดผลกระทบด้านบวก คือ พืชได้ประโยชน์จากการใช้คาร์ บอนไดออกไซด์มา สังเคราะห์ดวยแสงในกระบวนการเจริ ญเติบโต ้ 2. ไนโตรเจนออกไซด์ เป็ นสาเหตุของโรคปอด ร้ายแรงถึงขั้นเสี ยชีวิต ชะงักการ เติบโตของพืช และทาให้แหล่งน้ ามีวชพืชมากกว่าปกติ ั 3. ฝุ่ นละอองขนาดเล็ก เป็ นองค์ประกอบของมลพิษที่ก่อให้เกิดสภาวะเรื อนกระจก Keerati Thawisap, 2553. 24
  • 25. ภาพแสดงกระบวนการผลิตไฟฟา ด้ วยเทคโนโลยีไอนาของโรงไฟฟานาตาลขอนแก่น ้ ้ ้ ้ ที่มา โรงไฟฟ้ าน้ าตาลขอนแก่น Keerati Thawisap, 2553. 25
  • 26. มูลค่าผลกระทบด้านลบ จากต้ นทุนรักษาพยาบาลของประชาชนในท้ องถิ่นเนื่องจากปัญหามลพิษ ประชากรตาบลน้ าพองทั้งหมด 8,198 คน ค่ารักษาพยาบาลทางด้านระบบทางเดินหายใจของ ประชาชน โดยเฉลี่ย 275 บาทต่อครั้ง กรณีสมมติให้ ประชาชนในตาบลน้ าพองต้องทาการ รักษาพยาบาลด้านระบบทางเดินหายใจปี ละ 1 ครั้ง ดังนั้นมูลค่าการรักษาพยาบาลด้านระบบทางเดิน หายใจอันเนื่ องมาจากปั ญหามลพิษของประชาชนในตาบล น้ าพอง คือ 2,254,450 บาท และสรุปได้วา ไฟฟ้ าชีวมวล ่ 1 หน่ วย ทาให้เกิดผลกระทบด้านลบประมาณ 10.43 บาท Keerati Thawisap, 2553. 26
  • 27. มูลค่าผลกระทบด้านบวก รายได้จากการขาย Carbon Credit ไฟฟ้ าชีวมวลช่วยลดการปลดปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ได้ 29,381.34 ตัน อัตราการรับซื้ อคาร์บอนเครดิต ประมาณ $15/ตัน ดังนั้น โรงไฟฟ้ าน้ าตาลขอนแก่นจะสามารถขายคาร์บอน เครดิตได้ $440,720หรือประมาณ 14,543,760 บาท หรือ การผลิตไฟฟ้ าชีวมวล 1 หน่ วย จะทาให้เกิดผล กระทบด้านบวกประมาณ 67.34 บาท Keerati Thawisap, 2553. 27
  • 28. ภาพเปรียบเทียบสั ดส่ วนมูลค่ าผลกระทบภายนอกด้ านบวกและด้ านลบ จากการผลิตไฟฟาชีวมวล กรณีศึกษาโรงไฟฟานาตาลขอนแก่น กาลังการผลิต 30 เมกะวัตต์ ้ ้ ้ ผลกระทบ ด้านลบ 13% ผลกระทบ ด้านบวก 87% Keerati Thawisap, 2553. 28
  • 29. ข้อเสนอแนะ 1.ส่ งเสริ มให้มีการตั้งแหล่งผลิตวัตถุดิบเชื้อเพลิงชีวมวลที่ ั ใกล้กบโรงไฟฟ้ ามากยิงขึ้น เพื่อลดการปลดปล่อยมลพิษ ่ ลดต้นทุน จากด้านการขนส่ งวัตถุดิบ 2.พัฒนาความรู้และเทคโนโลยี ในเรื่ องการนาพืชชีวมวล ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด 3.พัฒนาและส่ งเสริ มความรู ้ให้แก่ประชาชนในเรื่ องการ ผลิตพืชวัตถุดิบชีวมวลนอกฤดูกาล 4.สร้างมาตรการในการให้ความสาคัญกับมาตรฐานในการ ปกป้ องชุมชนและสภาพแวดล้อม 5.สนับสนุนให้ทุกหน่วยธุรกิจผลิตสิ นค้าที่เป็ นมิตรต่อ สิ่ งแวดล้อมมากยิงขึ้น ่ Keerati Thawisap, 2553. 29
  • 30. ข้อเสนอแนะในการทา วิจยครั้งต่อไป ั 1. ทาการศึกษาวิจยรอยเท้าคาร์บอนจากการผลิตไฟฟาชีวมวล เพื่อ ั ้ เปรียบเทียบหาพื้นที่ๆ เหมาะสมที่สุดในการผลิตไฟฟา ้ 2. ศึกษารอยเท้าคาร์บอนตลอดวัฏจักรชีวิตของวัตถุดิบชีวมวล 3. ศึกษาแนวโน้มราคาคาร์บอนเครดิตที่ได้จากการผลิตพลังงานทดแทนชีว มวลในรูปแบบต่างๆ เช่น ก๊าซเอทานอล และกระแสไฟฟา เป็ นต้น ้ Keerati Thawisap, 2553. 30