SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 73
Descargar para leer sin conexión
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการศึกษาองค์ความรู้ด้านการแปรผลการศึกษาวิจัยสุขภาพ
ไปสู่การปฏิบัติในระดับนโยบายสาธารณะ
(Review and Synthesis of Health Research Translation:
Concept and its Application)
Health Research Translation: State-of-the-Art, Case Studies, and Its Application
ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์
ธีระวัฒน์ วรธนารัตน์
ธีระ วรธนารัตน์
ส นั บ ส นุ น โ ด ย ส ถ า บั น วิ จั ย ร ะ บ บ ส า ธ า ร ณ สุ ข  
องค์ความรู้ กรณีศึกษาด้านการแปรผล
การศึกษาวิจัยสุขภาพไปสู่การปฏิบัติระดับ
นโยบายสาธารณะ และการประยุกต์ใช้
1 | P a g e
องค์ความรู้ กรณีศึกษาด้านการแปรผล
การศึกษาวิจัยสุขภาพไปสู่การปฏิบัติ
ระดับนโยบายสาธารณะ และการประยุกต์ใช้
โดย : ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์ , ธีระวัฒน์ วรธนารัตน์ , ธีระ วรธนารัตน์
ISBN : 978-974-7533-26-2
พิมพ์ครั้งที่ 1 : 2555
จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย : ธีระ วรธนารัตน์
ภาควิชาเวชศาสตร์ป้ องกันและสังคม
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โทรศัพท์ : 0-2252-7864
โทรสาร : 0-2256-4292
เว็บไซด์ : http://www.facebook.com/thiraw
E-mail : thiraw@hotmail.com
สนับสนุนโดย : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
จัดจําหน่ายโดย : ธีระ วรธนารัตน์
ภาควิชาเวชศาสตร์ป้ องกันและสังคม
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ราคา 200 บาท
2 | P a g e
คํานํา
หนังสือเล่มนี้เป็นผลิตผลต่อยอดจากโครงการศึกษาองค์ความรู้ด้านการแปรผลการศึกษา
วิจัยสุขภาพไปสู่การปฏิบัติในระดับนโยบายสาธารณะที่ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบ
สาธารณสุข โดยหวังจะทําการทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับการนําข้อมูล/องค์ความรู้/ผลการศึกษาวิจัย
ไปต่อยอดสู่การปฏิบัติเชิงนโยบาย ทางคณะผู้นิพนธ์ได้ทําการศึกษาโดยอาศัยการทบทวนวรรณกรรม
เชิงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อดังกล่าว ร่วมกับการคัดเลือกกรณีศึกษาในประเทศไทย และต่างประเทศ
ที่แสดงให้เห็นความสําเร็จในการแปรความรู้สู่การปฏิบัติในรูปแบบนโยบายสาธารณะ โดยกรณีศึกษา
ต่างๆ มีทั้งกรณีที่ดําเนินการในระดับประเทศ และในระดับโลก จากการทบทวนกรณีศึกษาต่างๆ
ทางคณะผู้นิพนธ์ได้ดําเนินการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรอบแนวคิดที่อาศัยปัจจัยแห่งความสําเร็จ
จากกรณีศึกษาที่มี โดยหวังจะให้ผู้อ่านสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติตามบริบท
ของตนเองได้ในอนาคต
สุดท้ายนี้คณะผู้นิพนธ์ขอขอบคุณ นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข ผู้อํานวยการสถาบันวิจัยระบบ
สาธารณสุข และทพ.จเร วิชาไทย ผู้จัดการงานวิจัย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ที่กรุณาให้โอกาสใน
การดําเนินโครงการวิจัยนี้รวมถึงคําแนะนําที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาโครงการวิจัยตั้งแต่เริ่ม
กระบวนการวิจัยจนเสร็จสมบูรณ์
ผศ.ดร.พญ.ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์
ธีระวัฒน์ วรธนารัตน์
นพ.ธีระ วรธนารัตน์
14 กุมภาพันธ์ 2555
ขอขอบค
ขอขอบใจ
ดําเนิ
คุณคุณพ่อคุณ
จน้องคีน (เด็ก
นินงานวิจัยจน
กิตติกร
ณแม่ที่ได้กรุณ
กชายธีระวัฒน
นลุล่วง และให
รรมประกาศ
ณาถ่ายทอดแ
น์ วรธนารัตน์
ห้คําแนะนําใ
ศ
แนวคิด และป
น์) ที่สละเวลา
ในการจัดทําห
ประสบการณ์ใ
อันมีค่าให้พ่อ
หน้าปกหนังสือ
3 | P a
ให้แก่พวกเรา
อแม่ได้สามาร
อ
a g e
า
รถ
4 | P a g e
สารบัญ
หัวข้อ หน้า
ความสําคัญของการแปรผลการศึกษาวิจัยสุขภาพไปสู่การปฏิบัติ 5
รูปแบบการสร้างนโยบาย 7
รูปแบบการใช้งานวิจัย 9
การนําผลการศึกษาวิจัยไปสู่การวางนโยบายโดยอ้างอิงหลักฐานเชิงประจักษ์ 11
ลักษณะของผู้ผลิตผลงานวิจัย 17
ลักษณะของผู้กําหนดนโยบาย 18
แนวทางการแก้ปัญหาเพื่อปิดช่องว่างระหว่างผู้ผลิตผลงานวิจัยและผู้ใช้งานวิจัย 19
แนวทางสําหรับผู้ผลิตผลงานวิจัยในการผลิตผลงานวิจัยเพื่อให้สามารถนําไปใช้จริง 21
ปัจจัยเกื้อหนุนให้เกิดการใช้ผลงานวิจัย 22
กลยุทธ์ที่จะทําให้ผู้ผลิตผลงานวิจัยสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้
ผลงานวิจัยหรือผู้กําหนดนโยบาย
23
กรณีศึกษา 24
บทวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างกรณีศึกษา 60
สกัดองค์ความรู้สู่นโยบาย 65
ดัชนี 68
5 | P a g e
องค์ความรู้และกรณีศึกษาด้านการแปรผลการศึกษาวิจัยสุขภาพ
ไปสู่การปฏิบัติในระดับนโยบายสาธารณะ
(Health Research Translation: Concept and its Application)
ความสําคัญของการแปรผลการศึกษาวิจัยสุขภาพไปสู่การปฏิบัติ :
กระแสโลกาภิวัตน์ในรอบสองทศวรรษที่ผ่านมาก่อให้เกิดผลกระทบต่อการพัฒนาของสังคม
โลกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังจะเห็นได้จากการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ในประเทศ ทั้งด้าน
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยี รวมไปถึงระบบสาธารณสุข แต่ละประเทศได้มีการเน้น
การลงทุนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของตนเอง เช่น การเพิ่มการศึกษาวิจัยเพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่
สามารถนําไปต่อยอดในเชิงพาณิชย์ ในขณะเดียวกันก็มีแนวคิดที่จะหาทางขยายผลไปสู่การปฏิบัติ
ผ่านกลไกการพัฒนาในระดับนโยบายทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก เพื่อให้
ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน และประชาคมโลกไปพร้อมกัน
เป็นที่น่าสังเกตว่าการลงทุนในการศึกษาวิจัยด้านสุขภาพตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีความ
หลากหลาย ผลผลิตและผลลัพธ์ที่ได้จากงานวิจัยต่างๆ นั้น บ้างก็ได้รับการรวบรวมในระดับสถาบัน ณ
แหล่งทุน สถาบันการศึกษา หรือที่อื่นๆ อย่างกระจัดกระจาย และไม่สามารถนํามาใช้ประโยชน์ได้อย่าง
เต็มที่หรือทันเหตุการณ์ จนกระทั่งเมื่อเร็วๆ นี้ได้มีการริเริ่มของแหล่งทุนต่างๆ ในการเก็บรวบรวม
ฐานข้อมูลการศึกษาวิจัยเข้าด้วยกัน 1
อย่างไรก็ตามคงต้องใช้เวลาในการพัฒนาและบูรณาการ
ฐานข้อมูลเหล่านั้นเข้าด้วยกันอย่างสมบูรณ์
ในขณะเดียวกัน ช่องว่างของการแปรองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยสู่การปฏิบัติระดับ
สาธารณะนั้น ยังคงเป็นคําถามสําคัญของประเทศ และสังคมโลก 2
เพื่อจะไขข้อข้องใจที่ว่า เหตุใด
ผลงานศึกษาวิจัยบางชิ้นจึงสามารถนําไปต่อยอดปฏิบัติในระดับสาธารณะ ทั้งระดับประเทศ ระดับ
ภูมิภาค และระดับโลกได้ แต่ผลงานศึกษาวิจัยอีกจํานวนมากที่ทําเสร็จแล้วก็ได้รับการเปรียบเปรยว่า
ถูกนําไปแขวนไว้บนหิ้ง ซึ่งบางส่วนคงเป็นเหตุผลในเชิงคุณภาพของผลงาน แต่บางส่วนที่มีคุณภาพดี
แต่ยังไม่ได้รับการนําไปปฏิบัติได้อย่างแท้จริง
1
 http://nstda.or.th/index.php/news/1483-thai‐research‐center Accessed on 2nd November 2010 
2
 http://www.ncbi.nlm.nih.gov/bookshelf/br.fcgi?book=nap12558&part=conclusion Accessed on 2nd  
   November 2010
6 | P a g e
โครงการศึกษาองค์ความรู้และกรณีศึกษาด้านการแปรผลการศึกษาวิจัยสุขภาพไปสู่การ
ปฏิบัติในระดับนโยบายสาธารณะ จึงได้รับการพัฒนาขึ้น เพื่อทําการเปรียบเทียบบทเรียนใน
ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ โดยหวังให้ผลผลิตจากการศึกษานี้เป็นองค์ความรู้และทําหน้าที่
เป็นหนึ่งในเครื่องมือที่จะช่วยให้เกิดความเข้าใจและนําไปสู่การพัฒนานโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ
ที่มีประสิทธิภาพ มีความเหมาะสมและทันเหตุการณ์ได้ในอนาคต
ค.ศ. 200
Making
นโยบาย
แบบได้แ
1.
2.
3
 Hanney
assessme
รู
ในทางปฏิบัติ
02 Hanney
โดยทํา
สาธารณะ
แก่
Rational m
จัดการกับปัญ
Incrementa
ยอดให้ดียิ่งขึ้
ช่วยในการส ้
สนใจของผู้ที่
ได้ส่วนเสียภ
y et al. The ut
ent. Health Re
รูปแบบการ
ติแล้ว รูปแบ
และคณะ3
ได
าการวิเคราะห์
และได้นําเสน
model :
ญหาหรือตอบ
alists mode
ขึ้น โดยอาศัยห
ร้างหรือตัดสิน
ที่เกี่ยวข้อง คุณ
ายในองค์กร
ilisation of he
esearch Policy
รสร้างนโย
บบในการสร้า
ด้ทําการศึกษ
ห์ปัจจัยที่มีผล
นอผลสรุปว่า
เป็นรูป
ต้องการ
เพื่อหาแ
จากวิธีก
บสนองต่อโจท
el :
เ
ชั
ม
น
หลายปัจจัยที
นใจเชิงนโยบ
ณค่าของนโยบ
และความคา
ealth research
y and Systems
บาย (Polic
างนโยบายมีรู
ษาเรื่อง The U
ลต่อการนําผล
ด้วยเรื่องรูปแ
แบบที่ผู้กําหน
รแก้ไข จากนั้น
แนวทางแก้ปัญ
การแก้ปัญหา
ทย์ที่ตั้งไว้ตอน
ป็นรูปแบบที่
ชัดเจน แต่การ
มาช่วยในการ
นโยบายที่มีอยู
ที่มาเกี่ยวข้อง
บาย เช่น คุณล
บายต่อผู้มีส่ว
าดหวังส่วนบุ
 in policy‐mak
s 2002;1:2. 
cy making
รปแบบในการ
Utilisation of
ลการศึกษาวิจ
แบบการสร้าง
นดนโยบายเป็
ั้นจัดให้มีการ
ญหาที่เป็นไป
าแต่ละวิธี แล
นต้น
ผู้กําหนดนโย
รสร้างนโยบา
กําหนดนโยบ
ยู่เดิมในระบบ
งเกื้อหนุนแบบ
ลักษณะของอ
วนได้ส่วนเสีย
คคล
king: concepts
models)
รดําเนินการห
f Health Res
จัยไปใช้ในกร
นโยบายเหล่า
ป็นผู้ตั้งโจทย์ห
รทบทวนข้อมูล
ปได้ทั้งหมด ร
ะเลือกวิธีที่ดีท
ยบายไม่ได้กํา
ยและการใช้อ
บายนั้น อาศัย
บนั้นๆ และทํา
บปะติดปะต่อ
องค์ความรู้ต่า
ย ลักษณะตําแ
s, examples a
7 | P a
หลากหลาย
search in P
ระบวนการกํา
านั้น ทั้งหม
หรือปัญหาที่
ลที่มีอยู่ในระ
วมทั้งผลกระ
ที่สุดในการ
หนดเป้ าหมา
องค์ความรู้เพื
ยการต่อยอดจ
าการพัฒนาต่
อหรือต่อยอด
างๆ ที่มีอยู่ ค
แหน่งของผู้มี
nd methods o
a g e
ในปี
olicy
าหนด
ด 4
บบ
ะทบ
ายที่
พื่อ
จาก
ต่อ
เพื่อ
วาม
ส่วน
of 
3.
4.
วัตถุประ
ปฏิบัติ โ
อื่นๆ
Network m
Garbage c
อย่างไรก็ดี ข
ะสงค์แอบแฝง
โดยพบว่าในชี
model :
can model:
ขั้นตอนการนํ
ง นโยบายที่
ชีวิตจริงนั้น ขั้
:
าองค์ความรู้ส
ที่เตรียมการไว้
ขั้นตอนการดํา
เป็นรูปแบ
ระหว่างก
เช่น กลุ่มน
ประสิทธิภ
ใช้รู
ไม่เป็
สู่การปฏิบัติแ
ว้แล้วและวิธีก
าเนินการส่วน
บบที่มีการเริ่ม
ลุ่มผู้กําหนดน
นักวิชาการหรื
ภาพในการสร้
รปแบบที่ทําก
ป็นระบบ ไม่มี
และการตัดสิน
การดําเนินกา
นมากจะใช้วิธี
ต้นด้วยการห
นโยบายและบ
รือนักวิจัย เพื่
ร้างและตัดสิน
ารตัดสินใจส ้
มีขั้นตอนที่ชัด
นใจนําผลการ
รถือเป็นตัวแป
ธี Rational m
8 | P a
หากลวิธีเชื่อม
บุคคลภายนอ
พื่อเพิ่ม
นใจเชิงนโยบ
ร้างนโยบายอ
ดเจน
รวิจัยไปใช้แม้
ปรที่สําคัญใน
model มากกว
a g e
มโยง
อก
าย
อย่าง
ม้จะมี
นทาง
ว่าวิธี
แนวทาง
สาธารณ
1.
2.
4
 Weiss C
รูป
รูปแบบการใ
ที่เป็นประโยช
ณะ
รูปแบบการใ
Knowledge
Problem-s
CH. The many
ปแบบการใ
ใช้งานวิจัยได้รั
ชน์ต่อการนํา
ใช้งานวิจัยมีท
e-driven/Cl
solving/Poli
y meanings of 
ใช้งานวิจัย
รับการทบทว
ผลการวิจัยด้
ทฤษฎีกล่าวถึง
lassic/Puris
cy-driven/E
research utili
(Research
นโดย Weiss
้าน social
งดังนี้
st model :
การท
ปฏิบั
Engineerin
ผู้ใช้ผล
เป็นผู้ด
zation. Public
h utilization
s และคณะ
science
ทําวิจัยก่อให้
บัติ (ภาคบังคับ
g model :
ลงานวิจัยเป็น
ดําเนินการวิจั
c Administratio
n models)
ในปีค.ศ.197
ไปใช้ในกา
เกิดองค์ความ
ับ)
นผู้กําหนดปัญ
ัยเพื่อประเมิน
on Review 19
9 | P a
794
เขาได้นําเ
ารกําหนดนโย
มรู้ที่นําไปสู่กา
ญหาให้นักวิจั
นและหาวิธีแก
79;39(5):426‐
a g e
เสนอ
ยบาย
าร
ัย
ก้ไข
‐31. 
3.
4.
5.
Interactive
Enlightenm
Political m
e/Social inte
ment/Perco
model :
eraction m
olation/Lime
เป็นการน
model :
เป็นกา
ผลงาน ิ
ต้องกา
estone mo
เป็นรูปแบบ
สามารถใช้ผ
นําผลการศึก
รประสานกัน
นวิจัยเพื่อแลก
รของทั้งสองฝ
odel :
บที่เสาะหาวิธีก
ผลการวิจัย
ษามาเป็นเค ื
นระหว่างนักวิ
เปลี่ยนทัศนค
ฝ่าย
การที่หลากห
รื่องมือในการ
10 | P a
จัยและผู้ใช้
คติและความ
หลายเพื่อให้
รกําหนดนโยบ
a g e
บาย
การ
ผลการวิ
คณะ 5
นโยบาย
การสัมภ
มีปัจจัยที
ปัจจัยที่เ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
นักวิจัยแ
เหมาะส
(11 จาก
5
 Innvae
systemat
รนําผลการ
โดยปกติแล้ว
จัยไปใช้ (fac
ได้ทําการศึก
ว่าสามารถทํ
ภาษณ์ผู้กําหน
ที่เอื้อและปัจจ
เอื้อต่อการนํา
การติดต่อระ
ผลการวิจัยมี
ผลการวิจัยมี
ผลการวิจัยยื
นโยบาย
ผลการวิจัยมี
ชุมชนหรือผู้ใ
ผลการวิจัยมี
ปัจจัยที่เอื้อต
และผู้กําหน
สม (13 จาก 2
24 การศึกษ
r S, Vist G, Tro
tic review. J H
รศึกษาวิจัยไ
(E
ว การนําผลง
cilitating fac
กษาทบทวนอ
างานร่วมกัน
นดนโยบายทั้ง
จัยที่เป็นอุปส
าผลการวิจัยไป
ะหว่างนักวิจัย
มีความสอดคล
มีข้อสรุปและค
ยืนยันและสนับ
มีคุณภาพดี
ใช้มีความต้อง
มีข้อมูลที่มีประ
ต่อการนําผลวิ
ดนโยบาย
24 การศึกษา
ษา)
ommald M, et
ealth Serv Re
ไปสู่การวา
vidence-ba
งานวิจัยไปสู่น
ctor) และปัจ
อย่างมีระบบ
นได้หรือไม่ โด
ั้งหมด 2,041
รรคต่อการนํ
ปใช้ประกอบ
ยและผู้กําหนด
ล้อง (Releva
คําแนะนําที่ชั
ับสนุนนโยบา
งการผลงานวิ
ะสิทธิภาพ
วิจัยไปใช้ ที
(13 จาก
า) รองล
t al. Health po
s Policy 2002;
างนโยบายโ
ased Policy
นโยบายสาธา
จจัยที่เป็นอุป
(systemati
ดยทําการรวบ
ราย เกี่ยวกับ
าผลวิจัยสู่นโ
บด้วย
ดนโยบายเป็น
ance) และตร
ัดเจน
ายที่มีอยู่แล้วห
วิจัย
ที่ได้รับการกล่
24 การศึกษ
งมาได้แก่ ผ
olicy makers’ p
;7:239‐44. 
โดยอ้างอิง
y Making)
ารณะได้นั้นมั
สรรค (frictio
c review)
บรวมการศึกษ
บทัศนคติของ
ยบายสาธารณ
นการส่วนตัว
รงเงื่อนเวลาที่
หรือตรงกับค
าวถึงมากที่สุ
ษา) ความส
ผลการวิจัยสน
perceptions of
หลักฐานเชิ
มักจะมีทั้งปัจจ
on/obstacle
เกี่ยวกับนัก ิ
ษาทั้งหมด 2
งการนําผลกา
ณะจํานวนมา
ที่เหมาะสม (T
วามสนใจขอ
สุด คือ กา
สอดคล้อง
นับสนุนแนว
f their use of 
11 | P a
ชิงประจักษ์
จัยที่เอื้อต่อกา
) Innvaer
วิจัยและผู้กํา
24 การศึกษ
ารวิจัยไปใช้ พ
ากมาย
Timeliness)
งผู้กําหนด
ารติดต่อระห
และเงื่อนเว
วนโยบายที่มี
evidence: a 
a g e
ษ์
ารนํา
และ
าหนด
ษาที่มี
พบว่า
โดย
หว่าง
วลาที่
มีอยู่
กําหนดน
ผลการวิ
สอดคล้อ
อยู่แล้ว
การนําผ
ผลิตผลง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
6
 Nutley 
Available
2010. 
นอกจากนี้
นโยบายและก
จัยไปใช้มีคว
อง ตรงกับเงื่
อย่างไรก็ดี N
ลการวิจัยไปใ
งานวิจัยที่มีคุณ
ผู้กําหนดนโย
ผู้เชี่ยวชาญแ
ผู้ร่วมวิจัยเป็น
ผลการวิจัยมี
ผลการวิจัยนํ
ผลักดันให้ข้อ
จัดให้มีการส
จัดส่งผลการ
ภายนอกได้ป
เผยแพร่ข้อมู
กระตุ้นให้เกิด
สถิติ นักเศรษ
มีการจัดสรร
จัดเจ้าหน้าที่
เชื่อมโยงแผน
สรรหานักวิจั
ผึกอบรมให้เจ
S, Davies H, W
e online at htt
Nutley และ
การปฏิบัติ
ามสอดคล้อง
อนเวลาที่เหม
Nutley และค
ใช้ ทั้งด้านน
ณภาพดังนี้
ยบายมีความ
และใช้ปฏิบัติไ
นผู้ร่วมผลิตห
มีข้อมูลที่สามา
นําไปสู่การปฏิ
อมูลเชิงประจั
สนับสนุนด้าน
รวิเคราะห์ของ
ประเมิน
ลให้สาธารณ
ดความร่วมมื
ษฐศาสตร์
ความร่วมมือ
ตรวจสอบภา
นการวิจัยและ
ัยจากภายนอ
จ้าหน้าที่ใช้ห
Walter I. Evide
p://www.evid
ะคณะ 6
ได้
โดยสกัดบทเ ี
งกับการศึกษ
มาะสม และผ
ณะได้เสนอปั
นโยบาย ก
เชื่อว่าหลักฐา
ได้จริง
หลักฐานข้อมูล
ารถนําไปสู่กา
ฏิบัติและสามา
จักษ์ด้านนโยบ
นหลักฐานเชิงป
งรัฐ เช่น รูปแ
ณชนได้รับรู้เพื่
อระหว่างผู้ที่อ
อระหว่างผู้กําห
ายในในกระบ
ะพัฒนากับแผ
อกมาร่วมงาน
หลักฐานเชิงป
ence based po
dencenetwork
้ทําการศึกษา
เรียนจากประ
าของ Innvae
ผลการวิจัยมีข้
ปัจจัยอื่นๆ เพิ่
ารใช้หลักฐาน
านจากการวิจ
ลที่น่าเชื่อถือ
ารปฏิบัติอย่า
ารถยกเลิกกา
บายได้รับการ
ประจักษ์จาก
บบการคาดป
อให้เกิดการผ
อยู่ในกระบวน
หนดนโยบาย
บวนการกําหน
ผนการดําเนิน
นในฐานะคู่คว
ระจักษ์
olicy and pract
k.org/Docume
าประเด็นการ
ะเทศอังกฤษ
er และคณะ
ข้อสรุปที่สนับ
มเติมจากกา
นเชิงประจักษ
จัยเป็นสิ่งสําค
างจริงจัง
ารปฏิบัติได้โด
รตีพิมพ์
กหน่วยงาน
ประมาณการใ
ผลักดันสู่นโยบ
นการผลิตผล
ยและผู้ตรวจส
นดนโยบายทุก
นงานขององค
วามร่วมมือม
tice: cross sec
ents/wp9b.pd
ใช้หลักฐานเชิ
พบว่าปัจจั
โดยพบว่ากา
บสนุนความคิ
รศึกษาต่างๆ
ษ์และกระบวน
คัญในการถ่วง
ดยไม่เกิดควา
ในอนาคต ให้
บาย
ลงานวิจัย ได้แ
สอบภายใน
กระดับ
ค์กร
ากกว่าเป็นกา
ctors lessons f
df. Accessed o
12 | P a
ชิงประจักษ์ใน
ัยที่มีผลต่อกา
ารวิจัยต้องมีค
ดหรือนโยบา
ๆ ที่มีน่าจะมีผ
นการที่นําไปส
งดุลกับ
ามเสียหาย
ห้กับผู้เชี่ยวชา
แก่ นักวิจัย นั
ารจ้างงาน
from the UK. 
n 2nd Novem
a g e
นการ
ารนํา
ความ
ายที่มี
ผลต่อ
สู่การ
าญ
ัก
ber, 
13 | P a g e
สําหรับปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการนําผลการวิจัยไปใช้ นอกจากจะเกิดจากความล้มเหลวของ
การดําเนินการวิจัยแล้ว Innvaer และคณะได้สรุปปัญหาด้านความสัมพันธ์และปัญหาทางการเมือง
ดังนี้
1. ขาดความสัมพันธ์ส่วนบุคคลระหว่างผู้กําหนดนโยบายกับนักวิจัย
2. ผลการวิจัยไม่สอดคล้องและมีปัญหาเรื่องเงือนเวลา
3. นักวิจัยและผู้กําหนดนโยบายไม่เชื่อใจซึ่งกันและกัน
4. ปัญหาด้านอํานาจและงบประมาณ
5. ผลการวิจัยมีคุณภาพตํ่า
6. ปัญหาความมั่นคงทางการเมืองหรือมีการเปลี่ยนขั้วทางการเมือง
ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคที่สําคัญได้แก่ การขาดการติดต่อสื่อสารระหว่างนักวิจัยและผู้กําหนด
นโยบาย (11 จาก 24 การศึกษา) รองลงมาเป็นผลการวิจัยไม่สอดคล้องและปัญหาเรื่องเงื่อนเวลา
(9 จาก 24 การศึกษา) และการที่ทั้งสองฝ่ายไม่เชื่อใจกัน (8 จาก 24 การศึกษา)
ในปีค.ศ. 2004 Cable 7
ได้สรุปปัจจัยที่จํากัดความสามารถในการตัดสินใจใช้หลักฐานเชิง
ประจักษ์เป็น 5’S ได้แก่ speed, superficiality, spin, secrecy และ scientific ignorance เนื่องจาก
ผู้กําหนดนโยบายต้องการการตัดสินใจที่รวดเร็ว รวบรัด มีความเป็นส่วนตัว และไม่ชอบข้อมูลทาง
วิทยาศาสตร์ ในขณะที่ในปีค.ศ. 2004 Davies8
แสดงให้เห็นว่าการให้ผู้กําหนดนโยบายใช้หลักฐาน
เชิงประจักษ์มากกว่าการตัดสินใจโดยใช้ความคิดเห็นเป็นฐาน ทําให้เกิดแรงกดดันและกินเวลานาน
นอกจากนี้ยังแสดงปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้กําหนดนโยบายซึ่งได้แก่ หลักฐานเชิง
ประจักษ์ ประสบการณ์ การตัดสินใจ ทรัพยากร คุณค่าของผลงาน ลักษณะนิสัยและวัฒนธรรม
นายหน้าหรือกลุ่มผู้มีอิทธิพล การปฏิบัติและความเป็นไปได้
7
 Cable V. Evidence and UK politics. Available online at: 
http://www.odi.org.uk/Rapid/Meetings/Evidence/Presentation_3/Cable.html Accessed on 2nd 
November, 2010. 
8
 Davies P. Is evidence‐based government possible? Available online at: 
http://www.policyhub.gov.uk/home/jerryleelecture1202041.pdf Accessed on 2nd November 2010. 
14 | P a g e
จากปัญหาและอุปสรรคดังกล่าวได้มีทฤษฎีมากมายที่ทําการอธิบายช่องว่างระหว่างผู้ผลิต
ผลงานวิจัยและผู้ใช้ผลงานวิจัยว่าเกิดจากกลุ่มเหล่านี้มีลักษณะอุปนิสัยและการดําเนินงานที่แตกต่าง
กัน มีเป้ าประสงค์ต่อตนเองและการแก้ปัญหาระดับชาติที่ไม่ตรงกัน ทําให้มีปัญหาความเข้าใจในการ
สื่อสาร โดยทฤษฎีนี้เรียกว่า The Two Community theory โดย Caplan ในปีค.ศ. 19799
ทฤษฎี
ดังกล่าวได้รับการต่อยอดโดย Shonkoff ในปีค.ศ. 200010
เป็น The Three Culture theory เนื่องจาก
พบว่ามีผู้ใช้ผลงานวิจัยมีความแตกต่างกัน โดยแบ่งเป็นผู้กําหนดนโยบาย และผู้ปฏิบัติ ซึ่ง
Bogenschneider ในปีค.ศ. 200611
ได้ทําการขยายทฤษฎีดังกล่าวเป็น Elaborated Multi-culture
theory ซึ่งอธิบายลักษณะของผู้ผลิตผลงานวิจัย ผู้กําหนดนโยบายและผู้ปฏิบัติ ในด้านข้อมูล การ
ทํางานและวิธีการเขียนผลงาน โดยนักวิจัยมักตั้งคําถาม สนใจรายละเอียดในหัวข้อที่เฉพาะเจาะจง มี
กระบวนการทํางานที่ระมัดระวังและใช้เวลานาน มีวิธีการนําเสนอผลงานวิจัยเชิงลึก เต็มไปด้วย
ศัพท์เทคนิค ในขณะที่ผู้กําหนดนโยบายสนใจคําตอบที่ส่งเสริมการกําหนดนโยบาย ชอบการทํางานที่
รวดเร็ว ชอบวิธีการนําเสนอที่กระชับเข้าใจง่าย ส่วนผู้ปฏิบัติสนใจการตั้งคําถามเพื่อหาคําตอบ เน้น
กระบวนการดําเนินการที่มีความเป็นไปได้สูงและนําไปใช้ได้เหมาะกับกลุ่มเป้ าหมาย ใช้ภาษาทั้งทาง
เทคนิคบางครั้งเพื่อสื่อสารกับทั้งนักวิจัยและผู้กําหนดนโยบายเทคนิคบางครั้งเพื่อสื่อสารกับทั้งนักวิจัย
9
 Caplan N. The two‐communities theory and knowledge utilization. American Behavioural Scientist 
1979;22(3):459‐70. 
10
 Shonkoff JP. Science, policy, and practice: Three cultures in search of a shared mission. Child 
Development 2000;7(1):181‐7. 
11
 Bogenschneider K, Olson JR, Mills J, Linney KD. How can we connect research with state policymaking? 
Lessons from the Wisconsin Family Impact Seminars. In K. Bogenschneider, Family policy matters: How 
policy making affects families and what professionals can do. 2nd
 ed, Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum. 
2006:245‐76. 
The Two 
Community 
Theory
The Three 
Culture Theory
Elaborated 
Multi‐culture 
Theory
15 | P a g e
จากช่องว่างระหว่างการผลิตองค์ความรู้และการนําผลไปสู้การกําหนดนโยบายสาธารณะ ได้มี
ความพยายามในการลดหรือแก้ไขปัญหาดังกล่าว ดังนี้
1. ตัวแทนส่งต่อความรู้ (Knowledge
brokerage) โดย Choi12
ได้เสนอวิธีการแปรสาร
ที่ได้จากการวิจัยให้เหมาะสมกับผู้ใช้ผลงานโดย
มีคนกลางทําหน้าที่นี้วิธีนี้มีตัวอย่างของการ
ประสบความสําเร็จ ได้แก่ The European Observatory on Health Systems and
Policies13
, Milbank Memorial Fund14
, Health Evidence Network by World Health
Organization15
, Canadian Health Services Research Foundation16
, Canandian
Institute of Health Research (CIHR)17
, World Health Organization (WHO)18
, Cochrane
Collaboration19
, Centre for Knowledge transfer20
, Canadian Coalition for Global
Health Research21
เป็นต้น
12
 Choi BCK, Pang T, Lin V, Puska P, et al. Can scientists and policy makers work together? Evidence Based 
Public Health Policy and Practice. J Epidemiol Community Health 2005;9:632‐7. 
13
 The European Observatory on Health Systems and Policies. 
http://www.euro.who.int/observatory/toppage. Accessed on 2nd November, 2010. 
14
 Gibson M. Drug cost containment. Milbank Memorial Fund. 
http://www.familiesusa.org/site/DocServer/01.23.04_Gibson.ppt?docID=2592 Accessed on 2nd
 
November, 2010. 
15
 World Health Organisation. Regional Office for Europe. Health Evidence Network (HEN). 
http://www.euro.who.int/HEN. Accessed on 2nd November, 2010. 
16
 Canadian Health Service Research Foundation http://www.chsrf.ca/home e.php Accessed on 2nd
 
November, 2010. 
17
 Canadian Institute of Health Research (CIHR) http://www.cihr‐irsc.gc.ca/ Accessed on 2nd
 November, 
2010. 
18
 World Health Organization http://www.who.int/kms/en/  
19
 The Cochrane Collaboration http://www.cochrane.org/index0.htm  
20
 Centre for Knowledge Transfer http://www.ckt.ca/  
21
 Canadian Coalition for Global health Research http://www.ccghr.ca/  
2.
นั้นมีควา
นโยบาย
22
 http:/
การทําการศึ
government
ข้อ
ความเชื่อมโย
ามซับซ้อน จา
นั้น เกิดจากล
//www.defend
ศึกษาวิจัยโด
t22
)
อสรุปของกา
ยงของการนํา
ากการทบทวน
ลักษณะหรือค
dingscience.o
ดยองค์กรรัฐ
ารกําหนดนโ
าผลการศึกษา
นวรรณกรรม
คุณสมบัติขอ
rg/Scientists‐
ที่กําหนดนโ
โยบายโดยใช
าไปใช้ในการ
พบว่าช่องว่า
งผู้วิจัยที่มีคว
in‐Governme
โยบายเอง (D
ช้หลักฐานเชิ
รวางแผนกําห
งระหว่างผู้ผลิ
วามแตกต่างจ
nt‐Project.cfm
Doing the sc
ชิงประจักษ์
หนดนโยบาย
ลิตผลงานวิจั
จากผู้กําหนด
m 
16 | P a
cience withi
และปฏิบัติจริ
ัยกับผู้กําหนด
นโยบาย ดังนี
a g e
n
ริง
ด
นี้
1.
2.
3.
4.
ผลิตผลงาน
รอบคอบและ
ความเป็นจริง
เกินไป
รายงานผลก
ผลิตผลงาน
กําหนดโจทย์
ผลิตผลงาน
วิจัยในสาขา
ถัดมา
นได้ไม่ทันต่อ
ะถูกต้องครบถ
งและตอบคํา
การศึกษาเป็
นวิจัยมีเป้ าป
ย์การวิจัยและ
นวิจัยโดยอ้าง
ที่เชี่ยวชาญห
ลักษณะ
อเงื่อนเวลาที
ถ้วนตามกระ
าถามการวิจัย
ปนเชิงทฤษฎี
เ
ต
ป
ผ้
น
ระสงค์ของก
ะดําเนินการวิจ
งอิงจากหลัก
หรือสนใจ โดย
ะของผู้ผลิต
ที่เหมาะสม เ
บวนการศึกษ
ยได้มากที่สุด
ฎีทําให้นําไป
เนื่องจากผู้ผลิ
ตามหลักการ
ประเด็น แต่ยั
ผู้กําหนดนโย
น่าสนใจและส
การวิจัยชัดเจ
จัยเพื่อตอบคํ
กฐานเชิงประ
ยคํานึงถึงนโย
ตผลงานวิจั
เนื่องจากงาน ิ
ษาวิจัยที่ดี เพื่
ทําให้ผลงาน
ปสู่การปฏิบัติ
ลิตผลงานวิจัย
แม้จะสามาร
ยังต้องการการ
บายเข้าใจเป็
สามารถนําไป
จน เนื่องจาก
คําถามดังกล่า
ะจักษ์และชื่
ยบายหรือปัญ
ัย
นวิจัยเป็นงานที
อให้ได้ผลกา
นที่ได้มักตอบโ
ติได้ยาก
ยเป็นนักวิชาก
รถตอบคําถา
รแปลผลเพื่อก
ปนรูปธรรมมา
ปใช้ได้จริง
กผู้ผลิตผลงาน
าว
อเสียงเป็นห
ญหาของประเท
17 | P a
ที่ละเอียด
รศึกษาที่ตรง
โจทย์แต่ล่าช้า
การ อ้างอิงข้อ
มการวิจัยได้
การปฏิบัติหรื
ากขึ้น จึงจะ
นวิจัยเป็นผู้
หลัก จึงมักทํา
ทศเป็นลําดับ
a g e
ตาม
า
อมูล
ตรง
รือให้
า
บ
18 | P a g e
ลักษณะของผู้กําหนดนโยบาย
1. ได้รับอิทธิพลจากฝ่ายบริหาร ทําให้การตัดสินใจนําผลงานวิจัยมาใช้มีความซับซ้อน
2. ต้องการคําตอบหรือข้อสรุปที่ชัดเจน เพื่อผลักดันนโยบายอย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์
3. ไม่มีข้อสรุปของเป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนในเรื่องที่ต้องการกําหนดนโยบาย
4. นโยบายขึ้นกับอํานาจหน้าที่และงบประมาณที่มี
ผลงานวิ
1.
3.
จากปัญหาดั
จัยดังนี้
The Two Co
ช่องว่างระหว
ผู้ผลิตผลงาน
Elaborated
กล่าวถึงชนิด
ทํางานที่แตก
สําหรับนําไป
นักวิจัยและผู้
ที่กลุ่มวิชาชีพ
เชื่อมโยงหาก
ังกล่าวได้มีท
ommunity T
ว่างความเข้าใ
นวิจัยและผู้ใช้
2. T
ข้อจํากัดท
makers)
ช่องว่างใน
Multi-culture
ดข้อมูลที่ผู้กําห
กต่าง และแน
ปใช้ในการกําห
ผู้กําหนดนโยบ
พประกอบด้ว
กมีหน่วยงาน
ฤษฎีที่พยาย
Theory (Cap
ใจและการสื่อ
ช้ผลงานวิจัย
The Three C
ทางการสื่อสา
และผู้ดําเนิน
นการนําไปสู่ก
e Theory (B
หนดนโยบาย
วทางการเขีย
หนดนโยบาย
4
(Bog
กับก
วางน
บาย หากเป็น
ยนักวิชาการ
ส่วนกลางที่เป็
ามอธิบายช่อ
lan, 1979) ก
อสารระหว่าง
Culture Theo
ารแล้ว ยังแบ่ง
นโยบาย (po
การปฏิบัติที่ชั
ogenschnei
ยต้องการ วัฒ
ยนผลงานวิจัย
ย
4. Commu
genschneid
กลุ่มวิชาชีพที่มี
นโยบายและก
นหน่วยงานขอ
ซึ่งเน้นการผลิ
ป็น Think Ta
องว่างระหว่าง
กล่าวถึง
กลุ่ม
ory (Shonkof
งผู้ใช้งานวิจัย
olicy adminis
ชัดเจนขึ้น
ider, 2006)
ฒนธรรมในกา
ยที่พึงประสงค
nity Dissona
er, 2010) กล
มีความแตกต
การปฏิบัติ โด
องรัฐบาลจะเ
ลิตผลงานวิจัย
ank หรือเป็นผู้
งผู้ผลิตผลงาน
ff, 2000) นอก
ยเป็นผู้กําหนด
strators) ซึ่งแ
ร
ค์
ance Theory
ล่าวถึงวัฒนธ
ต่างกันทางแน
ดยสถาบันปร
เน้นการใช้ผล
ัย ทั้งสองกลุ่ม
ผู้ผลักดันนโยบ
19 | P a
นวิจัยกับผู้ใช้
กเหนือจาก
ดนโยบาย (po
แสดงให้เห็น
y
รรมของสถาบ
นวความคิด ก
ะกอบด้วย
ลงานวิจัย ในข
มอาจมีความ
บาย
a g e
ช้
olicy
บัน
การ
ขณะ
แนวท
1.
2.
3.
4.
ทางการแก้
ผลงานวิจัย
แนวทางกา
ผลงานวิจัย
สามารถนํา
ปฏิบัติได้ใ
มีเป้ าประส
นโยบายได้
ผลงานวิจัย
นโยบายมี
การกําหน
้ปัญหาเพื่อ
ยที่มีต้องทั
ารวิจัยล่วง
ยควรเป็น
าไปใช้ได้ต
ในวงกว้าง
สงค์ของกา
ด้
ยที่ได้ต้องมี
แนวโน้มใช้
ดนโยบาย
อปิดช่องว่า
ันต่อสถาน
หน้ากับผู้ใ
action-orie
ตามที่ผู้ใช้ผ
ารนําผลงาน
มีคุณภาพแ
ช้ข้อมูลที่มี
างระหว่างผู้
นการณ์ โดย
ใช้ผลงานวิจ
ented หรือ
ลงานวิจัยต
นวิจัยไปใช้
และนําไปใช
หลักฐานเชิ
ผู้ผลิตผลงา
ยอาจมีการ
จัยหรือผู้กํา
อเป็นงานวิจั
ต้องการ ใช้
ช้ที่ชัดเจนแ
ช้ได้จริง เนื
ชิงประจักษ์
านวิจัยและ
รประเมินห ื
าหนดนโยบ
จัยเชิงปฏิบั
ช้ภาษาที่เข้
และ/หรือใช้
นื่องจากผู้กํ
ษ์มากขึ้นเพื
20 | P a
ะผู้ใช้งานวิจั
หรือคาดการ
บาย
บัติการ เพื่อ
ข้าใจง่าย นํ
ช้กําหนด
กําหนด
พื่อประกอบ
a g e
จัย
รณ์
อให้
าไป
บใน
1.
2.
3.
แนว
มีผลงานวิจัย
คํานึงถึงนโยบ
และวิธีดําเนิน
เพื่อให้สามา
ผลิตผลงานวิ
กับผู้ที่จะนําผ
นําเสนอผลง
วทางสําหรั
ยที่พร้อมและท
บายในระดับ
นการที่เหมาะ
รถปรับใช้ผลง
วิจัยที่มีคุณค่า
ผลงานไปใช้แ
าน
รับผู้ผลิตผล
เพื่อให้สาม
ทันต่อสถานก
มหภาคหรือร
ะสมกับทรัพย
งานดังกล่าวใ
าและคุณภาพ
และมีการป้ อน
ลงานวิจัยใ
มารถนําไป
การณ์ปัจจุบัน
ระดับประเทศ
ยากรที่มีในกล
ในสภาวะต่าง
พสูง แต่ใช้ภา
นข้อมูลย้อนก
นการผลิต
ปใช้จริง
นอย่างต่อเนื่อ
ศ เน้นการวิจัย
ลุ่มเป้ าหมาย
งๆได้จริง
ษาและการสื
กลับจากผู้ใช้ง
ผลงานวิจัย
อง
ยมุ่งเป้ าที่แสด
มีกลยุทธ์ในก
สื่อสารที่เข้าใจ
งาน เพื่อทําก
21 | P a
ย
ดงวิธีการปฏิบ
การบริหารจัด
จง่าย เหมาะส
ารปรับปรุงวิธี
a g e
บัติ
ดการ
สม
ธีการ
22 | P a g e
ปัจจัยเกื้อหนุนให้เกิดการใช้ผลงานวิจัย
1. Dissemination : นําเสนอหรือเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่ผู้ใช้ผลงานวิจัยระดับในต่างๆอย่าง
เหมาะสม
2. Interaction : พัฒนาความร่วมมือระหว่างผู้ผลิตผลงานวิจัยกับผู้กําหนดนโยบายและผู้ให้ทุน
3. Social influence : คํานึงถึงอิทธิพลจากผู้เชี่ยวชาญและผู้วิจารณ์ โดยให้ข้อมูลการวิจัยและ
ชักจูงให้เห็นคุณค่าของผลงานนั้นๆ
4. Facilitation : จัดให้มีการนําผลงานวิจัยไปใช้ทั้งทางเทคนิค ทางการเงิน ทางองค์กรและการ
สนับสนุนทางจิตใจ
5. Reinforcement : นําวิธีการหลากหลายรวมทั้งการให้รางวัลเพื่อกระตุ้นการปฏิบัติที่เหมาะสม
23 | P a g e
1. จัดหัวข้อการนําผลการวิจัยไปใช้เป็นคําถามการวิจัย เป็นการพัฒนาคําถามการวิจัย
ร่วมกัน โดยมุ่งเน้นวิธีการที่ผู้กําหนดนโยบายใช้หรือไม่ใช้ผลงานวิจัยในกลุ่มประชากร
เป้ าหมาย ค้นหากลยุทธ์การวิจัยที่จะนําไปใช้ในอนาคต ริเริ่มการเสวนาเพื่อเชื่อมโยงระหว่าง
กลุ่มผู้ผลิตผลงานวิจัยและผู้ใช้ผลงานวิจัย ชี้ชวนหน่วยงานใหม่เข้ามาศึกษาการใช้ผลงานวิจัย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการทําวิจัยและพัฒนากลยุทธ์เพื่อสนับสนุนการใช้
ผลการวิจัยสู่การกําหนดนโยบาย
2. เปลี่ยนวัฒนธรรมของผู้ผลิตผลงานวิจัย เป็นการพัฒนานักวิจัยให้ทราบประเด็นคําถาม
ของผู้กําหนดนโยบายสนใจ ตรวจสอบการให้การสนับสนุนการวิจัยมุ่งเป้ าสู่นโยบายของ
สถาบันต่างๆ พัฒนาวิธีการฝึกอบรมและเว็บไซต์สําหรับผู้ที่สนใจผลิตผลงานวิจัยเชิงนโยบาย
และผู้ผลิตผลงานทั่วไป กระตุ้นให้คณะต่างๆในมหาวิทยาลัยผลิตผลงานวิจัยร่วมกับนักศึกษา
และสามารถขอรับทุนจากผู้กําหนดนโยบาย จัดหลักสูตรเน้นการทําวิจัยเพื่อกําหนดนโยบาย
เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ฝีกงานกับผู้กําหนดนโยบาย สนับสนุนการเรียนการสอนที่ผนวก
ความคิดระหว่างการวิจัยเชิงนโยบายและงานวิจัยอื่นๆในวงกว้าง
3. เปลี่ยนวัฒนธรรมของผู้นําผลงานวิจัยไปใช้ โดยมีหน่วยงานกลางที่เพิ่มประสิทธิภาพของ
ผู้กําหนดนโยบายในการเข้าถึงผลงานวิจัยและเกิดความเข้าใจผลการวิจัย พัฒนาวิธีการ
ฝึกอบรมเพื่อช่วยให้ผู้กําหนดนโยบายสามารถสื่อสารกับนักวิจัยได้ มุ่งเน้นการแปลผลการวิจัย
ให้เหมาะสมกับผู้กําหนดนโยบาย ปรับปรุงการเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่ผู้กําหนดนโยบาย และจัด
ให้มีการเสวนาระหว่างผู้กําหนดนโยบายกับนักวิจัยเพื่อกําหนดทิศทางการวิจัยในอนาคต
4. ค้นหาการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบ เปิดโอกาสให้ผู้ผลิตผลงานวิจัยและผู้ใช้
ผลงานวิจัยได้พบปะกันและเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดี จัดเวทีกระตุ้นการสื่อสารระหว่าง
กลุ่มดังกล่าว เพิ่มประสิทธิภาพในการให้การสนับสนุนการวิจัยเชิงนโยบายและการนําไปใช้ทั้ง
ภาครัฐและเอกชน กระตุ้นผู้ให้ทุนให้เปลี่ยนทัศนคติจากการให้การสนับสนุนเฉพาะสิ่งใหม่ๆ
เป็นการให้การสนับสนุนนโยบายที่ต้องใช้ความพยายามกว่าจะเห็นผลตามที่คาดหวัง และให้
การสนับสนุนการกําหนดนโยบายจากหลักฐานเชิงประจักษ์ให้เป็นวาระแห่งชาติ
กลยุทธ์ที่จะทําให้ผู้ผลิตผลงานวิจัยสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ผลงานวิจัยหรือผู้กําหนดนโยบาย
กรณีศึก
แหล่งข้อ
Develop
ผู้นิพนธ์:
ความเป็
ให้บริกา
นั้นรัฐได้
จากนั้นใ
น้อย ก่อ
1992 อี
สุขภาพ
โครงการ
ใหญ่เป็น
โครงการ
กรณีศึ
ไป
กษาที่ 1 : การ
อมูล: Knowle
pment. Bulle
: Viroj T, Suw
ป็นมา
ในรอบกว่าส
รได้ครอบคลุ
ให้สวัสดิการ
ในปีค.ศ. 197
นที่จะขยายสิ
กด้วย สําห
(Voluntary
รดังกล่าวไม่ป
นผู้ที่มีโรคประ
รนี้ต้องล้มเลิก
ศึกษาด้า
ปสู่การปฏ
รวางแผนด้าน
edge-based
etin of the W
wit W, Sangu
องทศวรรษที่
มทุกกลุ่มประ
รักษาพยาบา
75 ได้เริ่มมีก
สิทธิดังกล่าวไ
หรับกลุ่มที่ยังไ
health ca
ประสบความส
ะจําตัวอยู่แล้ว
กไปในที่สุด
านการแ
ฏิบัติในร
นสาธารณสุข
d Changes t
World Health
uan N.
ที่ผ่านมา รัฐ
ะชากร การพั
าลแก่ข้าราชก
ารให้การรักษ
ไปยังกลุ่มผู้สูง
ไม่มีหลักประก
ard) ให้ประ
สําเร็จเนื่องจา
ว ในขณะที
ปรผลกา
ระดับนโ
ขในประเทศไท
o Health Sys
Organizatio
ฐบาลไทยได้พ
พัฒนาดังกล่า
การซึ่งเป็นเจ้า
ษาพยาบาลโด
งอายุ เด็กที่อ
กันด้านสุขภา
ะชาชนได้ซื้อเ
ากปัญหางบป
ที่ผู้ที่ยังมีสุขภ
ารศึกษา
โยบายส
ทย
stems: the T
on, October
พยายามในกา
วเป็นแบบค่อ
าหน้าที่รัฐโดย
ดยไม่คิดค่าใช้
อายุตํ่ากว่า 1
าพ รัฐบาลได้
เพื่อให้ได้สิทธิ
ประมาณ เพ
ภาพดีไม่สนใจ
าวิจัยสุข
าธารณะ
Thai Experie
2004: 82(10
ารพัฒนาระบ
อยเป็นค่อยไป
ยครอบคลุมถึง
ช้จ่ายให้แก่ปร
2 ปี รวมไปถึ
ด้มีการดําเนิน
ธิรักษาพยาบา
ราะประชาชน
จที่จะซื้อบัตร
24 | P a
ภาพ
ะ
ence in Polic
0); 750-56.
บสาธารณสุข
ป โดยในระยะ
งครอบครัว
ระชาชนผู้มีรา
ถึงผู้พิการในปี
นงานโครงการ
าล แต่ปราก
นที่ซื้อบัตรนี้
ดังกล่าว ท
a g e
cy
ขเพื่อ
ะแรก
ายได้
ปค.ศ.
รบัตร
กฏว่า
ส่วน
ทําให้
25 | P a g e
ในปีค.ศ. 1990 ได้มีระบบการประกันสังคมเพื่อครอบคลุมสวัสดิการรักษาพยาบาลให้แก่ผู้ทํา
งานในสถานประกอบการเอกชนต่างๆ โดยมีการร่วมจ่ายกันสามฝ่ายคือ ภาครัฐ สถานประกอบการ
และผู้ประกันตน อย่างไรก็ตามก็ยังพบว่าระบบต่างๆ ที่มีอยู่ ยังไม่สามารถครอบคลุมประชากรทั้ง
ประเทศได้ โดยมีประชากรกว่า 30% ที่ยังไม่มีสิทธิรักษาพยาบาลใดๆ จนกระทั่งในเดือนตุลาคม ปีค.ศ.
2001 รัฐบาลจึงได้มีนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Universal health care coverage: UC)
ให้แก่ประชาชน โดยครอบคลุมกลุ่มผู้มีรายได้น้อย บัตรสุขภาพ และกลุ่มประชาชนอีก 30% ที่ยังไม่มี
สิทธิรักษาพยาบาลใดๆ
อย่างไรก็ตาม ก่อนที่จะมีนโยบายดําเนินการเรื่องหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านั้น ในปีค.ศ.
1991 ได้มีการจัดตั้งสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ซึ่งเป็นองค์กรภายใต้การกํากับของรัฐ และเชื่อมต่อ
กับกระทรวงสาธารณสุขขึ้น โดยมีบทบาทในการทําการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับระบบสาธารณสุขโดยหวัง
จะนําผลการศึกษาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาระบบสาธารณสุขของประเทศ และทําการเตรียมพร้อม
ด้านองค์ความรู้เพื่อพร้อมนําไปใช้ยามที่มีโอกาส
ผลจากการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับระบบสาธารณสุขที่สําคัญ และนํามาใช้เป็นเข็มทิศกําหนดกล
ยุทธ์การปฏิรูประบบสาธารณสุขในด้านสิทธิการรักษาพยาบาลนั้น มีมาจากหลายแหล่ง เช่น ผล
การศึกษาติดตามดัชนีชี้วัดความยากจนของประเทศซึ่งพบว่า ค่าใช้จ่ายในการรักษาทางการแพทย์นั้น
มีผลทําให้ประชาชนอยู่ในระดับที่ยากจนเพิ่มขึ้น 0.65% (เพิ่มจาก 10.87% ไปเป็น 11.52%)
นอกจากนี้ยังมีการศึกษาการใช้จ่ายของครัวเรือนแล้ว พบว่าค่าใช้จ่ายของครัวเรือนสําหรับค่า
รักษาพยาบาลในจํานวนเงินที่สูงกว่า 25% ของรายได้ที่กันไว้สําหรับค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่อาหาร (non-
food consumption) อยู่ในระดับที่สูงประมาณ 4.6% ในปีค.ศ. 1996 และลดลงเหลือ 3.8% ในปี
2000 อันเป็นผลจากระบบการรักษาพยาบาลที่ให้สิทธิแก่ผู้มีรายได้น้อยและบัตรสุขภาพ แต่ก็ยังอยู่ใน
ระดับที่สูง
ข้อมูลสําคัญอีกชิ้นหนึ่งคือภาวะการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของค่าใช้จ่ายภาครัฐสําหรับ
สวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ ตั้งแต่ปีค.ศ. 1988-2002 ทั้งๆ ที่มีการลดขนาดอัตรากําลังของ
ข้าราชการลง (ดังรูป) โดยภาพรวมแล้วพบว่าค่าใช้จ่ายต่อหัวประชากรสําหรับข้าราชการสูงกว่าผู้มี
รายได้น้อยถึง 10 เท่า (4,000 บาทสําหรับข้าราชการ และ 400 บาทสําหรับผู้มีรายได้น้อย)
คุมค่าใช้
รักษาพย
ให้บริกา
การใช้จ่า
รักษาพย
ค่าใช้จ่าย
แห่งชาติ
การตั้งระ
กฎระเบีย
เป็นระบบ
ปรากฏการณ
ช้จ่ายในการรัก
ยาบาลที่เป็นแ
รทางการแพท
ายยาปฏิชีวน
ยาบาลได้ มา
ต่อมาได้เกิดวิ
ยในการรักษา
หรือการจ่า
ะบบการร่วมจ
ยบไม่ได้รับคว
ในขณะเดียว
บที่เหมาจ่าย
ณ์ดังกล่าวเป็น
กษาพยาบาล
แบบ fee-fo
ทย์ที่เกินความ
นะ และยา
กเกินความจํ
วิกฤตการณ์ท
าพยาบาลใน
ยค่าใช้จ่ายส่
จ่ายค่ารักษาพ
วามสนใจในท
วกัน ระบบปร
รายหัว (Cap
นสิ่งตอกยํ้าถึง
ล ประ
or-service น
มจําเป็น สอด
าประเภทอื่นเช
าเป็น
ทางการเงินขอ
รูปแบบต่างๆ
วนเกินสําหรับ
พยาบาล แต
ทางปฏิบัติ
ระกันสังคม ได้
pitation cont
งความไม่เท่า
ะกอบกับว่ามี
นั้นไม่สามาร
ดคล้องกับกา
ช่น ยาลด
องประเทศ ทํ
ๆ เพิ่มเติม
ับการพักรักษ
ต่การดําเนินก
ด้รับการศึกษ
ract model)
าเทียม และค
มีการศึกษาใน
ถคุมค่าใช้จ่า
รสํารวจในปร
ดไขมัน ใน
ทําให้รัฐบาลป
เช่น การไม่ค
ษาตัวในห้องพิ
ารไม่ประสบค
ษาติดตามประ
ที่มีข้อดีคือจ
ความล้มเหลว
นต่างประเทศ
ยได้ และมี
ระเทศไทยใน
นกลุ่มข้าราชก
ประกาศนโยบ
ครอบคลุมยา
พิเศษ เป็นต้น
ความสําเร็จเท
ะเมินผลจากน
ะทําให้โรงพย
26 | P a
วของระบบใน
ศที่พบว่าระบบ
การใช้จ่ายยา
นขณะนั้นที่พบ
การที่มีสิทธิเบิ
บายในการคว
านอกบัญชียา
น นอกจากนี
ท่าที่ควรเนื่อง
นักวิจัย แล้วพ
ยาบาลและแพ
a g e
นการ
บการ
าหรือ
บว่ามี
บิกค่า
บคุม
าหลัก
นี้ยังมี
งจาก
พบว่า
พทย์
27 | P a g e
ต้องระมัดระวังค่าใช้จ่ายในการรักษาไม่ให้เกินจําเป็น และไม่เกินงบที่ได้รับการเหมาจ่ายมา เพื่อเลี่ยง
การขาดทุน แต่อาจมีข้อเสียคือ โอกาสที่จะถูกเบี่ยงเบนจากการบริหารจัดการจนทําให้ให้บริการรักษา
ที่ตํ่ากว่ามาตรฐาน แต่เป็นที่น่าสนใจว่า ผลการศึกษาพบว่าโดยรวมแล้วผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อ
ระบบประกันสังคม โดยมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับได้จากผู้รับบริการ
จากผลการศึกษาต่างๆ ดังกล่าวจึงเป็นที่มาของข้อสรุปโดยทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในระบบ
สาธารณสุขว่า การปฏิรูประบบสวัสดิการรักษาพยาบาลจาก fee-for-service model ไปเป็น
capitation contract model น่าจะทําให้เกิดผลดีของประเทศ
กลยุทธ์การแปรองค์ความรู้สู่การปฏิบัติ
ในช่วงเวลาดังกล่าว มีกลุ่มที่มีบทบาทในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบ
หลักประกันสุขภาพอยู่ 4 กลุ่มใหญ่ๆ กลุ่มแรก คือ กลุ่มนักวิจัยซึ่งช่วยทําการศึกษาวิจัยโดยรวบรวม
องค์ความรู้ และพัฒนาข้อเสนอในการปรับปรุงระบบ กลุ่มที่สอง คือ นักการเมืองซึ่งมีบทบาทในการ
สร้างและตัดสินใจเชิงนโยบาย กลุ่มที่สาม คือ นักปฏิรูประบบซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มข้าราชการหรือ
เจ้าหน้าที่ของรัฐภายในกระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับตัวแทนของกลุ่ม NGO และกลุ่มที่สี่ คือ ภาค
ประชาสังคมที่ประกอบด้วยตัวแทนภาคส่วนต่างๆ ในประเทศซึ่งมีบทบาทในการเคลื่อนไหวกดดัน
นักการเมือง ร่วมกับสื่อสารมวลชนที่มีบทบาทเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้แก่สาธารณะ
กระบวนการปฏิรูปได้เริ่มขึ้นในช่วงเวลาที่กําลังจะมีการเลือกตั้ง โดยมีการแข่งขันกันอย่าง
รุนแรงระหว่างพรรคการเมืองสองขั้ว กลุ่มนักปฏิรูประบบได้พยายามนําเสนอข้อมูลการศึกษาที่มี โดย
เลือกใช้ข้อมูลที่สะท้อนถึงผลดีของการบริหารจัดการภายใต้รัฐบาลชุดเดิม ให้แก่พรรคที่เป็นรัฐบาล
เช่น แนวโน้มการลดลงของค่าใช้จ่ายในครัวเรือนที่จ่ายค่ารักษาพยาบาลเป็นจํานวนเกินกว่า 25% ของ
รายได้ที่กันไว้สําหรับค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่อาหาร พร้อมนําเสนอข้อเสนอแนะเพื่อทําให้ลดลงในอนาคต โดย
อยู่ภายใต้กรอบแนวคิดการปฏิรูประบบสวัสดิการรักษาพยาบาล ในขณะเดียวกันก็นําเสนอข้อมูลองค์
ความรู้ที่มีอยู่ พร้อมนําเสนอแนวคิดการปฏิรูปดังกล่าวให้แก่พรรคการเมืองอีกขั้วหนึ่งเพื่อพิจารณาเป็น
นโยบายในช่วงหาเสียงเลือกตั้งเช่นกัน
ในขณะเดียวกัน สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขก็ได้ทําการศึกษาวิจัยความเป็นไปได้ของ
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และลักษณะการระดมทรัพยากรเข้าสู่ระบบ โดยดําเนินการในช่วง
ระยะเวลา 6 เดือนก่อนจะมีการเลือกตั้ง ผลการศึกษาพบว่าระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านั้นมี
ความเป็นไปได้ในเชิงทรัพยากร จึงได้มีการนําเสนอผลการศึกษาดังกล่าวไปให้แก่พรรคการเมืองทั้ง
สองขั้ว ปรากฏว่าพรรคที่เป็นรัฐบาลเดิมก่อนเลือกตั้งไม่ได้นําไปใช้เป็นนโยบายเพื่อดําเนินการ แต่อีก
พรรคหนึ
นโยบาย
ผลกระท
และต่อร
ครัวเรือน
อาหาร จ
ต่อความ
ความสํา
วิชาการ
นําไปปร
นึ่งซึ่งต่อมาชน
หลัก และผลั
ทบที่เกิดขึ้น
นโยบายหลัก
ระบบสวัสดิกา
นที่จ่ายค่ารักษ
จากเดิม 3.8%
นอกจากนี้ระ
มมั่นคงของสถ
าเร็จในกระบว
ฝ่ายปฏิบัติก
ระยุกต์ใช้วิธีก
นะการเลือกตั้
ักดันจนเป็นผ
กประกันสุขภ
ารรักษาพยาบ
ษาพยาบาลเป็
% ในปี 2000
ะบบดังกล่าวย
ถานภาพทาง
วนการปฏิรูปร
าร ฝ่ายนโยบ
ารดังกล่าวใน
ั้ง ได้นําไปใ
ผลสําเร็จในที่
าพถ้วนหน้า
บาลโดยรวมข
ป็นจํานวนเกิน
ไปเป็น 3% ใ
ยังสามารถเป็
การเงินการค
ระบบสาธารณ
บาย และจาก
นการพัฒนาร
ใช้เป็นนโยบา
สุด
นํามาซึ่งกา
ของประเทศ
นกว่า 25%
ในปี 2002 (ดั
ปนหนึ่งในกลไ
คลังของประเท
ณสุข โดยคว
กประชาสังคม
ระบบสาธารณ
ายหาเสียง แ
ารเปลี่ยนแปล
ดังจะเห็นได้
ของรายได้ที
ังรูป)
ไกที่ช่วยควบค
ทศ
วามร่วมมือขอ
ม อันเป็นแบบ
ณสุขของตนได
และดําเนินกา
ลงในเชิงบวก
จากการลดล
ที่กันไว้สําหรับ
คุมค่าใช้จ่ายภ
รวมถึงการเ
องภาคส่วนต
บอย่างให้ประ
ด้ในอนาคต
28 | P a
ารเป็นหนึ่งใน
ทั้งต่อประช
งของค่าใช้จ่า
บค่าใช้จ่ายที่ไ
ภาครัฐ อันส
เป็นแบบอย่าง
ต่างๆ ทั้งจาก
เทศอื่นๆ สาม
a g e
นสาม
ชาชน
ายใน
ไม่ใช่
ส่งผล
งของ
กฝ่าย
มารถ
29 | P a g e
ปัจจัยแห่งความสําเร็จ
กรณีศึกษาเรื่องการวางแผนด้านสาธารณสุขในประเทศไทยนี้ได้เน้นยํ้าให้ประจักษ์ถึงสัจธรรม
ในสังคมว่าด้วยเรื่ององค์ความรู้เพียงอย่างเดียวอาจไม่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในสังคมได้ หาก
ปราศจากสะพานเชื่อมต่อองค์ความรู้นั้นไปสู่การปฏิบัติ ดังจะเห็นได้ว่ากลุ่มนักปฏิรูป หรือฝ่าย
ปฏิบัติการ ซึ่งประกอบด้วยเจ้าหน้าที่รัฐในกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับตัวแทน NGO เป็นเรี่ยวแรง
สําคัญในการดําเนินบทบาทส่งต่อองค์ความรู้จากการศึกษาวิจัย โดยย่อยสลายหรือหยิบจับส่วนที่
เหมาะสม เพื่อไปนําเสนอต่อผู้ตัดสินใจเชิงนโยบาย คือนักการเมืองในแต่ละพรรค เพื่อนําไปพิจารณา
ผลักดัน ต่อยอดเป็นนโยบายและแผนปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดยต้องให้เกิดความมั่นใจต่อผู้ตัดสินใจ
เชิงนโยบายว่า ข้อมูลเชิงประจักษ์นั้นเชื่อถือได้ เป็นประโยชน์ สามารถเชื่อมต่อและพัฒนาเป็นนโยบาย
ที่ปฏิบัติได้จริง และที่สําคัญคือเป็นที่ยอมรับของสังคม โดยกรณีศึกษานี้ยังได้แสดงให้เห็นถึงบทบาท
ของกลุ่มประชาสังคมและสื่อสารมวลชนที่ถือเป็นอีกแรงหนึ่งในการสื่อสารข้อมูลสู่สาธารณะ ซึ่งทําให้
ประชาชนเป็นอีกแรงหนึ่งที่จะสนับสนุนและผลักดันให้เกิดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าขึ้นใน
สังคม ดังที่ประจักษ์ชัดจากผลการเลือกตั้งที่ประชาชนมีสิทธิในการลงคะแนนเลือกนั่นเอง
โดยสรุปคือ องค์ความรู้ต่างๆ จะมีประโยชน์และนํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงได้ ก็ต่อเมื่อหน้าต่าง
แห่งโอกาสนั้นเปิดกว้างให้สามารถประยุกต์ใช้ได้ การจะทําให้มีโอกาสอาจทําได้หลายวิธี หนึ่งใน
วิธีการเหล่านั้น คือผ่านกระบวนการเคลื่อนไหวผลักดันจากภาคส่วนประชาสังคม และทางการเมือง
อย่างไรก็ตามปัจจัยพื้นฐานแห่งความสําเร็จนั้น ต้องประกอบกันอย่างลงตัว เช่นเดียวกับในกรณีศึกษา
นี้ที่ใช้การสนับสนุนทางการเมืองเป็นเชื้อเพลิงขับเคลื่อนการปฏิรูป ใช้ข้อมูลหรือองค์ความรู้ที่ได้จาก
การศึกษาวิจัยเป็นเสมือนเข็มทิศในการกํากับทิศทาง และใช้การเคลื่อนไหวทางสังคมเป็นเหมือนสาร
กระตุ้นให้เกิดกระบวนการปฏิรูป
กรณีศึก
แหล่งข้อ
2007. h
ผู้นิพนธ์:
ความเป็
บกพร่อง
คุกคามที
38.6 ล้
กระจาย
มากกว่า
นั้นมีควา
ติดเชื้อโด
ระบาดข
ตั้งคณะก
ข้อมูลกา
กลุ่มพนัก
เพศสัมพั
กษาที่ 2 : กา
อมูล: Case
http://www.c
: Center for
ป็นมา
โรคเอดส์
งจากการติดเชื
ที่รุนแรงที่สุดข
านคนทั่วโลก
อยู่แทบทุกพื้น
าสองในสามข
ามชุกของการ
ดยยังมีชีวิตอ
รัฐบาลไท
องโรคเอดส์นั
กรรมการว่าด้
ารระบาดผ่าน
ักงานบริการ
พันธ์ ผู้บริจาค
รป้ องกันโรคเ
Studies in G
cgdev.org/se
Global Deve
ส์ (AIDS: A
ชื้อเอชไอวี (H
ของมวลมนุษ
ก ถึงแม้ว่าคน
้นที่ทั่วโลก แ
ของประชากรท
รติดเชื้อเอชไอ
ยู่กว่า 560,00
ทยได้เริ่มตระ
นั้น เป็นการระ
ด้วยการป้ องกั
นทางระบบเฝ้
(Sex wor
คโลหิต กลุ่มผู้
เอดส์และโรค
Global Healt
ection/initiat
elopment
Acquired I
HIV: Human
ษย์ ในปี 200
นที่ติดเชื้อเอช
แม้แต่ในทวีปเ
ที่ติดเชื้อดังก
อวีเป็นอันดับ
00 คน
ะหนักถึงปัญห
ะบาดในกลุ่ม
กันและแก้ไขปั
าระวังโรค (S
rkers) ผู้ป่ว
เสพยาเสพติ
ติดต่อทางเพ
h: Millions S
tives/_active
mmunodefic
n Immunode
05 ได้มีการคา
ชไอวีส่วนใหญ
เอเชียก็คาดว่
ล่าวอาศัยอยู่
สองของกลุ่ม
หาโรคเอดส์ตั้ง
มผู้เสพยาเสพ
ปัญหาเอดส์แ
Sentinel surv
วยชายที่มาตร
ดที่ใช้เข็มฉีดย
พศสัมพันธ์ในป
Saved. Cente
e/millionssav
ciency Syn
eficiency Vir
าดประมาณว
ญ่จะอยู่ในแถ
ว่ามีผู้ติดเชื้อไป
ยู่ในประเทศอิน
มประเทศในแถ
ั้งแต่ปีค.ศ.
ติดที่ใช้เข็มฉี
ห่งชาติ โด
veillance) ใน
รวจที่สถานพ
ยา
ประเทศไทย
er for Globa
ved/studies/
ndrome) หรื
us) เป็นหนึ่ง
ว่ามีผู้ติดเชื้อเ
บแอฟริกา
ปแล้วกว่า 8
นเดีย สําห
ถบเอเชียแปซิ
1988 โด
ดยา ในระย
ดยเริ่มมีแผนป
นกลุ่มเสี่ยงต่อ
ยาบาลด้วยเ ื
30 | P a
al Developm
รือภาวะภูมิคุ้
ในโรคที่เป็นภ
อชไอวีไปแล้ว
แต่การติดเชื้อ
8.3 ล้านคน
รับในประเทศ
ซิฟิค โดยมี
ยช่วงแรกของ
ะเวลานั้นได้มี
ปฏิบัติการติด
อการติดเชื้อ ไ
เรื่องโรคติดต่อ
a g e
ent,
คุ้มกัน
ภาวะ
วกว่า
อก็ได้
โดย
ศไทย
มีคนที่
งการ
มีการ
ดตาม
ได้แก่
อทาง
31 | P a g e
ในระหว่างปีค.ศ. 1989-90 จากการติดตามข้อมูลพบว่าสัดส่วนของผู้ติดเชื้อเอชไอวีใน
กลุ่มพนักงานบริการได้เพิ่มขึ้นถึงสามเท่า จาก 3.5% ไปเป็น 9.3% และเพิ่มไปเป็น 21.6% ในปี 1991
นอกจากนี้ในช่วงเวลาเดียวกันก็พบว่าความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มทหารเกณฑ์เพิ่มขึ้นถึง 6
เท่า จากเดิม 0.5% ในปี 1988 ไปเป็น 3% ในปี 1991 โดยพบว่าชายหนุ่มจํานวนมากนิยมไปเที่ยว
สถานบริการและมีเพศสัมพันธ์อันเป็นเหตุให้เกิดการติดเชื้อ จากข้อมูลการเฝ้ าระวังโรคเอดส์ดังกล่าว
ทําให้หน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบโดยตรงคือ กระทรวงสาธารณสุข เริ่มหามาตรการควบคุม ป้ องกัน
และแก้ไขปัญหาเอดส์อย่างเร่งด่วน
กลยุทธ์การแปรองค์ความรู้สู่การปฏิบัติ
ในช่วงเวลานั้นได้มีข้าราชการสาธารณสุขหลายท่านเริ่มดําเนินการหากลวิธีในการตอบสนอง
ต่อปัญหาการระบาดของโรคเอดส์ในประเทศไทย หนึ่งในนั้นคือ นายแพทย์วิวัฒน์ โรจนพิทยากร ซึ่ง
ขณะนั้นดํารงตําแหน่งเป็นผู้อํานวยการสํานักงานควบคุมและป้ องกันโรคติดต่อในเขตจังหวัดราชบุรี
ท่านได้มีความเห็นแย้งกับแนวคิดดั้งเดิมที่จะให้หามาตรการป้ องกันไม่ให้ประชาชนไปมีเพศสัมพันธ์กับ
พนักงานบริการ โดยท่านมีเหตุผลว่า “เป็นไปได้ยากที่จะห้ามไม่ให้คนไปมีเพศสัมพันธ์กับพนักงาน
บริการ สิ่งสําคัญที่สุดคือการหาทางให้เขามีเพศสัมพันธ์แบบปลอดภัย” ซึ่งวิธีที่ทําให้มีเพศสัมพันธ์
อย่างปลอดภัยและได้รับการศึกษาวิจัยด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลแล้วคือการใช้ถุงยางอนามัย
นั่นเอง
นพ.วิวัฒน์ทราบดีว่าแนวคิดดังกล่าวจําเป็นต้องได้รับการสนับสนุนเชิงนโยบายจากผู้มีอํานาจ
ในบ้านเมือง (Political leadership) เนื่องจากอาชีพพนักงานบริการ (เดิมเรียก “โสเภณี”) ยังไม่เป็นที่
ยอมรับและผิดกฎหมายในประเทศไทย จึงได้ทําการปรึกษาหารือกับผู้ว่าราชการจังหวัดราชบุรี
จนกระทั่งได้รับการยอมรับว่าการป้ องกันการแพร่ระบาดของโรคเอดส์เป็นสิ่งที่จําเป็นต้องทําเป็นอันดับ
แรก จากนั้นจังหวัดราชบุรีจึงได้เริ่มดําเนินนโยบายรณรงค์ให้มีการใช้ถุงยางอนามัย 100% ในสถาน
บริการทุกแห่งในจังหวัด (“No Condom, No Sex” campaign) ถึงแม้ว่าในระยะแรกของการ
ดําเนินการ จะมีความวิตกกังวลของเจ้าของสถานบริการว่า ส่วนใหญ่แล้วผู้มาใช้บริการจะไม่ชอบใส่
ถุงยางอนามัย ดังนั้นการบังคับใช้ถุงยางอนามัยอาจทําให้ผู้มาใช้บริการไปใช้บริการที่สถานบริการแห่ง
อื่นแทน แต่มาตรการดังกล่าวของจังหวัดราชบุรี ที่บังคับใช้ในสถานบริการทุกแห่งเท่าเทียมกัน ทําให้
ความวิตกกังวลดังกล่าวหมดไป
ในการดําเนินมาตรการรณรงค์ถุงยางอนามัย 100% นั้น เจ้าหน้าที่รัฐ (กระทรวงสาธารณสุข)
จะทําการประชุมร่วมกับเจ้าของสถานบริการ โดยทําการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรคเอดส์ และวิธีการใช้
ถุงยางอนามัยที่ถูกต้อง รวมถึงประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น โดยมีเจ้าหน้าที่ตํารวจช่วยเหลือในการนัดประชุม
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies

Más contenido relacionado

Similar a Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies

Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine Borwornsom Leerapan
 
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28Borwornsom Leerapan
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโปรตอน บรรณารักษ์
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospitalDMS Library
 
หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6Chuchai Sornchumni
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมdomwitlism
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)chorchamp
 
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...Thira Woratanarat
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพThira Woratanarat
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...Pattie Pattie
 

Similar a Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies (20)

Research pathway
Research pathwayResearch pathway
Research pathway
 
Health infor app
Health infor appHealth infor app
Health infor app
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine
 
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
 
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
 
หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
 
NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)
 
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
 
Social Media Proposal
Social Media ProposalSocial Media Proposal
Social Media Proposal
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
 
Research Trends in Health IT
Research Trends in Health ITResearch Trends in Health IT
Research Trends in Health IT
 

Más de Thira Woratanarat

Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyThira Woratanarat
 
อยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิดอยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิดThira Woratanarat
 
Evidence based public health
Evidence based public healthEvidence based public health
Evidence based public healthThira Woratanarat
 
Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)Thira Woratanarat
 
Commed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodCommed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodThira Woratanarat
 
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Thira Woratanarat
 
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์Thira Woratanarat
 
Health literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlHealth literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlThira Woratanarat
 
Health literacy research and future direction
Health literacy research and future directionHealth literacy research and future direction
Health literacy research and future directionThira Woratanarat
 
Primary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandPrimary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandThira Woratanarat
 
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยThira Woratanarat
 
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Thira Woratanarat
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017Thira Woratanarat
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์Thira Woratanarat
 
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017Thira Woratanarat
 

Más de Thira Woratanarat (20)

Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policy
 
อยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิดอยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิด
 
Thailand Covid19 Situation
Thailand Covid19 SituationThailand Covid19 Situation
Thailand Covid19 Situation
 
Evidence based public health
Evidence based public healthEvidence based public health
Evidence based public health
 
Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)
 
Commed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodCommed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's method
 
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
 
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
 
Health literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlHealth literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and control
 
Health literacy research and future direction
Health literacy research and future directionHealth literacy research and future direction
Health literacy research and future direction
 
Primary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandPrimary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: Thailand
 
Health care system 2018
Health care system 2018Health care system 2018
Health care system 2018
 
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
 
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
 
SDG AND Songs
SDG AND SongsSDG AND Songs
SDG AND Songs
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
 
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
 
Commed2 2017
Commed2 2017Commed2 2017
Commed2 2017
 

Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies

  • 1. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาองค์ความรู้ด้านการแปรผลการศึกษาวิจัยสุขภาพ ไปสู่การปฏิบัติในระดับนโยบายสาธารณะ (Review and Synthesis of Health Research Translation: Concept and its Application) Health Research Translation: State-of-the-Art, Case Studies, and Its Application ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์ ธีระวัฒน์ วรธนารัตน์ ธีระ วรธนารัตน์ ส นั บ ส นุ น โ ด ย ส ถ า บั น วิ จั ย ร ะ บ บ ส า ธ า ร ณ สุ ข   องค์ความรู้ กรณีศึกษาด้านการแปรผล การศึกษาวิจัยสุขภาพไปสู่การปฏิบัติระดับ นโยบายสาธารณะ และการประยุกต์ใช้
  • 2. 1 | P a g e องค์ความรู้ กรณีศึกษาด้านการแปรผล การศึกษาวิจัยสุขภาพไปสู่การปฏิบัติ ระดับนโยบายสาธารณะ และการประยุกต์ใช้ โดย : ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์ , ธีระวัฒน์ วรธนารัตน์ , ธีระ วรธนารัตน์ ISBN : 978-974-7533-26-2 พิมพ์ครั้งที่ 1 : 2555 จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย : ธีระ วรธนารัตน์ ภาควิชาเวชศาสตร์ป้ องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ : 0-2252-7864 โทรสาร : 0-2256-4292 เว็บไซด์ : http://www.facebook.com/thiraw E-mail : thiraw@hotmail.com สนับสนุนโดย : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข จัดจําหน่ายโดย : ธีระ วรธนารัตน์ ภาควิชาเวชศาสตร์ป้ องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ราคา 200 บาท
  • 3. 2 | P a g e คํานํา หนังสือเล่มนี้เป็นผลิตผลต่อยอดจากโครงการศึกษาองค์ความรู้ด้านการแปรผลการศึกษา วิจัยสุขภาพไปสู่การปฏิบัติในระดับนโยบายสาธารณะที่ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบ สาธารณสุข โดยหวังจะทําการทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับการนําข้อมูล/องค์ความรู้/ผลการศึกษาวิจัย ไปต่อยอดสู่การปฏิบัติเชิงนโยบาย ทางคณะผู้นิพนธ์ได้ทําการศึกษาโดยอาศัยการทบทวนวรรณกรรม เชิงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อดังกล่าว ร่วมกับการคัดเลือกกรณีศึกษาในประเทศไทย และต่างประเทศ ที่แสดงให้เห็นความสําเร็จในการแปรความรู้สู่การปฏิบัติในรูปแบบนโยบายสาธารณะ โดยกรณีศึกษา ต่างๆ มีทั้งกรณีที่ดําเนินการในระดับประเทศ และในระดับโลก จากการทบทวนกรณีศึกษาต่างๆ ทางคณะผู้นิพนธ์ได้ดําเนินการวิเคราะห์และสังเคราะห์กรอบแนวคิดที่อาศัยปัจจัยแห่งความสําเร็จ จากกรณีศึกษาที่มี โดยหวังจะให้ผู้อ่านสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติตามบริบท ของตนเองได้ในอนาคต สุดท้ายนี้คณะผู้นิพนธ์ขอขอบคุณ นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข ผู้อํานวยการสถาบันวิจัยระบบ สาธารณสุข และทพ.จเร วิชาไทย ผู้จัดการงานวิจัย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ที่กรุณาให้โอกาสใน การดําเนินโครงการวิจัยนี้รวมถึงคําแนะนําที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาโครงการวิจัยตั้งแต่เริ่ม กระบวนการวิจัยจนเสร็จสมบูรณ์ ผศ.ดร.พญ.ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์ ธีระวัฒน์ วรธนารัตน์ นพ.ธีระ วรธนารัตน์ 14 กุมภาพันธ์ 2555
  • 4. ขอขอบค ขอขอบใจ ดําเนิ คุณคุณพ่อคุณ จน้องคีน (เด็ก นินงานวิจัยจน กิตติกร ณแม่ที่ได้กรุณ กชายธีระวัฒน นลุล่วง และให รรมประกาศ ณาถ่ายทอดแ น์ วรธนารัตน์ ห้คําแนะนําใ ศ แนวคิด และป น์) ที่สละเวลา ในการจัดทําห ประสบการณ์ใ อันมีค่าให้พ่อ หน้าปกหนังสือ 3 | P a ให้แก่พวกเรา อแม่ได้สามาร อ a g e า รถ
  • 5. 4 | P a g e สารบัญ หัวข้อ หน้า ความสําคัญของการแปรผลการศึกษาวิจัยสุขภาพไปสู่การปฏิบัติ 5 รูปแบบการสร้างนโยบาย 7 รูปแบบการใช้งานวิจัย 9 การนําผลการศึกษาวิจัยไปสู่การวางนโยบายโดยอ้างอิงหลักฐานเชิงประจักษ์ 11 ลักษณะของผู้ผลิตผลงานวิจัย 17 ลักษณะของผู้กําหนดนโยบาย 18 แนวทางการแก้ปัญหาเพื่อปิดช่องว่างระหว่างผู้ผลิตผลงานวิจัยและผู้ใช้งานวิจัย 19 แนวทางสําหรับผู้ผลิตผลงานวิจัยในการผลิตผลงานวิจัยเพื่อให้สามารถนําไปใช้จริง 21 ปัจจัยเกื้อหนุนให้เกิดการใช้ผลงานวิจัย 22 กลยุทธ์ที่จะทําให้ผู้ผลิตผลงานวิจัยสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ ผลงานวิจัยหรือผู้กําหนดนโยบาย 23 กรณีศึกษา 24 บทวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างกรณีศึกษา 60 สกัดองค์ความรู้สู่นโยบาย 65 ดัชนี 68
  • 6. 5 | P a g e องค์ความรู้และกรณีศึกษาด้านการแปรผลการศึกษาวิจัยสุขภาพ ไปสู่การปฏิบัติในระดับนโยบายสาธารณะ (Health Research Translation: Concept and its Application) ความสําคัญของการแปรผลการศึกษาวิจัยสุขภาพไปสู่การปฏิบัติ : กระแสโลกาภิวัตน์ในรอบสองทศวรรษที่ผ่านมาก่อให้เกิดผลกระทบต่อการพัฒนาของสังคม โลกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังจะเห็นได้จากการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ในประเทศ ทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยี รวมไปถึงระบบสาธารณสุข แต่ละประเทศได้มีการเน้น การลงทุนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของตนเอง เช่น การเพิ่มการศึกษาวิจัยเพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่ สามารถนําไปต่อยอดในเชิงพาณิชย์ ในขณะเดียวกันก็มีแนวคิดที่จะหาทางขยายผลไปสู่การปฏิบัติ ผ่านกลไกการพัฒนาในระดับนโยบายทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลก เพื่อให้ ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน และประชาคมโลกไปพร้อมกัน เป็นที่น่าสังเกตว่าการลงทุนในการศึกษาวิจัยด้านสุขภาพตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีความ หลากหลาย ผลผลิตและผลลัพธ์ที่ได้จากงานวิจัยต่างๆ นั้น บ้างก็ได้รับการรวบรวมในระดับสถาบัน ณ แหล่งทุน สถาบันการศึกษา หรือที่อื่นๆ อย่างกระจัดกระจาย และไม่สามารถนํามาใช้ประโยชน์ได้อย่าง เต็มที่หรือทันเหตุการณ์ จนกระทั่งเมื่อเร็วๆ นี้ได้มีการริเริ่มของแหล่งทุนต่างๆ ในการเก็บรวบรวม ฐานข้อมูลการศึกษาวิจัยเข้าด้วยกัน 1 อย่างไรก็ตามคงต้องใช้เวลาในการพัฒนาและบูรณาการ ฐานข้อมูลเหล่านั้นเข้าด้วยกันอย่างสมบูรณ์ ในขณะเดียวกัน ช่องว่างของการแปรองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยสู่การปฏิบัติระดับ สาธารณะนั้น ยังคงเป็นคําถามสําคัญของประเทศ และสังคมโลก 2 เพื่อจะไขข้อข้องใจที่ว่า เหตุใด ผลงานศึกษาวิจัยบางชิ้นจึงสามารถนําไปต่อยอดปฏิบัติในระดับสาธารณะ ทั้งระดับประเทศ ระดับ ภูมิภาค และระดับโลกได้ แต่ผลงานศึกษาวิจัยอีกจํานวนมากที่ทําเสร็จแล้วก็ได้รับการเปรียบเปรยว่า ถูกนําไปแขวนไว้บนหิ้ง ซึ่งบางส่วนคงเป็นเหตุผลในเชิงคุณภาพของผลงาน แต่บางส่วนที่มีคุณภาพดี แต่ยังไม่ได้รับการนําไปปฏิบัติได้อย่างแท้จริง 1  http://nstda.or.th/index.php/news/1483-thai‐research‐center Accessed on 2nd November 2010  2  http://www.ncbi.nlm.nih.gov/bookshelf/br.fcgi?book=nap12558&part=conclusion Accessed on 2nd      November 2010
  • 7. 6 | P a g e โครงการศึกษาองค์ความรู้และกรณีศึกษาด้านการแปรผลการศึกษาวิจัยสุขภาพไปสู่การ ปฏิบัติในระดับนโยบายสาธารณะ จึงได้รับการพัฒนาขึ้น เพื่อทําการเปรียบเทียบบทเรียนใน ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ โดยหวังให้ผลผลิตจากการศึกษานี้เป็นองค์ความรู้และทําหน้าที่ เป็นหนึ่งในเครื่องมือที่จะช่วยให้เกิดความเข้าใจและนําไปสู่การพัฒนานโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ ที่มีประสิทธิภาพ มีความเหมาะสมและทันเหตุการณ์ได้ในอนาคต
  • 8. ค.ศ. 200 Making นโยบาย แบบได้แ 1. 2. 3  Hanney assessme รู ในทางปฏิบัติ 02 Hanney โดยทํา สาธารณะ แก่ Rational m จัดการกับปัญ Incrementa ยอดให้ดียิ่งขึ้ ช่วยในการส ้ สนใจของผู้ที่ ได้ส่วนเสียภ y et al. The ut ent. Health Re รูปแบบการ ติแล้ว รูปแบ และคณะ3 ได าการวิเคราะห์ และได้นําเสน model : ญหาหรือตอบ alists mode ขึ้น โดยอาศัยห ร้างหรือตัดสิน ที่เกี่ยวข้อง คุณ ายในองค์กร ilisation of he esearch Policy รสร้างนโย บบในการสร้า ด้ทําการศึกษ ห์ปัจจัยที่มีผล นอผลสรุปว่า เป็นรูป ต้องการ เพื่อหาแ จากวิธีก บสนองต่อโจท el : เ ชั ม น หลายปัจจัยที นใจเชิงนโยบ ณค่าของนโยบ และความคา ealth research y and Systems บาย (Polic างนโยบายมีรู ษาเรื่อง The U ลต่อการนําผล ด้วยเรื่องรูปแ แบบที่ผู้กําหน รแก้ไข จากนั้น แนวทางแก้ปัญ การแก้ปัญหา ทย์ที่ตั้งไว้ตอน ป็นรูปแบบที่ ชัดเจน แต่การ มาช่วยในการ นโยบายที่มีอยู ที่มาเกี่ยวข้อง บาย เช่น คุณล บายต่อผู้มีส่ว าดหวังส่วนบุ  in policy‐mak s 2002;1:2.  cy making รปแบบในการ Utilisation of ลการศึกษาวิจ แบบการสร้าง นดนโยบายเป็ ั้นจัดให้มีการ ญหาที่เป็นไป าแต่ละวิธี แล นต้น ผู้กําหนดนโย รสร้างนโยบา กําหนดนโยบ ยู่เดิมในระบบ งเกื้อหนุนแบบ ลักษณะของอ วนได้ส่วนเสีย คคล king: concepts models) รดําเนินการห f Health Res จัยไปใช้ในกร นโยบายเหล่า ป็นผู้ตั้งโจทย์ห รทบทวนข้อมูล ปได้ทั้งหมด ร ะเลือกวิธีที่ดีท ยบายไม่ได้กํา ยและการใช้อ บายนั้น อาศัย บนั้นๆ และทํา บปะติดปะต่อ องค์ความรู้ต่า ย ลักษณะตําแ s, examples a 7 | P a หลากหลาย search in P ระบวนการกํา านั้น ทั้งหม หรือปัญหาที่ ลที่มีอยู่ในระ วมทั้งผลกระ ที่สุดในการ หนดเป้ าหมา องค์ความรู้เพื ยการต่อยอดจ าการพัฒนาต่ อหรือต่อยอด างๆ ที่มีอยู่ ค แหน่งของผู้มี nd methods o a g e ในปี olicy าหนด ด 4 บบ ะทบ ายที่ พื่อ จาก ต่อ เพื่อ วาม ส่วน of 
  • 9. 3. 4. วัตถุประ ปฏิบัติ โ อื่นๆ Network m Garbage c อย่างไรก็ดี ข ะสงค์แอบแฝง โดยพบว่าในชี model : can model: ขั้นตอนการนํ ง นโยบายที่ ชีวิตจริงนั้น ขั้ : าองค์ความรู้ส ที่เตรียมการไว้ ขั้นตอนการดํา เป็นรูปแบ ระหว่างก เช่น กลุ่มน ประสิทธิภ ใช้รู ไม่เป็ สู่การปฏิบัติแ ว้แล้วและวิธีก าเนินการส่วน บบที่มีการเริ่ม ลุ่มผู้กําหนดน นักวิชาการหรื ภาพในการสร้ รปแบบที่ทําก ป็นระบบ ไม่มี และการตัดสิน การดําเนินกา นมากจะใช้วิธี ต้นด้วยการห นโยบายและบ รือนักวิจัย เพื่ ร้างและตัดสิน ารตัดสินใจส ้ มีขั้นตอนที่ชัด นใจนําผลการ รถือเป็นตัวแป ธี Rational m 8 | P a หากลวิธีเชื่อม บุคคลภายนอ พื่อเพิ่ม นใจเชิงนโยบ ร้างนโยบายอ ดเจน รวิจัยไปใช้แม้ ปรที่สําคัญใน model มากกว a g e มโยง อก าย อย่าง ม้จะมี นทาง ว่าวิธี
  • 10. แนวทาง สาธารณ 1. 2. 4  Weiss C รูป รูปแบบการใ ที่เป็นประโยช ณะ รูปแบบการใ Knowledge Problem-s CH. The many ปแบบการใ ใช้งานวิจัยได้รั ชน์ต่อการนํา ใช้งานวิจัยมีท e-driven/Cl solving/Poli y meanings of  ใช้งานวิจัย รับการทบทว ผลการวิจัยด้ ทฤษฎีกล่าวถึง lassic/Puris cy-driven/E research utili (Research นโดย Weiss ้าน social งดังนี้ st model : การท ปฏิบั Engineerin ผู้ใช้ผล เป็นผู้ด zation. Public h utilization s และคณะ science ทําวิจัยก่อให้ บัติ (ภาคบังคับ g model : ลงานวิจัยเป็น ดําเนินการวิจั c Administratio n models) ในปีค.ศ.197 ไปใช้ในกา เกิดองค์ความ ับ) นผู้กําหนดปัญ ัยเพื่อประเมิน on Review 19 9 | P a 794 เขาได้นําเ ารกําหนดนโย มรู้ที่นําไปสู่กา ญหาให้นักวิจั นและหาวิธีแก 79;39(5):426‐ a g e เสนอ ยบาย าร ัย ก้ไข ‐31. 
  • 11. 3. 4. 5. Interactive Enlightenm Political m e/Social inte ment/Perco model : eraction m olation/Lime เป็นการน model : เป็นกา ผลงาน ิ ต้องกา estone mo เป็นรูปแบบ สามารถใช้ผ นําผลการศึก รประสานกัน นวิจัยเพื่อแลก รของทั้งสองฝ odel : บที่เสาะหาวิธีก ผลการวิจัย ษามาเป็นเค ื นระหว่างนักวิ เปลี่ยนทัศนค ฝ่าย การที่หลากห รื่องมือในการ 10 | P a จัยและผู้ใช้ คติและความ หลายเพื่อให้ รกําหนดนโยบ a g e บาย
  • 12. การ ผลการวิ คณะ 5 นโยบาย การสัมภ มีปัจจัยที ปัจจัยที่เ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. นักวิจัยแ เหมาะส (11 จาก 5  Innvae systemat รนําผลการ โดยปกติแล้ว จัยไปใช้ (fac ได้ทําการศึก ว่าสามารถทํ ภาษณ์ผู้กําหน ที่เอื้อและปัจจ เอื้อต่อการนํา การติดต่อระ ผลการวิจัยมี ผลการวิจัยมี ผลการวิจัยยื นโยบาย ผลการวิจัยมี ชุมชนหรือผู้ใ ผลการวิจัยมี ปัจจัยที่เอื้อต และผู้กําหน สม (13 จาก 2 24 การศึกษ r S, Vist G, Tro tic review. J H รศึกษาวิจัยไ (E ว การนําผลง cilitating fac กษาทบทวนอ างานร่วมกัน นดนโยบายทั้ง จัยที่เป็นอุปส าผลการวิจัยไป ะหว่างนักวิจัย มีความสอดคล มีข้อสรุปและค ยืนยันและสนับ มีคุณภาพดี ใช้มีความต้อง มีข้อมูลที่มีประ ต่อการนําผลวิ ดนโยบาย 24 การศึกษา ษา) ommald M, et ealth Serv Re ไปสู่การวา vidence-ba งานวิจัยไปสู่น ctor) และปัจ อย่างมีระบบ นได้หรือไม่ โด ั้งหมด 2,041 รรคต่อการนํ ปใช้ประกอบ ยและผู้กําหนด ล้อง (Releva คําแนะนําที่ชั ับสนุนนโยบา งการผลงานวิ ะสิทธิภาพ วิจัยไปใช้ ที (13 จาก า) รองล t al. Health po s Policy 2002; างนโยบายโ ased Policy นโยบายสาธา จจัยที่เป็นอุป (systemati ดยทําการรวบ ราย เกี่ยวกับ าผลวิจัยสู่นโ บด้วย ดนโยบายเป็น ance) และตร ัดเจน ายที่มีอยู่แล้วห วิจัย ที่ได้รับการกล่ 24 การศึกษ งมาได้แก่ ผ olicy makers’ p ;7:239‐44.  โดยอ้างอิง y Making) ารณะได้นั้นมั สรรค (frictio c review) บรวมการศึกษ บทัศนคติของ ยบายสาธารณ นการส่วนตัว รงเงื่อนเวลาที่ หรือตรงกับค าวถึงมากที่สุ ษา) ความส ผลการวิจัยสน perceptions of หลักฐานเชิ มักจะมีทั้งปัจจ on/obstacle เกี่ยวกับนัก ิ ษาทั้งหมด 2 งการนําผลกา ณะจํานวนมา ที่เหมาะสม (T วามสนใจขอ สุด คือ กา สอดคล้อง นับสนุนแนว f their use of  11 | P a ชิงประจักษ์ จัยที่เอื้อต่อกา ) Innvaer วิจัยและผู้กํา 24 การศึกษ ารวิจัยไปใช้ พ ากมาย Timeliness) งผู้กําหนด ารติดต่อระห และเงื่อนเว วนโยบายที่มี evidence: a  a g e ษ์ ารนํา และ าหนด ษาที่มี พบว่า โดย หว่าง วลาที่ มีอยู่
  • 13. กําหนดน ผลการวิ สอดคล้อ อยู่แล้ว การนําผ ผลิตผลง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 6  Nutley  Available 2010.  นอกจากนี้ นโยบายและก จัยไปใช้มีคว อง ตรงกับเงื่ อย่างไรก็ดี N ลการวิจัยไปใ งานวิจัยที่มีคุณ ผู้กําหนดนโย ผู้เชี่ยวชาญแ ผู้ร่วมวิจัยเป็น ผลการวิจัยมี ผลการวิจัยนํ ผลักดันให้ข้อ จัดให้มีการส จัดส่งผลการ ภายนอกได้ป เผยแพร่ข้อมู กระตุ้นให้เกิด สถิติ นักเศรษ มีการจัดสรร จัดเจ้าหน้าที่ เชื่อมโยงแผน สรรหานักวิจั ผึกอบรมให้เจ S, Davies H, W e online at htt Nutley และ การปฏิบัติ ามสอดคล้อง อนเวลาที่เหม Nutley และค ใช้ ทั้งด้านน ณภาพดังนี้ ยบายมีความ และใช้ปฏิบัติไ นผู้ร่วมผลิตห มีข้อมูลที่สามา นําไปสู่การปฏิ อมูลเชิงประจั สนับสนุนด้าน รวิเคราะห์ของ ประเมิน ลให้สาธารณ ดความร่วมมื ษฐศาสตร์ ความร่วมมือ ตรวจสอบภา นการวิจัยและ ัยจากภายนอ จ้าหน้าที่ใช้ห Walter I. Evide p://www.evid ะคณะ 6 ได้ โดยสกัดบทเ ี งกับการศึกษ มาะสม และผ ณะได้เสนอปั นโยบาย ก เชื่อว่าหลักฐา ได้จริง หลักฐานข้อมูล ารถนําไปสู่กา ฏิบัติและสามา จักษ์ด้านนโยบ นหลักฐานเชิงป งรัฐ เช่น รูปแ ณชนได้รับรู้เพื่ อระหว่างผู้ที่อ อระหว่างผู้กําห ายในในกระบ ะพัฒนากับแผ อกมาร่วมงาน หลักฐานเชิงป ence based po dencenetwork ้ทําการศึกษา เรียนจากประ าของ Innvae ผลการวิจัยมีข้ ปัจจัยอื่นๆ เพิ่ ารใช้หลักฐาน านจากการวิจ ลที่น่าเชื่อถือ ารปฏิบัติอย่า ารถยกเลิกกา บายได้รับการ ประจักษ์จาก บบการคาดป อให้เกิดการผ อยู่ในกระบวน หนดนโยบาย บวนการกําหน ผนการดําเนิน นในฐานะคู่คว ระจักษ์ olicy and pract k.org/Docume าประเด็นการ ะเทศอังกฤษ er และคณะ ข้อสรุปที่สนับ มเติมจากกา นเชิงประจักษ จัยเป็นสิ่งสําค างจริงจัง ารปฏิบัติได้โด รตีพิมพ์ กหน่วยงาน ประมาณการใ ผลักดันสู่นโยบ นการผลิตผล ยและผู้ตรวจส นดนโยบายทุก นงานขององค วามร่วมมือม tice: cross sec ents/wp9b.pd ใช้หลักฐานเชิ พบว่าปัจจั โดยพบว่ากา บสนุนความคิ รศึกษาต่างๆ ษ์และกระบวน คัญในการถ่วง ดยไม่เกิดควา ในอนาคต ให้ บาย ลงานวิจัย ได้แ สอบภายใน กระดับ ค์กร ากกว่าเป็นกา ctors lessons f df. Accessed o 12 | P a ชิงประจักษ์ใน ัยที่มีผลต่อกา ารวิจัยต้องมีค ดหรือนโยบา ๆ ที่มีน่าจะมีผ นการที่นําไปส งดุลกับ ามเสียหาย ห้กับผู้เชี่ยวชา แก่ นักวิจัย นั ารจ้างงาน from the UK.  n 2nd Novem a g e นการ ารนํา ความ ายที่มี ผลต่อ สู่การ าญ ัก ber, 
  • 14. 13 | P a g e สําหรับปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการนําผลการวิจัยไปใช้ นอกจากจะเกิดจากความล้มเหลวของ การดําเนินการวิจัยแล้ว Innvaer และคณะได้สรุปปัญหาด้านความสัมพันธ์และปัญหาทางการเมือง ดังนี้ 1. ขาดความสัมพันธ์ส่วนบุคคลระหว่างผู้กําหนดนโยบายกับนักวิจัย 2. ผลการวิจัยไม่สอดคล้องและมีปัญหาเรื่องเงือนเวลา 3. นักวิจัยและผู้กําหนดนโยบายไม่เชื่อใจซึ่งกันและกัน 4. ปัญหาด้านอํานาจและงบประมาณ 5. ผลการวิจัยมีคุณภาพตํ่า 6. ปัญหาความมั่นคงทางการเมืองหรือมีการเปลี่ยนขั้วทางการเมือง ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคที่สําคัญได้แก่ การขาดการติดต่อสื่อสารระหว่างนักวิจัยและผู้กําหนด นโยบาย (11 จาก 24 การศึกษา) รองลงมาเป็นผลการวิจัยไม่สอดคล้องและปัญหาเรื่องเงื่อนเวลา (9 จาก 24 การศึกษา) และการที่ทั้งสองฝ่ายไม่เชื่อใจกัน (8 จาก 24 การศึกษา) ในปีค.ศ. 2004 Cable 7 ได้สรุปปัจจัยที่จํากัดความสามารถในการตัดสินใจใช้หลักฐานเชิง ประจักษ์เป็น 5’S ได้แก่ speed, superficiality, spin, secrecy และ scientific ignorance เนื่องจาก ผู้กําหนดนโยบายต้องการการตัดสินใจที่รวดเร็ว รวบรัด มีความเป็นส่วนตัว และไม่ชอบข้อมูลทาง วิทยาศาสตร์ ในขณะที่ในปีค.ศ. 2004 Davies8 แสดงให้เห็นว่าการให้ผู้กําหนดนโยบายใช้หลักฐาน เชิงประจักษ์มากกว่าการตัดสินใจโดยใช้ความคิดเห็นเป็นฐาน ทําให้เกิดแรงกดดันและกินเวลานาน นอกจากนี้ยังแสดงปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้กําหนดนโยบายซึ่งได้แก่ หลักฐานเชิง ประจักษ์ ประสบการณ์ การตัดสินใจ ทรัพยากร คุณค่าของผลงาน ลักษณะนิสัยและวัฒนธรรม นายหน้าหรือกลุ่มผู้มีอิทธิพล การปฏิบัติและความเป็นไปได้ 7  Cable V. Evidence and UK politics. Available online at:  http://www.odi.org.uk/Rapid/Meetings/Evidence/Presentation_3/Cable.html Accessed on 2nd  November, 2010.  8  Davies P. Is evidence‐based government possible? Available online at:  http://www.policyhub.gov.uk/home/jerryleelecture1202041.pdf Accessed on 2nd November 2010. 
  • 15. 14 | P a g e จากปัญหาและอุปสรรคดังกล่าวได้มีทฤษฎีมากมายที่ทําการอธิบายช่องว่างระหว่างผู้ผลิต ผลงานวิจัยและผู้ใช้ผลงานวิจัยว่าเกิดจากกลุ่มเหล่านี้มีลักษณะอุปนิสัยและการดําเนินงานที่แตกต่าง กัน มีเป้ าประสงค์ต่อตนเองและการแก้ปัญหาระดับชาติที่ไม่ตรงกัน ทําให้มีปัญหาความเข้าใจในการ สื่อสาร โดยทฤษฎีนี้เรียกว่า The Two Community theory โดย Caplan ในปีค.ศ. 19799 ทฤษฎี ดังกล่าวได้รับการต่อยอดโดย Shonkoff ในปีค.ศ. 200010 เป็น The Three Culture theory เนื่องจาก พบว่ามีผู้ใช้ผลงานวิจัยมีความแตกต่างกัน โดยแบ่งเป็นผู้กําหนดนโยบาย และผู้ปฏิบัติ ซึ่ง Bogenschneider ในปีค.ศ. 200611 ได้ทําการขยายทฤษฎีดังกล่าวเป็น Elaborated Multi-culture theory ซึ่งอธิบายลักษณะของผู้ผลิตผลงานวิจัย ผู้กําหนดนโยบายและผู้ปฏิบัติ ในด้านข้อมูล การ ทํางานและวิธีการเขียนผลงาน โดยนักวิจัยมักตั้งคําถาม สนใจรายละเอียดในหัวข้อที่เฉพาะเจาะจง มี กระบวนการทํางานที่ระมัดระวังและใช้เวลานาน มีวิธีการนําเสนอผลงานวิจัยเชิงลึก เต็มไปด้วย ศัพท์เทคนิค ในขณะที่ผู้กําหนดนโยบายสนใจคําตอบที่ส่งเสริมการกําหนดนโยบาย ชอบการทํางานที่ รวดเร็ว ชอบวิธีการนําเสนอที่กระชับเข้าใจง่าย ส่วนผู้ปฏิบัติสนใจการตั้งคําถามเพื่อหาคําตอบ เน้น กระบวนการดําเนินการที่มีความเป็นไปได้สูงและนําไปใช้ได้เหมาะกับกลุ่มเป้ าหมาย ใช้ภาษาทั้งทาง เทคนิคบางครั้งเพื่อสื่อสารกับทั้งนักวิจัยและผู้กําหนดนโยบายเทคนิคบางครั้งเพื่อสื่อสารกับทั้งนักวิจัย 9  Caplan N. The two‐communities theory and knowledge utilization. American Behavioural Scientist  1979;22(3):459‐70.  10  Shonkoff JP. Science, policy, and practice: Three cultures in search of a shared mission. Child  Development 2000;7(1):181‐7.  11  Bogenschneider K, Olson JR, Mills J, Linney KD. How can we connect research with state policymaking?  Lessons from the Wisconsin Family Impact Seminars. In K. Bogenschneider, Family policy matters: How  policy making affects families and what professionals can do. 2nd  ed, Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum.  2006:245‐76.  The Two  Community  Theory The Three  Culture Theory Elaborated  Multi‐culture  Theory
  • 16. 15 | P a g e จากช่องว่างระหว่างการผลิตองค์ความรู้และการนําผลไปสู้การกําหนดนโยบายสาธารณะ ได้มี ความพยายามในการลดหรือแก้ไขปัญหาดังกล่าว ดังนี้ 1. ตัวแทนส่งต่อความรู้ (Knowledge brokerage) โดย Choi12 ได้เสนอวิธีการแปรสาร ที่ได้จากการวิจัยให้เหมาะสมกับผู้ใช้ผลงานโดย มีคนกลางทําหน้าที่นี้วิธีนี้มีตัวอย่างของการ ประสบความสําเร็จ ได้แก่ The European Observatory on Health Systems and Policies13 , Milbank Memorial Fund14 , Health Evidence Network by World Health Organization15 , Canadian Health Services Research Foundation16 , Canandian Institute of Health Research (CIHR)17 , World Health Organization (WHO)18 , Cochrane Collaboration19 , Centre for Knowledge transfer20 , Canadian Coalition for Global Health Research21 เป็นต้น 12  Choi BCK, Pang T, Lin V, Puska P, et al. Can scientists and policy makers work together? Evidence Based  Public Health Policy and Practice. J Epidemiol Community Health 2005;9:632‐7.  13  The European Observatory on Health Systems and Policies.  http://www.euro.who.int/observatory/toppage. Accessed on 2nd November, 2010.  14  Gibson M. Drug cost containment. Milbank Memorial Fund.  http://www.familiesusa.org/site/DocServer/01.23.04_Gibson.ppt?docID=2592 Accessed on 2nd   November, 2010.  15  World Health Organisation. Regional Office for Europe. Health Evidence Network (HEN).  http://www.euro.who.int/HEN. Accessed on 2nd November, 2010.  16  Canadian Health Service Research Foundation http://www.chsrf.ca/home e.php Accessed on 2nd   November, 2010.  17  Canadian Institute of Health Research (CIHR) http://www.cihr‐irsc.gc.ca/ Accessed on 2nd  November,  2010.  18  World Health Organization http://www.who.int/kms/en/   19  The Cochrane Collaboration http://www.cochrane.org/index0.htm   20  Centre for Knowledge Transfer http://www.ckt.ca/   21  Canadian Coalition for Global health Research http://www.ccghr.ca/  
  • 17. 2. นั้นมีควา นโยบาย 22  http:/ การทําการศึ government ข้อ ความเชื่อมโย ามซับซ้อน จา นั้น เกิดจากล //www.defend ศึกษาวิจัยโด t22 ) อสรุปของกา ยงของการนํา ากการทบทวน ลักษณะหรือค dingscience.o ดยองค์กรรัฐ ารกําหนดนโ าผลการศึกษา นวรรณกรรม คุณสมบัติขอ rg/Scientists‐ ที่กําหนดนโ โยบายโดยใช าไปใช้ในการ พบว่าช่องว่า งผู้วิจัยที่มีคว in‐Governme โยบายเอง (D ช้หลักฐานเชิ รวางแผนกําห งระหว่างผู้ผลิ วามแตกต่างจ nt‐Project.cfm Doing the sc ชิงประจักษ์ หนดนโยบาย ลิตผลงานวิจั จากผู้กําหนด m  16 | P a cience withi และปฏิบัติจริ ัยกับผู้กําหนด นโยบาย ดังนี a g e n ริง ด นี้
  • 18. 1. 2. 3. 4. ผลิตผลงาน รอบคอบและ ความเป็นจริง เกินไป รายงานผลก ผลิตผลงาน กําหนดโจทย์ ผลิตผลงาน วิจัยในสาขา ถัดมา นได้ไม่ทันต่อ ะถูกต้องครบถ งและตอบคํา การศึกษาเป็ นวิจัยมีเป้ าป ย์การวิจัยและ นวิจัยโดยอ้าง ที่เชี่ยวชาญห ลักษณะ อเงื่อนเวลาที ถ้วนตามกระ าถามการวิจัย ปนเชิงทฤษฎี เ ต ป ผ้ น ระสงค์ของก ะดําเนินการวิจ งอิงจากหลัก หรือสนใจ โดย ะของผู้ผลิต ที่เหมาะสม เ บวนการศึกษ ยได้มากที่สุด ฎีทําให้นําไป เนื่องจากผู้ผลิ ตามหลักการ ประเด็น แต่ยั ผู้กําหนดนโย น่าสนใจและส การวิจัยชัดเจ จัยเพื่อตอบคํ กฐานเชิงประ ยคํานึงถึงนโย ตผลงานวิจั เนื่องจากงาน ิ ษาวิจัยที่ดี เพื่ ทําให้ผลงาน ปสู่การปฏิบัติ ลิตผลงานวิจัย แม้จะสามาร ยังต้องการการ บายเข้าใจเป็ สามารถนําไป จน เนื่องจาก คําถามดังกล่า ะจักษ์และชื่ ยบายหรือปัญ ัย นวิจัยเป็นงานที อให้ได้ผลกา นที่ได้มักตอบโ ติได้ยาก ยเป็นนักวิชาก รถตอบคําถา รแปลผลเพื่อก ปนรูปธรรมมา ปใช้ได้จริง กผู้ผลิตผลงาน าว อเสียงเป็นห ญหาของประเท 17 | P a ที่ละเอียด รศึกษาที่ตรง โจทย์แต่ล่าช้า การ อ้างอิงข้อ มการวิจัยได้ การปฏิบัติหรื ากขึ้น จึงจะ นวิจัยเป็นผู้ หลัก จึงมักทํา ทศเป็นลําดับ a g e ตาม า อมูล ตรง รือให้ า บ
  • 19. 18 | P a g e ลักษณะของผู้กําหนดนโยบาย 1. ได้รับอิทธิพลจากฝ่ายบริหาร ทําให้การตัดสินใจนําผลงานวิจัยมาใช้มีความซับซ้อน 2. ต้องการคําตอบหรือข้อสรุปที่ชัดเจน เพื่อผลักดันนโยบายอย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ 3. ไม่มีข้อสรุปของเป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนในเรื่องที่ต้องการกําหนดนโยบาย 4. นโยบายขึ้นกับอํานาจหน้าที่และงบประมาณที่มี
  • 20. ผลงานวิ 1. 3. จากปัญหาดั จัยดังนี้ The Two Co ช่องว่างระหว ผู้ผลิตผลงาน Elaborated กล่าวถึงชนิด ทํางานที่แตก สําหรับนําไป นักวิจัยและผู้ ที่กลุ่มวิชาชีพ เชื่อมโยงหาก ังกล่าวได้มีท ommunity T ว่างความเข้าใ นวิจัยและผู้ใช้ 2. T ข้อจํากัดท makers) ช่องว่างใน Multi-culture ดข้อมูลที่ผู้กําห กต่าง และแน ปใช้ในการกําห ผู้กําหนดนโยบ พประกอบด้ว กมีหน่วยงาน ฤษฎีที่พยาย Theory (Cap ใจและการสื่อ ช้ผลงานวิจัย The Three C ทางการสื่อสา และผู้ดําเนิน นการนําไปสู่ก e Theory (B หนดนโยบาย วทางการเขีย หนดนโยบาย 4 (Bog กับก วางน บาย หากเป็น ยนักวิชาการ ส่วนกลางที่เป็ ามอธิบายช่อ lan, 1979) ก อสารระหว่าง Culture Theo ารแล้ว ยังแบ่ง นโยบาย (po การปฏิบัติที่ชั ogenschnei ยต้องการ วัฒ ยนผลงานวิจัย ย 4. Commu genschneid กลุ่มวิชาชีพที่มี นโยบายและก นหน่วยงานขอ ซึ่งเน้นการผลิ ป็น Think Ta องว่างระหว่าง กล่าวถึง กลุ่ม ory (Shonkof งผู้ใช้งานวิจัย olicy adminis ชัดเจนขึ้น ider, 2006) ฒนธรรมในกา ยที่พึงประสงค nity Dissona er, 2010) กล มีความแตกต การปฏิบัติ โด องรัฐบาลจะเ ลิตผลงานวิจัย ank หรือเป็นผู้ งผู้ผลิตผลงาน ff, 2000) นอก ยเป็นผู้กําหนด strators) ซึ่งแ ร ค์ ance Theory ล่าวถึงวัฒนธ ต่างกันทางแน ดยสถาบันปร เน้นการใช้ผล ัย ทั้งสองกลุ่ม ผู้ผลักดันนโยบ 19 | P a นวิจัยกับผู้ใช้ กเหนือจาก ดนโยบาย (po แสดงให้เห็น y รรมของสถาบ นวความคิด ก ะกอบด้วย ลงานวิจัย ในข มอาจมีความ บาย a g e ช้ olicy บัน การ ขณะ
  • 21. แนวท 1. 2. 3. 4. ทางการแก้ ผลงานวิจัย แนวทางกา ผลงานวิจัย สามารถนํา ปฏิบัติได้ใ มีเป้ าประส นโยบายได้ ผลงานวิจัย นโยบายมี การกําหน ้ปัญหาเพื่อ ยที่มีต้องทั ารวิจัยล่วง ยควรเป็น าไปใช้ได้ต ในวงกว้าง สงค์ของกา ด้ ยที่ได้ต้องมี แนวโน้มใช้ ดนโยบาย อปิดช่องว่า ันต่อสถาน หน้ากับผู้ใ action-orie ตามที่ผู้ใช้ผ ารนําผลงาน มีคุณภาพแ ช้ข้อมูลที่มี างระหว่างผู้ นการณ์ โดย ใช้ผลงานวิจ ented หรือ ลงานวิจัยต นวิจัยไปใช้ และนําไปใช หลักฐานเชิ ผู้ผลิตผลงา ยอาจมีการ จัยหรือผู้กํา อเป็นงานวิจั ต้องการ ใช้ ช้ที่ชัดเจนแ ช้ได้จริง เนื ชิงประจักษ์ านวิจัยและ รประเมินห ื าหนดนโยบ จัยเชิงปฏิบั ช้ภาษาที่เข้ และ/หรือใช้ นื่องจากผู้กํ ษ์มากขึ้นเพื 20 | P a ะผู้ใช้งานวิจั หรือคาดการ บาย บัติการ เพื่อ ข้าใจง่าย นํ ช้กําหนด กําหนด พื่อประกอบ a g e จัย รณ์ อให้ าไป บใน
  • 22. 1. 2. 3. แนว มีผลงานวิจัย คํานึงถึงนโยบ และวิธีดําเนิน เพื่อให้สามา ผลิตผลงานวิ กับผู้ที่จะนําผ นําเสนอผลง วทางสําหรั ยที่พร้อมและท บายในระดับ นการที่เหมาะ รถปรับใช้ผลง วิจัยที่มีคุณค่า ผลงานไปใช้แ าน รับผู้ผลิตผล เพื่อให้สาม ทันต่อสถานก มหภาคหรือร ะสมกับทรัพย งานดังกล่าวใ าและคุณภาพ และมีการป้ อน ลงานวิจัยใ มารถนําไป การณ์ปัจจุบัน ระดับประเทศ ยากรที่มีในกล ในสภาวะต่าง พสูง แต่ใช้ภา นข้อมูลย้อนก นการผลิต ปใช้จริง นอย่างต่อเนื่อ ศ เน้นการวิจัย ลุ่มเป้ าหมาย งๆได้จริง ษาและการสื กลับจากผู้ใช้ง ผลงานวิจัย อง ยมุ่งเป้ าที่แสด มีกลยุทธ์ในก สื่อสารที่เข้าใจ งาน เพื่อทําก 21 | P a ย ดงวิธีการปฏิบ การบริหารจัด จง่าย เหมาะส ารปรับปรุงวิธี a g e บัติ ดการ สม ธีการ
  • 23. 22 | P a g e ปัจจัยเกื้อหนุนให้เกิดการใช้ผลงานวิจัย 1. Dissemination : นําเสนอหรือเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่ผู้ใช้ผลงานวิจัยระดับในต่างๆอย่าง เหมาะสม 2. Interaction : พัฒนาความร่วมมือระหว่างผู้ผลิตผลงานวิจัยกับผู้กําหนดนโยบายและผู้ให้ทุน 3. Social influence : คํานึงถึงอิทธิพลจากผู้เชี่ยวชาญและผู้วิจารณ์ โดยให้ข้อมูลการวิจัยและ ชักจูงให้เห็นคุณค่าของผลงานนั้นๆ 4. Facilitation : จัดให้มีการนําผลงานวิจัยไปใช้ทั้งทางเทคนิค ทางการเงิน ทางองค์กรและการ สนับสนุนทางจิตใจ 5. Reinforcement : นําวิธีการหลากหลายรวมทั้งการให้รางวัลเพื่อกระตุ้นการปฏิบัติที่เหมาะสม
  • 24. 23 | P a g e 1. จัดหัวข้อการนําผลการวิจัยไปใช้เป็นคําถามการวิจัย เป็นการพัฒนาคําถามการวิจัย ร่วมกัน โดยมุ่งเน้นวิธีการที่ผู้กําหนดนโยบายใช้หรือไม่ใช้ผลงานวิจัยในกลุ่มประชากร เป้ าหมาย ค้นหากลยุทธ์การวิจัยที่จะนําไปใช้ในอนาคต ริเริ่มการเสวนาเพื่อเชื่อมโยงระหว่าง กลุ่มผู้ผลิตผลงานวิจัยและผู้ใช้ผลงานวิจัย ชี้ชวนหน่วยงานใหม่เข้ามาศึกษาการใช้ผลงานวิจัย พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการทําวิจัยและพัฒนากลยุทธ์เพื่อสนับสนุนการใช้ ผลการวิจัยสู่การกําหนดนโยบาย 2. เปลี่ยนวัฒนธรรมของผู้ผลิตผลงานวิจัย เป็นการพัฒนานักวิจัยให้ทราบประเด็นคําถาม ของผู้กําหนดนโยบายสนใจ ตรวจสอบการให้การสนับสนุนการวิจัยมุ่งเป้ าสู่นโยบายของ สถาบันต่างๆ พัฒนาวิธีการฝึกอบรมและเว็บไซต์สําหรับผู้ที่สนใจผลิตผลงานวิจัยเชิงนโยบาย และผู้ผลิตผลงานทั่วไป กระตุ้นให้คณะต่างๆในมหาวิทยาลัยผลิตผลงานวิจัยร่วมกับนักศึกษา และสามารถขอรับทุนจากผู้กําหนดนโยบาย จัดหลักสูตรเน้นการทําวิจัยเพื่อกําหนดนโยบาย เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ฝีกงานกับผู้กําหนดนโยบาย สนับสนุนการเรียนการสอนที่ผนวก ความคิดระหว่างการวิจัยเชิงนโยบายและงานวิจัยอื่นๆในวงกว้าง 3. เปลี่ยนวัฒนธรรมของผู้นําผลงานวิจัยไปใช้ โดยมีหน่วยงานกลางที่เพิ่มประสิทธิภาพของ ผู้กําหนดนโยบายในการเข้าถึงผลงานวิจัยและเกิดความเข้าใจผลการวิจัย พัฒนาวิธีการ ฝึกอบรมเพื่อช่วยให้ผู้กําหนดนโยบายสามารถสื่อสารกับนักวิจัยได้ มุ่งเน้นการแปลผลการวิจัย ให้เหมาะสมกับผู้กําหนดนโยบาย ปรับปรุงการเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่ผู้กําหนดนโยบาย และจัด ให้มีการเสวนาระหว่างผู้กําหนดนโยบายกับนักวิจัยเพื่อกําหนดทิศทางการวิจัยในอนาคต 4. ค้นหาการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบ เปิดโอกาสให้ผู้ผลิตผลงานวิจัยและผู้ใช้ ผลงานวิจัยได้พบปะกันและเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดี จัดเวทีกระตุ้นการสื่อสารระหว่าง กลุ่มดังกล่าว เพิ่มประสิทธิภาพในการให้การสนับสนุนการวิจัยเชิงนโยบายและการนําไปใช้ทั้ง ภาครัฐและเอกชน กระตุ้นผู้ให้ทุนให้เปลี่ยนทัศนคติจากการให้การสนับสนุนเฉพาะสิ่งใหม่ๆ เป็นการให้การสนับสนุนนโยบายที่ต้องใช้ความพยายามกว่าจะเห็นผลตามที่คาดหวัง และให้ การสนับสนุนการกําหนดนโยบายจากหลักฐานเชิงประจักษ์ให้เป็นวาระแห่งชาติ กลยุทธ์ที่จะทําให้ผู้ผลิตผลงานวิจัยสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ผลงานวิจัยหรือผู้กําหนดนโยบาย
  • 25. กรณีศึก แหล่งข้อ Develop ผู้นิพนธ์: ความเป็ ให้บริกา นั้นรัฐได้ จากนั้นใ น้อย ก่อ 1992 อี สุขภาพ โครงการ ใหญ่เป็น โครงการ กรณีศึ ไป กษาที่ 1 : การ อมูล: Knowle pment. Bulle : Viroj T, Suw ป็นมา ในรอบกว่าส รได้ครอบคลุ ให้สวัสดิการ ในปีค.ศ. 197 นที่จะขยายสิ กด้วย สําห (Voluntary รดังกล่าวไม่ป นผู้ที่มีโรคประ รนี้ต้องล้มเลิก ศึกษาด้า ปสู่การปฏ รวางแผนด้าน edge-based etin of the W wit W, Sangu องทศวรรษที่ มทุกกลุ่มประ รักษาพยาบา 75 ได้เริ่มมีก สิทธิดังกล่าวไ หรับกลุ่มที่ยังไ health ca ประสบความส ะจําตัวอยู่แล้ว กไปในที่สุด านการแ ฏิบัติในร นสาธารณสุข d Changes t World Health uan N. ที่ผ่านมา รัฐ ะชากร การพั าลแก่ข้าราชก ารให้การรักษ ไปยังกลุ่มผู้สูง ไม่มีหลักประก ard) ให้ประ สําเร็จเนื่องจา ว ในขณะที ปรผลกา ระดับนโ ขในประเทศไท o Health Sys Organizatio ฐบาลไทยได้พ พัฒนาดังกล่า การซึ่งเป็นเจ้า ษาพยาบาลโด งอายุ เด็กที่อ กันด้านสุขภา ะชาชนได้ซื้อเ ากปัญหางบป ที่ผู้ที่ยังมีสุขภ ารศึกษา โยบายส ทย stems: the T on, October พยายามในกา วเป็นแบบค่อ าหน้าที่รัฐโดย ดยไม่คิดค่าใช้ อายุตํ่ากว่า 1 าพ รัฐบาลได้ เพื่อให้ได้สิทธิ ประมาณ เพ ภาพดีไม่สนใจ าวิจัยสุข าธารณะ Thai Experie 2004: 82(10 ารพัฒนาระบ อยเป็นค่อยไป ยครอบคลุมถึง ช้จ่ายให้แก่ปร 2 ปี รวมไปถึ ด้มีการดําเนิน ธิรักษาพยาบา ราะประชาชน จที่จะซื้อบัตร 24 | P a ภาพ ะ ence in Polic 0); 750-56. บสาธารณสุข ป โดยในระยะ งครอบครัว ระชาชนผู้มีรา ถึงผู้พิการในปี นงานโครงการ าล แต่ปราก นที่ซื้อบัตรนี้ ดังกล่าว ท a g e cy ขเพื่อ ะแรก ายได้ ปค.ศ. รบัตร กฏว่า ส่วน ทําให้
  • 26. 25 | P a g e ในปีค.ศ. 1990 ได้มีระบบการประกันสังคมเพื่อครอบคลุมสวัสดิการรักษาพยาบาลให้แก่ผู้ทํา งานในสถานประกอบการเอกชนต่างๆ โดยมีการร่วมจ่ายกันสามฝ่ายคือ ภาครัฐ สถานประกอบการ และผู้ประกันตน อย่างไรก็ตามก็ยังพบว่าระบบต่างๆ ที่มีอยู่ ยังไม่สามารถครอบคลุมประชากรทั้ง ประเทศได้ โดยมีประชากรกว่า 30% ที่ยังไม่มีสิทธิรักษาพยาบาลใดๆ จนกระทั่งในเดือนตุลาคม ปีค.ศ. 2001 รัฐบาลจึงได้มีนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Universal health care coverage: UC) ให้แก่ประชาชน โดยครอบคลุมกลุ่มผู้มีรายได้น้อย บัตรสุขภาพ และกลุ่มประชาชนอีก 30% ที่ยังไม่มี สิทธิรักษาพยาบาลใดๆ อย่างไรก็ตาม ก่อนที่จะมีนโยบายดําเนินการเรื่องหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านั้น ในปีค.ศ. 1991 ได้มีการจัดตั้งสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ซึ่งเป็นองค์กรภายใต้การกํากับของรัฐ และเชื่อมต่อ กับกระทรวงสาธารณสุขขึ้น โดยมีบทบาทในการทําการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับระบบสาธารณสุขโดยหวัง จะนําผลการศึกษาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาระบบสาธารณสุขของประเทศ และทําการเตรียมพร้อม ด้านองค์ความรู้เพื่อพร้อมนําไปใช้ยามที่มีโอกาส ผลจากการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับระบบสาธารณสุขที่สําคัญ และนํามาใช้เป็นเข็มทิศกําหนดกล ยุทธ์การปฏิรูประบบสาธารณสุขในด้านสิทธิการรักษาพยาบาลนั้น มีมาจากหลายแหล่ง เช่น ผล การศึกษาติดตามดัชนีชี้วัดความยากจนของประเทศซึ่งพบว่า ค่าใช้จ่ายในการรักษาทางการแพทย์นั้น มีผลทําให้ประชาชนอยู่ในระดับที่ยากจนเพิ่มขึ้น 0.65% (เพิ่มจาก 10.87% ไปเป็น 11.52%) นอกจากนี้ยังมีการศึกษาการใช้จ่ายของครัวเรือนแล้ว พบว่าค่าใช้จ่ายของครัวเรือนสําหรับค่า รักษาพยาบาลในจํานวนเงินที่สูงกว่า 25% ของรายได้ที่กันไว้สําหรับค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่อาหาร (non- food consumption) อยู่ในระดับที่สูงประมาณ 4.6% ในปีค.ศ. 1996 และลดลงเหลือ 3.8% ในปี 2000 อันเป็นผลจากระบบการรักษาพยาบาลที่ให้สิทธิแก่ผู้มีรายได้น้อยและบัตรสุขภาพ แต่ก็ยังอยู่ใน ระดับที่สูง ข้อมูลสําคัญอีกชิ้นหนึ่งคือภาวะการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของค่าใช้จ่ายภาครัฐสําหรับ สวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ ตั้งแต่ปีค.ศ. 1988-2002 ทั้งๆ ที่มีการลดขนาดอัตรากําลังของ ข้าราชการลง (ดังรูป) โดยภาพรวมแล้วพบว่าค่าใช้จ่ายต่อหัวประชากรสําหรับข้าราชการสูงกว่าผู้มี รายได้น้อยถึง 10 เท่า (4,000 บาทสําหรับข้าราชการ และ 400 บาทสําหรับผู้มีรายได้น้อย)
  • 27. คุมค่าใช้ รักษาพย ให้บริกา การใช้จ่า รักษาพย ค่าใช้จ่าย แห่งชาติ การตั้งระ กฎระเบีย เป็นระบบ ปรากฏการณ ช้จ่ายในการรัก ยาบาลที่เป็นแ รทางการแพท ายยาปฏิชีวน ยาบาลได้ มา ต่อมาได้เกิดวิ ยในการรักษา หรือการจ่า ะบบการร่วมจ ยบไม่ได้รับคว ในขณะเดียว บที่เหมาจ่าย ณ์ดังกล่าวเป็น กษาพยาบาล แบบ fee-fo ทย์ที่เกินความ นะ และยา กเกินความจํ วิกฤตการณ์ท าพยาบาลใน ยค่าใช้จ่ายส่ จ่ายค่ารักษาพ วามสนใจในท วกัน ระบบปร รายหัว (Cap นสิ่งตอกยํ้าถึง ล ประ or-service น มจําเป็น สอด าประเภทอื่นเช าเป็น ทางการเงินขอ รูปแบบต่างๆ วนเกินสําหรับ พยาบาล แต ทางปฏิบัติ ระกันสังคม ได้ pitation cont งความไม่เท่า ะกอบกับว่ามี นั้นไม่สามาร ดคล้องกับกา ช่น ยาลด องประเทศ ทํ ๆ เพิ่มเติม ับการพักรักษ ต่การดําเนินก ด้รับการศึกษ ract model) าเทียม และค มีการศึกษาใน ถคุมค่าใช้จ่า รสํารวจในปร ดไขมัน ใน ทําให้รัฐบาลป เช่น การไม่ค ษาตัวในห้องพิ ารไม่ประสบค ษาติดตามประ ที่มีข้อดีคือจ ความล้มเหลว นต่างประเทศ ยได้ และมี ระเทศไทยใน นกลุ่มข้าราชก ประกาศนโยบ ครอบคลุมยา พิเศษ เป็นต้น ความสําเร็จเท ะเมินผลจากน ะทําให้โรงพย 26 | P a วของระบบใน ศที่พบว่าระบบ การใช้จ่ายยา นขณะนั้นที่พบ การที่มีสิทธิเบิ บายในการคว านอกบัญชียา น นอกจากนี ท่าที่ควรเนื่อง นักวิจัย แล้วพ ยาบาลและแพ a g e นการ บการ าหรือ บว่ามี บิกค่า บคุม าหลัก นี้ยังมี งจาก พบว่า พทย์
  • 28. 27 | P a g e ต้องระมัดระวังค่าใช้จ่ายในการรักษาไม่ให้เกินจําเป็น และไม่เกินงบที่ได้รับการเหมาจ่ายมา เพื่อเลี่ยง การขาดทุน แต่อาจมีข้อเสียคือ โอกาสที่จะถูกเบี่ยงเบนจากการบริหารจัดการจนทําให้ให้บริการรักษา ที่ตํ่ากว่ามาตรฐาน แต่เป็นที่น่าสนใจว่า ผลการศึกษาพบว่าโดยรวมแล้วผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อ ระบบประกันสังคม โดยมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับได้จากผู้รับบริการ จากผลการศึกษาต่างๆ ดังกล่าวจึงเป็นที่มาของข้อสรุปโดยทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในระบบ สาธารณสุขว่า การปฏิรูประบบสวัสดิการรักษาพยาบาลจาก fee-for-service model ไปเป็น capitation contract model น่าจะทําให้เกิดผลดีของประเทศ กลยุทธ์การแปรองค์ความรู้สู่การปฏิบัติ ในช่วงเวลาดังกล่าว มีกลุ่มที่มีบทบาทในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบ หลักประกันสุขภาพอยู่ 4 กลุ่มใหญ่ๆ กลุ่มแรก คือ กลุ่มนักวิจัยซึ่งช่วยทําการศึกษาวิจัยโดยรวบรวม องค์ความรู้ และพัฒนาข้อเสนอในการปรับปรุงระบบ กลุ่มที่สอง คือ นักการเมืองซึ่งมีบทบาทในการ สร้างและตัดสินใจเชิงนโยบาย กลุ่มที่สาม คือ นักปฏิรูประบบซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มข้าราชการหรือ เจ้าหน้าที่ของรัฐภายในกระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับตัวแทนของกลุ่ม NGO และกลุ่มที่สี่ คือ ภาค ประชาสังคมที่ประกอบด้วยตัวแทนภาคส่วนต่างๆ ในประเทศซึ่งมีบทบาทในการเคลื่อนไหวกดดัน นักการเมือง ร่วมกับสื่อสารมวลชนที่มีบทบาทเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้แก่สาธารณะ กระบวนการปฏิรูปได้เริ่มขึ้นในช่วงเวลาที่กําลังจะมีการเลือกตั้ง โดยมีการแข่งขันกันอย่าง รุนแรงระหว่างพรรคการเมืองสองขั้ว กลุ่มนักปฏิรูประบบได้พยายามนําเสนอข้อมูลการศึกษาที่มี โดย เลือกใช้ข้อมูลที่สะท้อนถึงผลดีของการบริหารจัดการภายใต้รัฐบาลชุดเดิม ให้แก่พรรคที่เป็นรัฐบาล เช่น แนวโน้มการลดลงของค่าใช้จ่ายในครัวเรือนที่จ่ายค่ารักษาพยาบาลเป็นจํานวนเกินกว่า 25% ของ รายได้ที่กันไว้สําหรับค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่อาหาร พร้อมนําเสนอข้อเสนอแนะเพื่อทําให้ลดลงในอนาคต โดย อยู่ภายใต้กรอบแนวคิดการปฏิรูประบบสวัสดิการรักษาพยาบาล ในขณะเดียวกันก็นําเสนอข้อมูลองค์ ความรู้ที่มีอยู่ พร้อมนําเสนอแนวคิดการปฏิรูปดังกล่าวให้แก่พรรคการเมืองอีกขั้วหนึ่งเพื่อพิจารณาเป็น นโยบายในช่วงหาเสียงเลือกตั้งเช่นกัน ในขณะเดียวกัน สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขก็ได้ทําการศึกษาวิจัยความเป็นไปได้ของ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และลักษณะการระดมทรัพยากรเข้าสู่ระบบ โดยดําเนินการในช่วง ระยะเวลา 6 เดือนก่อนจะมีการเลือกตั้ง ผลการศึกษาพบว่าระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านั้นมี ความเป็นไปได้ในเชิงทรัพยากร จึงได้มีการนําเสนอผลการศึกษาดังกล่าวไปให้แก่พรรคการเมืองทั้ง สองขั้ว ปรากฏว่าพรรคที่เป็นรัฐบาลเดิมก่อนเลือกตั้งไม่ได้นําไปใช้เป็นนโยบายเพื่อดําเนินการ แต่อีก
  • 29. พรรคหนึ นโยบาย ผลกระท และต่อร ครัวเรือน อาหาร จ ต่อความ ความสํา วิชาการ นําไปปร นึ่งซึ่งต่อมาชน หลัก และผลั ทบที่เกิดขึ้น นโยบายหลัก ระบบสวัสดิกา นที่จ่ายค่ารักษ จากเดิม 3.8% นอกจากนี้ระ มมั่นคงของสถ าเร็จในกระบว ฝ่ายปฏิบัติก ระยุกต์ใช้วิธีก นะการเลือกตั้ ักดันจนเป็นผ กประกันสุขภ ารรักษาพยาบ ษาพยาบาลเป็ % ในปี 2000 ะบบดังกล่าวย ถานภาพทาง วนการปฏิรูปร าร ฝ่ายนโยบ ารดังกล่าวใน ั้ง ได้นําไปใ ผลสําเร็จในที่ าพถ้วนหน้า บาลโดยรวมข ป็นจํานวนเกิน ไปเป็น 3% ใ ยังสามารถเป็ การเงินการค ระบบสาธารณ บาย และจาก นการพัฒนาร ใช้เป็นนโยบา สุด นํามาซึ่งกา ของประเทศ นกว่า 25% ในปี 2002 (ดั ปนหนึ่งในกลไ คลังของประเท ณสุข โดยคว กประชาสังคม ระบบสาธารณ ายหาเสียง แ ารเปลี่ยนแปล ดังจะเห็นได้ ของรายได้ที ังรูป) ไกที่ช่วยควบค ทศ วามร่วมมือขอ ม อันเป็นแบบ ณสุขของตนได และดําเนินกา ลงในเชิงบวก จากการลดล ที่กันไว้สําหรับ คุมค่าใช้จ่ายภ รวมถึงการเ องภาคส่วนต บอย่างให้ประ ด้ในอนาคต 28 | P a ารเป็นหนึ่งใน ทั้งต่อประช งของค่าใช้จ่า บค่าใช้จ่ายที่ไ ภาครัฐ อันส เป็นแบบอย่าง ต่างๆ ทั้งจาก เทศอื่นๆ สาม a g e นสาม ชาชน ายใน ไม่ใช่ ส่งผล งของ กฝ่าย มารถ
  • 30. 29 | P a g e ปัจจัยแห่งความสําเร็จ กรณีศึกษาเรื่องการวางแผนด้านสาธารณสุขในประเทศไทยนี้ได้เน้นยํ้าให้ประจักษ์ถึงสัจธรรม ในสังคมว่าด้วยเรื่ององค์ความรู้เพียงอย่างเดียวอาจไม่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ ในสังคมได้ หาก ปราศจากสะพานเชื่อมต่อองค์ความรู้นั้นไปสู่การปฏิบัติ ดังจะเห็นได้ว่ากลุ่มนักปฏิรูป หรือฝ่าย ปฏิบัติการ ซึ่งประกอบด้วยเจ้าหน้าที่รัฐในกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับตัวแทน NGO เป็นเรี่ยวแรง สําคัญในการดําเนินบทบาทส่งต่อองค์ความรู้จากการศึกษาวิจัย โดยย่อยสลายหรือหยิบจับส่วนที่ เหมาะสม เพื่อไปนําเสนอต่อผู้ตัดสินใจเชิงนโยบาย คือนักการเมืองในแต่ละพรรค เพื่อนําไปพิจารณา ผลักดัน ต่อยอดเป็นนโยบายและแผนปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดยต้องให้เกิดความมั่นใจต่อผู้ตัดสินใจ เชิงนโยบายว่า ข้อมูลเชิงประจักษ์นั้นเชื่อถือได้ เป็นประโยชน์ สามารถเชื่อมต่อและพัฒนาเป็นนโยบาย ที่ปฏิบัติได้จริง และที่สําคัญคือเป็นที่ยอมรับของสังคม โดยกรณีศึกษานี้ยังได้แสดงให้เห็นถึงบทบาท ของกลุ่มประชาสังคมและสื่อสารมวลชนที่ถือเป็นอีกแรงหนึ่งในการสื่อสารข้อมูลสู่สาธารณะ ซึ่งทําให้ ประชาชนเป็นอีกแรงหนึ่งที่จะสนับสนุนและผลักดันให้เกิดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าขึ้นใน สังคม ดังที่ประจักษ์ชัดจากผลการเลือกตั้งที่ประชาชนมีสิทธิในการลงคะแนนเลือกนั่นเอง โดยสรุปคือ องค์ความรู้ต่างๆ จะมีประโยชน์และนํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงได้ ก็ต่อเมื่อหน้าต่าง แห่งโอกาสนั้นเปิดกว้างให้สามารถประยุกต์ใช้ได้ การจะทําให้มีโอกาสอาจทําได้หลายวิธี หนึ่งใน วิธีการเหล่านั้น คือผ่านกระบวนการเคลื่อนไหวผลักดันจากภาคส่วนประชาสังคม และทางการเมือง อย่างไรก็ตามปัจจัยพื้นฐานแห่งความสําเร็จนั้น ต้องประกอบกันอย่างลงตัว เช่นเดียวกับในกรณีศึกษา นี้ที่ใช้การสนับสนุนทางการเมืองเป็นเชื้อเพลิงขับเคลื่อนการปฏิรูป ใช้ข้อมูลหรือองค์ความรู้ที่ได้จาก การศึกษาวิจัยเป็นเสมือนเข็มทิศในการกํากับทิศทาง และใช้การเคลื่อนไหวทางสังคมเป็นเหมือนสาร กระตุ้นให้เกิดกระบวนการปฏิรูป
  • 31. กรณีศึก แหล่งข้อ 2007. h ผู้นิพนธ์: ความเป็ บกพร่อง คุกคามที 38.6 ล้ กระจาย มากกว่า นั้นมีควา ติดเชื้อโด ระบาดข ตั้งคณะก ข้อมูลกา กลุ่มพนัก เพศสัมพั กษาที่ 2 : กา อมูล: Case http://www.c : Center for ป็นมา โรคเอดส์ งจากการติดเชื ที่รุนแรงที่สุดข านคนทั่วโลก อยู่แทบทุกพื้น าสองในสามข ามชุกของการ ดยยังมีชีวิตอ รัฐบาลไท องโรคเอดส์นั กรรมการว่าด้ ารระบาดผ่าน ักงานบริการ พันธ์ ผู้บริจาค รป้ องกันโรคเ Studies in G cgdev.org/se Global Deve ส์ (AIDS: A ชื้อเอชไอวี (H ของมวลมนุษ ก ถึงแม้ว่าคน ้นที่ทั่วโลก แ ของประชากรท รติดเชื้อเอชไอ ยู่กว่า 560,00 ทยได้เริ่มตระ นั้น เป็นการระ ด้วยการป้ องกั นทางระบบเฝ้ (Sex wor คโลหิต กลุ่มผู้ เอดส์และโรค Global Healt ection/initiat elopment Acquired I HIV: Human ษย์ ในปี 200 นที่ติดเชื้อเอช แม้แต่ในทวีปเ ที่ติดเชื้อดังก อวีเป็นอันดับ 00 คน ะหนักถึงปัญห ะบาดในกลุ่ม กันและแก้ไขปั าระวังโรค (S rkers) ผู้ป่ว เสพยาเสพติ ติดต่อทางเพ h: Millions S tives/_active mmunodefic n Immunode 05 ได้มีการคา ชไอวีส่วนใหญ เอเชียก็คาดว่ ล่าวอาศัยอยู่ สองของกลุ่ม หาโรคเอดส์ตั้ง มผู้เสพยาเสพ ปัญหาเอดส์แ Sentinel surv วยชายที่มาตร ดที่ใช้เข็มฉีดย พศสัมพันธ์ในป Saved. Cente e/millionssav ciency Syn eficiency Vir าดประมาณว ญ่จะอยู่ในแถ ว่ามีผู้ติดเชื้อไป ยู่ในประเทศอิน มประเทศในแถ ั้งแต่ปีค.ศ. ติดที่ใช้เข็มฉี ห่งชาติ โด veillance) ใน รวจที่สถานพ ยา ประเทศไทย er for Globa ved/studies/ ndrome) หรื us) เป็นหนึ่ง ว่ามีผู้ติดเชื้อเ บแอฟริกา ปแล้วกว่า 8 นเดีย สําห ถบเอเชียแปซิ 1988 โด ดยา ในระย ดยเริ่มมีแผนป นกลุ่มเสี่ยงต่อ ยาบาลด้วยเ ื 30 | P a al Developm รือภาวะภูมิคุ้ ในโรคที่เป็นภ อชไอวีไปแล้ว แต่การติดเชื้อ 8.3 ล้านคน รับในประเทศ ซิฟิค โดยมี ยช่วงแรกของ ะเวลานั้นได้มี ปฏิบัติการติด อการติดเชื้อ ไ เรื่องโรคติดต่อ a g e ent, คุ้มกัน ภาวะ วกว่า อก็ได้ โดย ศไทย มีคนที่ งการ มีการ ดตาม ได้แก่ อทาง
  • 32. 31 | P a g e ในระหว่างปีค.ศ. 1989-90 จากการติดตามข้อมูลพบว่าสัดส่วนของผู้ติดเชื้อเอชไอวีใน กลุ่มพนักงานบริการได้เพิ่มขึ้นถึงสามเท่า จาก 3.5% ไปเป็น 9.3% และเพิ่มไปเป็น 21.6% ในปี 1991 นอกจากนี้ในช่วงเวลาเดียวกันก็พบว่าความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มทหารเกณฑ์เพิ่มขึ้นถึง 6 เท่า จากเดิม 0.5% ในปี 1988 ไปเป็น 3% ในปี 1991 โดยพบว่าชายหนุ่มจํานวนมากนิยมไปเที่ยว สถานบริการและมีเพศสัมพันธ์อันเป็นเหตุให้เกิดการติดเชื้อ จากข้อมูลการเฝ้ าระวังโรคเอดส์ดังกล่าว ทําให้หน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบโดยตรงคือ กระทรวงสาธารณสุข เริ่มหามาตรการควบคุม ป้ องกัน และแก้ไขปัญหาเอดส์อย่างเร่งด่วน กลยุทธ์การแปรองค์ความรู้สู่การปฏิบัติ ในช่วงเวลานั้นได้มีข้าราชการสาธารณสุขหลายท่านเริ่มดําเนินการหากลวิธีในการตอบสนอง ต่อปัญหาการระบาดของโรคเอดส์ในประเทศไทย หนึ่งในนั้นคือ นายแพทย์วิวัฒน์ โรจนพิทยากร ซึ่ง ขณะนั้นดํารงตําแหน่งเป็นผู้อํานวยการสํานักงานควบคุมและป้ องกันโรคติดต่อในเขตจังหวัดราชบุรี ท่านได้มีความเห็นแย้งกับแนวคิดดั้งเดิมที่จะให้หามาตรการป้ องกันไม่ให้ประชาชนไปมีเพศสัมพันธ์กับ พนักงานบริการ โดยท่านมีเหตุผลว่า “เป็นไปได้ยากที่จะห้ามไม่ให้คนไปมีเพศสัมพันธ์กับพนักงาน บริการ สิ่งสําคัญที่สุดคือการหาทางให้เขามีเพศสัมพันธ์แบบปลอดภัย” ซึ่งวิธีที่ทําให้มีเพศสัมพันธ์ อย่างปลอดภัยและได้รับการศึกษาวิจัยด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลแล้วคือการใช้ถุงยางอนามัย นั่นเอง นพ.วิวัฒน์ทราบดีว่าแนวคิดดังกล่าวจําเป็นต้องได้รับการสนับสนุนเชิงนโยบายจากผู้มีอํานาจ ในบ้านเมือง (Political leadership) เนื่องจากอาชีพพนักงานบริการ (เดิมเรียก “โสเภณี”) ยังไม่เป็นที่ ยอมรับและผิดกฎหมายในประเทศไทย จึงได้ทําการปรึกษาหารือกับผู้ว่าราชการจังหวัดราชบุรี จนกระทั่งได้รับการยอมรับว่าการป้ องกันการแพร่ระบาดของโรคเอดส์เป็นสิ่งที่จําเป็นต้องทําเป็นอันดับ แรก จากนั้นจังหวัดราชบุรีจึงได้เริ่มดําเนินนโยบายรณรงค์ให้มีการใช้ถุงยางอนามัย 100% ในสถาน บริการทุกแห่งในจังหวัด (“No Condom, No Sex” campaign) ถึงแม้ว่าในระยะแรกของการ ดําเนินการ จะมีความวิตกกังวลของเจ้าของสถานบริการว่า ส่วนใหญ่แล้วผู้มาใช้บริการจะไม่ชอบใส่ ถุงยางอนามัย ดังนั้นการบังคับใช้ถุงยางอนามัยอาจทําให้ผู้มาใช้บริการไปใช้บริการที่สถานบริการแห่ง อื่นแทน แต่มาตรการดังกล่าวของจังหวัดราชบุรี ที่บังคับใช้ในสถานบริการทุกแห่งเท่าเทียมกัน ทําให้ ความวิตกกังวลดังกล่าวหมดไป ในการดําเนินมาตรการรณรงค์ถุงยางอนามัย 100% นั้น เจ้าหน้าที่รัฐ (กระทรวงสาธารณสุข) จะทําการประชุมร่วมกับเจ้าของสถานบริการ โดยทําการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรคเอดส์ และวิธีการใช้ ถุงยางอนามัยที่ถูกต้อง รวมถึงประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น โดยมีเจ้าหน้าที่ตํารวจช่วยเหลือในการนัดประชุม