SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
Descargar para leer sin conexión
สาระเศรษฐศาสตร์
                       ใบความรู้ ที่ 8 เรื่อง กองทุนหมู่บ้าน
                                    ระดับ ม. 5



คาสั่ง 1.ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา
       2. ตั้งคาถามที่เกี่ยวกับกองทุนหมู่บ้าน คนละ 5 ข้อ

8. กองทุนหมู่บ้าน
           ประเทศไทยประสบปัญหาความยากจนมาตลอด ซึ่งปัญหาเรื้อรังที่สาคัญ
ของการพัฒนาประเทศ จึงจาเป็นต้องรีบแก้ไขปัญหาโดยเร่งด่วน ทั้งนี้เพราะ
ประสบการณ์ในอดีต การพัฒนาประเทศมุ่งเน้นแต่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
เศรษฐกิจเป็นส่วนใหญ่ ทาให้เกิดช่องว่างความยากจนมากขึ้น ทาให้เกิดความอ่อนแอ
ในสังคม เป็นเหตุให้ปัญหาต่าง ๆ ตามมามากมาย ด้วยเหตุนี้การแก้ไขปัญหาความ
ยากจนต้องปรับกระบวนทัศน์ โดยให้ความสาคัญกับการสร้างรากฐานในระดับล่างให้
เข้มแข็งคือ ยึดหมู่บ้านเป็นเป้าหมายของการพัฒนา จากประสบการณ์การทางานของ
ชาวบ้านที่ได้กระทากิจกรรมร่วมกันในการบริหารจัดการ ด้วยทักษะ ภูมิปัญญาของ
ตนเองในรูปของกลุ่มออมทรัพย์เพือการผลิต กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ สหกรณ์เครดิต
                                  ่
ยูเนียน ธนาคารหมู่บ้านและกองทุนอื่น ๆ มากมาย รัฐบาลมองเห็นขีดความสามารถ
และทักษะการทางานของชาวบ้าน จึงกาหนดนโยบาย กองทุนหมู่บ้าน 1 ล้านบาท เพื่อ
เป็นเครื่องมือแก้ไขปัญหาความยากจน โดยกระบวนการชุมชน มุ่งเสริมสร้างพัฒนา
ศักยภาพ การเรียนรู้ของชุมชนเพื่อนาไปสู่การพึ่งพาตนเอง และชุมชนที่เข้มแข็งให้
ยั่งยืนต่อไป
กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง คือ กองทุนที่เกิดขึ้นตามนโยบายของ
รัฐบาล โดยรัฐบาลได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่หมู่บ้านและชุมชนเมือง แบ่งออกเป็น
2 ระดับกองทุน คือ
            1. กองทุนหมูบ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ เป็นการรวมทุนในระดับชาติ
                         ่
เพื่อจัดสรรให้แก่หมู่บ้านและชุมชนเมือง
            2. กองทุนหมู่บ้านและกองทุนชุมชนเมือง คือ กองทุนหมุนเวียนใน
หมู่บ้านและชุมชนเมือง เมื่อเริ่มก่อตั้งจะได้รับเงินอุดหนุนจากกองทุนหมู่บ้านและ
ชุมชนเมืองแห่งชาติ หมู่บ้านและชุมชนเมืองละประมาณ 1 ล้านบาท เพื่อให้ประชาชน
ในหมู่บ้านและชุมชนเมืองบริหารจัดการกันเอง

นโยบายของกองทุนหมู่บ้าน
            เป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล ซึ่งได้แถลงต่อรัฐสภาในการจัดตั้ง
กองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองแห่งละ 1 ล้านบาท เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนในการลงทุน
สร้างอาชีพเสริม และสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนในชุมชน และวิสาหกิจขนาดเล็กใน
ครัวเรือน

ปรัชญาของกองทุนหมู่บ้าน
           1. เสริมสร้างความรัก หวงแหน ความรับผิดชอบของชุมชน และท้องถิ่น
           2. ชุมชนเป็นผู้กาหนดอนาคต และจัดการหมู่บ้าน ชุมชน ด้วยคุณค่าและ
ภูมิปัญญา ของตนเอง
           3. เกือกูลประโยชน์ต่อผู้ด้อยโอกาสในหมู่บ้าน ชุมชน
                 ้
          4. เชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้ ภาคราชการ เอกชน และประชาสังคม
           5. กระจายอานาจให้ท้องถิ่น และพัฒนาประชาธิปไตยพื้นฐานรากแก้วของ
ชุมชน
          6. เสริมสร้างความมั่นคงด้านเศรษฐกิจของหมู่บ้าน ชุมชน
วัตถุประสงค์ของกองทุนหมู่บ้าน
           1. เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในหมู่บ้าน ชุมชน
               1.1 การลงทุนพัฒนาอาชีพ
               1.2 สร้างงาน สร้างรายได้ เพิ่มรายได้
               1.3 ลดรายจ่าย
               1.4 บรรเทาเหตุฉุกเฉิน ความจาเป็นเร่งด่วน
               1.5 นาไปสู่การสร้างกองทุนสวัสดิการ
               1.๖ เสริมหนุน ภูมิปัญญาท้องถิ่น
          2. ส่งเสริมและพัฒนาหมู่บ้าน ชุมชน ให้มีขีดความสามารถจัดระบบบริหาร
จัดการเงินทุนของตนเอง
          3. เสริมสร้างกระบวนการพึ่งพาตนเองของหมู่บ้าน ชุมชนในด้านการเรียนรู้
การสร้างและพัฒนาความคิดริเริ่มเพื่อแก้ไขปัญหา เสริมสร้างขีดความสามารถ และ
ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
         4. กระตุ้นเศรษฐกิจในระดับฐานราก และเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศในอนาคต
        5. เสริมสร้างขีดความสามารถและความเข้มแข็งด้านอาชีพและสร้างความ
สามัคคีของประชาชนในหมู่บ้าน ชุมชน

การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้าน
การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านมีขั้นตอนการดาเนินงานดังนี้
     1. ก่อนเริ่มดาเนินงานกองทุนหมู่บ้าน
         1.1 จัดเวทีประชาคม
         1.2 เลือกคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน
         1.3 จัดระเบียบข้อบังคับกองทุนหมู่บ้าน
         1.4 กาหนดคุณสมบัติของสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน
1.5 ขั้นตอนการรับรองสถานภาพของกองทุนหมู่บ้าน
            1.6 ขั้นตอนการประเมิน
            1.7 การประชุมของกองทุนหมู่บ้าน
        2. กระบวนการดาเนินงานกองทุนหมู่บ้าน
            2.1 โครงสร้างและหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และ
ชุมชนเมือง
           2.2 ขั้นตอนการอนุมัติเงินยืมให้สมาชิกกองทุนหมู่บ้าน
           2.3 ขั้นตอนการชาระเงินยืมสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน
           2.4 ระบบการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานกองทุน
หมู่บ้าน
           2.5 ขั้นตอนการตรวจสอบการดาเนินงานกองทุนหมู่บ้าน
           2.6 การจัดทาบัญชี และตรวจสอบกองทุนหมู่บ้าน
       3. การส่งเสริมการอาชีพ
          3.1 วิเคราะห์อาชีพ
          3.2 เสนออาชีพหลาย ๆ อาชีพ
          3.3 วิเคราะห์ตลาด

Más contenido relacionado

Destacado

การศาล
การศาลการศาล
การศาล
thnaporn999
 
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย doc
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย docใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย doc
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย doc
thnaporn999
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6
thnaporn999
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
thnaporn999
 
เผด็จการ
เผด็จการเผด็จการ
เผด็จการ
thnaporn999
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
thnaporn999
 
กลางภาค ส42101 ม.5 docx
กลางภาค ส42101  ม.5 docxกลางภาค ส42101  ม.5 docx
กลางภาค ส42101 ม.5 docx
thnaporn999
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคม
thnaporn999
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
thnaporn999
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
thnaporn999
 
แผนที่ ลูกโลก
แผนที่   ลูกโลกแผนที่   ลูกโลก
แผนที่ ลูกโลก
thnaporn999
 

Destacado (13)

การศาล
การศาลการศาล
การศาล
 
ส 32101 ม.5
ส 32101 ม.5ส 32101 ม.5
ส 32101 ม.5
 
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย doc
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย docใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย doc
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย doc
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
เผด็จการ
เผด็จการเผด็จการ
เผด็จการ
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
กลางภาค ส42101 ม.5 docx
กลางภาค ส42101  ม.5 docxกลางภาค ส42101  ม.5 docx
กลางภาค ส42101 ม.5 docx
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคม
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
 
แผนที่ ลูกโลก
แผนที่   ลูกโลกแผนที่   ลูกโลก
แผนที่ ลูกโลก
 

Similar a ชุดกองทุนหมู่บ้าน

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
jirapom
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
pronprom11
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
freelance
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
freelance
 
โครงการค่ายคุณธรรม
โครงการค่ายคุณธรรมโครงการค่ายคุณธรรม
โครงการค่ายคุณธรรม
phochai
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
boomlonely
 
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีคู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
FishFly
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
chanhom357
 

Similar a ชุดกองทุนหมู่บ้าน (20)

8
88
8
 
Unit 4 เศรษฐกิจพอเพียง
Unit 4  เศรษฐกิจพอเพียงUnit 4  เศรษฐกิจพอเพียง
Unit 4 เศรษฐกิจพอเพียง
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
ทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อ
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป
บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุปบ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป
บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
คู่มือสวัสดิการชุมชน 2558(เต็ม)
คู่มือสวัสดิการชุมชน 2558(เต็ม)คู่มือสวัสดิการชุมชน 2558(เต็ม)
คู่มือสวัสดิการชุมชน 2558(เต็ม)
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
 
Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn
 
โครงการค่ายคุณธรรม
โครงการค่ายคุณธรรมโครงการค่ายคุณธรรม
โครงการค่ายคุณธรรม
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีคู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 

Más de thnaporn999

รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
thnaporn999
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
thnaporn999
 
ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์
thnaporn999
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อย
thnaporn999
 
ชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียว
thnaporn999
 
สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์
thnaporn999
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทาน
thnaporn999
 
ชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจ
thnaporn999
 
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
thnaporn999
 
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
thnaporn999
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
thnaporn999
 
อุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานอุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทาน
thnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
thnaporn999
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
thnaporn999
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
thnaporn999
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
thnaporn999
 
สหประชาชาติ
สหประชาชาติสหประชาชาติ
สหประชาชาติ
thnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
thnaporn999
 

Más de thnaporn999 (20)

รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
 
ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อย
 
ชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียว
 
สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทาน
 
ชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจ
 
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
 
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
อุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานอุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทาน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
 
สหประชาชาติ
สหประชาชาติสหประชาชาติ
สหประชาชาติ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 

ชุดกองทุนหมู่บ้าน

  • 1.
  • 2. สาระเศรษฐศาสตร์ ใบความรู้ ที่ 8 เรื่อง กองทุนหมู่บ้าน ระดับ ม. 5 คาสั่ง 1.ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา 2. ตั้งคาถามที่เกี่ยวกับกองทุนหมู่บ้าน คนละ 5 ข้อ 8. กองทุนหมู่บ้าน ประเทศไทยประสบปัญหาความยากจนมาตลอด ซึ่งปัญหาเรื้อรังที่สาคัญ ของการพัฒนาประเทศ จึงจาเป็นต้องรีบแก้ไขปัญหาโดยเร่งด่วน ทั้งนี้เพราะ ประสบการณ์ในอดีต การพัฒนาประเทศมุ่งเน้นแต่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เศรษฐกิจเป็นส่วนใหญ่ ทาให้เกิดช่องว่างความยากจนมากขึ้น ทาให้เกิดความอ่อนแอ ในสังคม เป็นเหตุให้ปัญหาต่าง ๆ ตามมามากมาย ด้วยเหตุนี้การแก้ไขปัญหาความ ยากจนต้องปรับกระบวนทัศน์ โดยให้ความสาคัญกับการสร้างรากฐานในระดับล่างให้ เข้มแข็งคือ ยึดหมู่บ้านเป็นเป้าหมายของการพัฒนา จากประสบการณ์การทางานของ ชาวบ้านที่ได้กระทากิจกรรมร่วมกันในการบริหารจัดการ ด้วยทักษะ ภูมิปัญญาของ ตนเองในรูปของกลุ่มออมทรัพย์เพือการผลิต กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ สหกรณ์เครดิต ่ ยูเนียน ธนาคารหมู่บ้านและกองทุนอื่น ๆ มากมาย รัฐบาลมองเห็นขีดความสามารถ และทักษะการทางานของชาวบ้าน จึงกาหนดนโยบาย กองทุนหมู่บ้าน 1 ล้านบาท เพื่อ เป็นเครื่องมือแก้ไขปัญหาความยากจน โดยกระบวนการชุมชน มุ่งเสริมสร้างพัฒนา ศักยภาพ การเรียนรู้ของชุมชนเพื่อนาไปสู่การพึ่งพาตนเอง และชุมชนที่เข้มแข็งให้ ยั่งยืนต่อไป
  • 3. กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง คือ กองทุนที่เกิดขึ้นตามนโยบายของ รัฐบาล โดยรัฐบาลได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่หมู่บ้านและชุมชนเมือง แบ่งออกเป็น 2 ระดับกองทุน คือ 1. กองทุนหมูบ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ เป็นการรวมทุนในระดับชาติ ่ เพื่อจัดสรรให้แก่หมู่บ้านและชุมชนเมือง 2. กองทุนหมู่บ้านและกองทุนชุมชนเมือง คือ กองทุนหมุนเวียนใน หมู่บ้านและชุมชนเมือง เมื่อเริ่มก่อตั้งจะได้รับเงินอุดหนุนจากกองทุนหมู่บ้านและ ชุมชนเมืองแห่งชาติ หมู่บ้านและชุมชนเมืองละประมาณ 1 ล้านบาท เพื่อให้ประชาชน ในหมู่บ้านและชุมชนเมืองบริหารจัดการกันเอง นโยบายของกองทุนหมู่บ้าน เป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล ซึ่งได้แถลงต่อรัฐสภาในการจัดตั้ง กองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองแห่งละ 1 ล้านบาท เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนในการลงทุน สร้างอาชีพเสริม และสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนในชุมชน และวิสาหกิจขนาดเล็กใน ครัวเรือน ปรัชญาของกองทุนหมู่บ้าน 1. เสริมสร้างความรัก หวงแหน ความรับผิดชอบของชุมชน และท้องถิ่น 2. ชุมชนเป็นผู้กาหนดอนาคต และจัดการหมู่บ้าน ชุมชน ด้วยคุณค่าและ ภูมิปัญญา ของตนเอง 3. เกือกูลประโยชน์ต่อผู้ด้อยโอกาสในหมู่บ้าน ชุมชน ้ 4. เชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้ ภาคราชการ เอกชน และประชาสังคม 5. กระจายอานาจให้ท้องถิ่น และพัฒนาประชาธิปไตยพื้นฐานรากแก้วของ ชุมชน 6. เสริมสร้างความมั่นคงด้านเศรษฐกิจของหมู่บ้าน ชุมชน
  • 4. วัตถุประสงค์ของกองทุนหมู่บ้าน 1. เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในหมู่บ้าน ชุมชน 1.1 การลงทุนพัฒนาอาชีพ 1.2 สร้างงาน สร้างรายได้ เพิ่มรายได้ 1.3 ลดรายจ่าย 1.4 บรรเทาเหตุฉุกเฉิน ความจาเป็นเร่งด่วน 1.5 นาไปสู่การสร้างกองทุนสวัสดิการ 1.๖ เสริมหนุน ภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. ส่งเสริมและพัฒนาหมู่บ้าน ชุมชน ให้มีขีดความสามารถจัดระบบบริหาร จัดการเงินทุนของตนเอง 3. เสริมสร้างกระบวนการพึ่งพาตนเองของหมู่บ้าน ชุมชนในด้านการเรียนรู้ การสร้างและพัฒนาความคิดริเริ่มเพื่อแก้ไขปัญหา เสริมสร้างขีดความสามารถ และ ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง 4. กระตุ้นเศรษฐกิจในระดับฐานราก และเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศในอนาคต 5. เสริมสร้างขีดความสามารถและความเข้มแข็งด้านอาชีพและสร้างความ สามัคคีของประชาชนในหมู่บ้าน ชุมชน การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้าน การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านมีขั้นตอนการดาเนินงานดังนี้ 1. ก่อนเริ่มดาเนินงานกองทุนหมู่บ้าน 1.1 จัดเวทีประชาคม 1.2 เลือกคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน 1.3 จัดระเบียบข้อบังคับกองทุนหมู่บ้าน 1.4 กาหนดคุณสมบัติของสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน
  • 5. 1.5 ขั้นตอนการรับรองสถานภาพของกองทุนหมู่บ้าน 1.6 ขั้นตอนการประเมิน 1.7 การประชุมของกองทุนหมู่บ้าน 2. กระบวนการดาเนินงานกองทุนหมู่บ้าน 2.1 โครงสร้างและหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และ ชุมชนเมือง 2.2 ขั้นตอนการอนุมัติเงินยืมให้สมาชิกกองทุนหมู่บ้าน 2.3 ขั้นตอนการชาระเงินยืมสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน 2.4 ระบบการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานกองทุน หมู่บ้าน 2.5 ขั้นตอนการตรวจสอบการดาเนินงานกองทุนหมู่บ้าน 2.6 การจัดทาบัญชี และตรวจสอบกองทุนหมู่บ้าน 3. การส่งเสริมการอาชีพ 3.1 วิเคราะห์อาชีพ 3.2 เสนออาชีพหลาย ๆ อาชีพ 3.3 วิเคราะห์ตลาด