SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 28
RFID
สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยี
   สารสนเทศ มหาวิทยาลัย
หัวข้อ
• ความเป็นมา

• ปัญหาและอุปสรรค

• เทคนิคในการจัดหา   RFID

• เพิ่มเติม
ความเป็นมา
ความเป็นมา
• สภาพทั่วไปของมหาวิทยาลัยและสํานัก
ความเป็นมา
• สภาพทั่วไปของมหาวิทยาลัยและสํานัก

• ข้อดีของ   RFID
ความเป็นมา
• สภาพทั่วไปของมหาวิทยาลัยและสํานัก

• ข้อดีของ   RFID

• การเริ่มใช้   RFID สภาพปัจจุบัน อนาคต
ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
• การบริการผ่านระบบ   RFID
ปัญหาและอุปสรรค
• การบริการผ่านระบบ   RFID
ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
• อุปกรณ์   RFID
ปัญหาและอุปสรรค
• อุปกรณ์   RFID
ปัญหาและอุปสรรค
• อุปกรณ์   RFID
ปัญหาและอุปสรรค
• อุปกรณ์   RFID
ปัญหาและอุปสรรค
• อุปกรณ์   RFID
ปัญหาและอุปสรรค
• อุปกรณ์   RFID
ปัญหาและอุปสรรค
• อุปกรณ์   RFID
ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
• ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
ปัญหาและอุปสรรค
• ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ

• บุคลากร
ปัญหาและอุปสรรค
• ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ

• บุคลากร

• อื่นๆ
เทคนิคในการจัดหา RFID
เทคนิคในการจัดหา RFID
• ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
เทคนิคในการจัดหา RFID
• ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ

• ราคา
เทคนิคในการจัดหา RFID
• ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ

• ราคา

• ความจําเป็น
เทคนิคในการจัดหา RFID
• ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ

• ราคา

• ความจําเป็น

• คุณสมบัติทางเทคนิค(Specification)ที่สําคัญ
เพิ่มเติม
ถาม ตอบ
                 ติดต่อ
            สุเทพ ยนต์พิมาย
สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
               นครราชสีมา

Más contenido relacionado

Destacado

AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 

Destacado (20)

AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 

ระบบห้องสมุด RFID มทร.อีสาน

Notas del editor

  1. \n
  2. \n
  3. สภาพทั่วไปของสำนักและมหาวิทยาลัย\nมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานเกิดขึ้นตามพระราบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.2548 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานเป็นหนึ่งในจำนวนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 9 แห่ง โดยมีศูนย์กลางมหาวิทยาลัย ที่จ.นครราชสีมาและ วิทยาเขตในสังกัดทั้งหมด 4 วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขต กาฬสินธ์ ขอนแก่น สุรินทร์ และสกลนคร มีสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมีหน้าที่ในการ จัดหา บริการ ทรัพยากรสารสเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ ในส่วนของศุนย์กลาง และงานวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ดูแลในวิทยาเขต สรุปง่ายๆคือ เรามี ห้องสมุดรวมกับศูนย์คอมพิวเตอร์ รวมกัน 5 ที่นั่นเอง ที่ต้องบอกให้ทุกท่านทราบสภาพดังกล่าวก่อน เพื่อที่จะได้รู้จักและเข้าในรูปแบบในการเลือกใช้ระบบ RFID ของเรามากขึ้น เพราะเรามีห้องสมุดถึง 5 ห้องสมุดด้วยกัน ดังนั้นหากต้องใช้ระบบ RFID เราจำเป็นที่จะต้องจัดหาเพื่อให้ครอบคลุมทุกพื้นที่บริการ\nข้อดีของ RFID ทางทฤษฎี\n1.      ลดขั้นตอนและประหยัดเวลาในการให้บริการยืมคืน\nเนื่องจากระบบเทคโนโลยี RFID เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีจากคลื่นความถี่วิทยุในการตรวจสอบข้อมูล  บรรณารักษ์จึงไม่จำเป็นต้องเสียเวลาในการนำบาร์โค้ดหนังสือให้อยู่ในบริเวณที่เครื่องอ่านบาร์โค้ดสามารถอ่านได้  นอกจากนี้ยังสามารถอ่านได้ทีละหลายเล่มพร้อมๆกันอีกด้วย  จึงทำให้การบริการยืมคืนทรัพยากรสารนิเทศเป็นไปอย่างรวดเร็ว \n2.      ทำให้การยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศด้วยตนเองง่ายขึ้น\nห้องสมุดที่ติดตั้งระบบเทคโนโลยี RFID แล้ว  จะเอื้อให้ผู้ใช้ห้องสมุดสามารถยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศด้วยตนเอง  เวลาคืนทรัพยากรสารสนเทศ  ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรอห้องสมุดเปิดทำการหรือเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน  ผู้ใช้สามารถคืนทรัพยากรสารสนเทศผ่านเครื่องคืนทรัพยากรสารสนเทศได้ทันที  จึงทำให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่พึงพอใจในการใช้บริการยืมคืนด้วยตนเอง \n3.      มีความปลอดภัยสูง\nห้องสมุดสามารถทราบได้ทันทีว่าในขณะนี้ทรัพยากรสารสนเทศรายการใดได้ยืมออกจากห้องสมุด  หรือทรัพยากรสารสนเทศรายการใดหายไปจากชั้นหนังสือ  เพื่อดำเนินการซื้อทดแทนรายการที่สูญหายได้ทันที  นอกจากนี้หากบัตรสมาชิกห้องสมุดได้ใช้เทคโนโลยี RFID ด้วยแล้ว  จะทำให้ห้องสมุดสามารถทราบได้ทันทีว่าสมาชิกคนใดได้นำทรัพยากรสารสนเทศออกจากห้องสมุด  โดยยังไม่ได้ผ่านกระบวนการยืมคืน\n4.  เพิ่มความรวดเร็วในการสำรวจชั้นหนังสือ\nการสำรวจชั้นหนังสือจะรวดเร็วขึ้นด้วยเครื่องอ่านแบบพกพาหรือแบบมือถือ (Hand-held inventory reader)  เพียงบรรณารักษ์ถือเครื่องอ่านนี้เดินตามชั้นหนังสือ  ก็สามารถทราบได้ทันทีว่าทรัพยากรสารสนเทศเหล่านั้นอยู่ถูกตำแหน่งโดยเรียงตามลำดับตามเลขเรียกหนังสือหรือไม่  และรายการทรัพยากรสารสนเทศใดบ้างที่หายไปจากชั้น  จึงช่วยลดปัญหาการไม่พบหนังสือบนชั้นได้เป็นอย่างดี  \n5.      ป้าย RFID มีอายุการใช้งานนาน\nป้าย RFID 1 ชิ้นสามารถผ่านการใช้งานยืมคืนอย่างน้อยที่สุด 100,000 ครั้ง  จึงจะถึงเวลาที่ต้องเปลี่ยนแผ่นใหม่\nการเริ่มใช้ RFID \nเนื่องจากงบประมาณในการจัดหา RFID นั้นค่อนข้างแพง เราจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องวางแผนในการจัดหาระบบ โดยเริ่มจาก\n-ปีงบประมาณ 49-50 สำนักได้เปลี่ยนระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาเป็น ALIST เพื่อการประหยัดงบประมาณในการบำรุงรักษาระบบห้องสมุด และรองรับการปรับปรุงรุ่น(Upgrade)ในอนาคต โดย ALIST รุ่นแรกที่สำนักได้ใช้คือ ALIST V.3 โดยทำการย้ายข้อมูลจากระบบห้องสมุดเดิมมาสู่ระบบ ALIST \n-ปีงบประมาณ 51 มีแนวคิดในการนำระบบห้องสมุด RFID มาใช้ โดยได้ทำการติดต่อผู้ขาย 3 ราย(ที่มีการทำตลาดในขณะนั้น)เข้ามานำเสนอเทคโนโลยี RFID ในห้องสมุดและวางแผนในการรวมระบบห้องสมุดเดิม(Magnetic)เข้ากับระบบ RFID \n-ปีงบประมาณ 53 จัดหาระบบ RFID สำหรับห้องสมุดและศูนย์การเรียนด้วยตนเอง สำหรับสำนัก ในส่วนของศูนย์กลางเพื่อทดลองใช้ก่อนที่จะใช้ในวิทยาเขตต่อไป ด้วยงบประมาณ 11 ล้านบาท(ระบบ RFID และสนับสนุนศูนย์การเรียนด้วยตนเอง) รองรับทรัพยากรสารสนเทศที่ 100,000 ชุด(ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อโสตประเภท Optical เช่น CD VCD DVD) โดยยังใช้ร่วมกับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ALIST V.3 ที่มีการพัฒนาในส่วนของ SIP2 แล้้ว ทั้งนี้ยังผนวกเข้ากับระบบห้องสมุดเดิม(Barcode และ Magnetic)ด้วย\n-ปีงบประมาณ 54 สำนักได้เปลี่ยนระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาเป็น ALIST V.4 และได้ทำการติดตั้งระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาเป็น ALIST V.4 ให้กับวิทยาเขตทั้ง 4 เพื่อให้ผู้ใช้ในวิทยาเขตได้ปรับตัวกับระบบห้องสมุดใหม่ก่อนที่ระบบ RFID จะติดตั้งในอนาคต ทั้งนี้ยังได้ติดตั้งเครื่องยืมคืนด้วยตนเองให้กับวิทยาเขตขอนแก่นเนื่องจากเป็นวิทยาเขตที่มีขนาดรองจากศูนย์กลาง เพื่อทดลองใช้ร่วมกับเฉพาะระบบแม่เหล็ก(เนื่องด้วยระบบที่จัดซื้อนั้นเป็นระบบ Hybrid)\n-ปีงบประมาณ 55 สำนักได้จัดหาระบบ RFID ให้กับวิทยาเขตทั้ง 4 ในส่วนของ Bookdrop สำหรับ วข.ขอนแก่น self check สำหรับ วข.สุรินทร์ กาฬสินธุ์ สกลนคร Workpadสำหรับทั้ง 4 วข. และ RFID tag โดยทั้งหมดจะเป็นระบบ Hybrid\n-ปีงบประมาณ 56 สำนักจะได้จัดหาระบบ RFID ให้กับวิทยาเขตทั้ง 4 ในส่วนของ Bookdrop, Workpad, RFID tag เพิ่มเติม\n\n\n\n
  4. สภาพทั่วไปของสำนักและมหาวิทยาลัย\nมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานเกิดขึ้นตามพระราบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.2548 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานเป็นหนึ่งในจำนวนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 9 แห่ง โดยมีศูนย์กลางมหาวิทยาลัย ที่จ.นครราชสีมาและ วิทยาเขตในสังกัดทั้งหมด 4 วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขต กาฬสินธ์ ขอนแก่น สุรินทร์ และสกลนคร มีสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมีหน้าที่ในการ จัดหา บริการ ทรัพยากรสารสเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ ในส่วนของศุนย์กลาง และงานวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ดูแลในวิทยาเขต สรุปง่ายๆคือ เรามี ห้องสมุดรวมกับศูนย์คอมพิวเตอร์ รวมกัน 5 ที่นั่นเอง ที่ต้องบอกให้ทุกท่านทราบสภาพดังกล่าวก่อน เพื่อที่จะได้รู้จักและเข้าในรูปแบบในการเลือกใช้ระบบ RFID ของเรามากขึ้น เพราะเรามีห้องสมุดถึง 5 ห้องสมุดด้วยกัน ดังนั้นหากต้องใช้ระบบ RFID เราจำเป็นที่จะต้องจัดหาเพื่อให้ครอบคลุมทุกพื้นที่บริการ\nข้อดีของ RFID ทางทฤษฎี\n1.      ลดขั้นตอนและประหยัดเวลาในการให้บริการยืมคืน\nเนื่องจากระบบเทคโนโลยี RFID เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีจากคลื่นความถี่วิทยุในการตรวจสอบข้อมูล  บรรณารักษ์จึงไม่จำเป็นต้องเสียเวลาในการนำบาร์โค้ดหนังสือให้อยู่ในบริเวณที่เครื่องอ่านบาร์โค้ดสามารถอ่านได้  นอกจากนี้ยังสามารถอ่านได้ทีละหลายเล่มพร้อมๆกันอีกด้วย  จึงทำให้การบริการยืมคืนทรัพยากรสารนิเทศเป็นไปอย่างรวดเร็ว \n2.      ทำให้การยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศด้วยตนเองง่ายขึ้น\nห้องสมุดที่ติดตั้งระบบเทคโนโลยี RFID แล้ว  จะเอื้อให้ผู้ใช้ห้องสมุดสามารถยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศด้วยตนเอง  เวลาคืนทรัพยากรสารสนเทศ  ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรอห้องสมุดเปิดทำการหรือเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน  ผู้ใช้สามารถคืนทรัพยากรสารสนเทศผ่านเครื่องคืนทรัพยากรสารสนเทศได้ทันที  จึงทำให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่พึงพอใจในการใช้บริการยืมคืนด้วยตนเอง \n3.      มีความปลอดภัยสูง\nห้องสมุดสามารถทราบได้ทันทีว่าในขณะนี้ทรัพยากรสารสนเทศรายการใดได้ยืมออกจากห้องสมุด  หรือทรัพยากรสารสนเทศรายการใดหายไปจากชั้นหนังสือ  เพื่อดำเนินการซื้อทดแทนรายการที่สูญหายได้ทันที  นอกจากนี้หากบัตรสมาชิกห้องสมุดได้ใช้เทคโนโลยี RFID ด้วยแล้ว  จะทำให้ห้องสมุดสามารถทราบได้ทันทีว่าสมาชิกคนใดได้นำทรัพยากรสารสนเทศออกจากห้องสมุด  โดยยังไม่ได้ผ่านกระบวนการยืมคืน\n4.  เพิ่มความรวดเร็วในการสำรวจชั้นหนังสือ\nการสำรวจชั้นหนังสือจะรวดเร็วขึ้นด้วยเครื่องอ่านแบบพกพาหรือแบบมือถือ (Hand-held inventory reader)  เพียงบรรณารักษ์ถือเครื่องอ่านนี้เดินตามชั้นหนังสือ  ก็สามารถทราบได้ทันทีว่าทรัพยากรสารสนเทศเหล่านั้นอยู่ถูกตำแหน่งโดยเรียงตามลำดับตามเลขเรียกหนังสือหรือไม่  และรายการทรัพยากรสารสนเทศใดบ้างที่หายไปจากชั้น  จึงช่วยลดปัญหาการไม่พบหนังสือบนชั้นได้เป็นอย่างดี  \n5.      ป้าย RFID มีอายุการใช้งานนาน\nป้าย RFID 1 ชิ้นสามารถผ่านการใช้งานยืมคืนอย่างน้อยที่สุด 100,000 ครั้ง  จึงจะถึงเวลาที่ต้องเปลี่ยนแผ่นใหม่\nการเริ่มใช้ RFID \nเนื่องจากงบประมาณในการจัดหา RFID นั้นค่อนข้างแพง เราจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องวางแผนในการจัดหาระบบ โดยเริ่มจาก\n-ปีงบประมาณ 49-50 สำนักได้เปลี่ยนระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาเป็น ALIST เพื่อการประหยัดงบประมาณในการบำรุงรักษาระบบห้องสมุด และรองรับการปรับปรุงรุ่น(Upgrade)ในอนาคต โดย ALIST รุ่นแรกที่สำนักได้ใช้คือ ALIST V.3 โดยทำการย้ายข้อมูลจากระบบห้องสมุดเดิมมาสู่ระบบ ALIST \n-ปีงบประมาณ 51 มีแนวคิดในการนำระบบห้องสมุด RFID มาใช้ โดยได้ทำการติดต่อผู้ขาย 3 ราย(ที่มีการทำตลาดในขณะนั้น)เข้ามานำเสนอเทคโนโลยี RFID ในห้องสมุดและวางแผนในการรวมระบบห้องสมุดเดิม(Magnetic)เข้ากับระบบ RFID \n-ปีงบประมาณ 53 จัดหาระบบ RFID สำหรับห้องสมุดและศูนย์การเรียนด้วยตนเอง สำหรับสำนัก ในส่วนของศูนย์กลางเพื่อทดลองใช้ก่อนที่จะใช้ในวิทยาเขตต่อไป ด้วยงบประมาณ 11 ล้านบาท(ระบบ RFID และสนับสนุนศูนย์การเรียนด้วยตนเอง) รองรับทรัพยากรสารสนเทศที่ 100,000 ชุด(ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อโสตประเภท Optical เช่น CD VCD DVD) โดยยังใช้ร่วมกับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ALIST V.3 ที่มีการพัฒนาในส่วนของ SIP2 แล้้ว ทั้งนี้ยังผนวกเข้ากับระบบห้องสมุดเดิม(Barcode และ Magnetic)ด้วย\n-ปีงบประมาณ 54 สำนักได้เปลี่ยนระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาเป็น ALIST V.4 และได้ทำการติดตั้งระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาเป็น ALIST V.4 ให้กับวิทยาเขตทั้ง 4 เพื่อให้ผู้ใช้ในวิทยาเขตได้ปรับตัวกับระบบห้องสมุดใหม่ก่อนที่ระบบ RFID จะติดตั้งในอนาคต ทั้งนี้ยังได้ติดตั้งเครื่องยืมคืนด้วยตนเองให้กับวิทยาเขตขอนแก่นเนื่องจากเป็นวิทยาเขตที่มีขนาดรองจากศูนย์กลาง เพื่อทดลองใช้ร่วมกับเฉพาะระบบแม่เหล็ก(เนื่องด้วยระบบที่จัดซื้อนั้นเป็นระบบ Hybrid)\n-ปีงบประมาณ 55 สำนักได้จัดหาระบบ RFID ให้กับวิทยาเขตทั้ง 4 ในส่วนของ Bookdrop สำหรับ วข.ขอนแก่น self check สำหรับ วข.สุรินทร์ กาฬสินธุ์ สกลนคร Workpadสำหรับทั้ง 4 วข. และ RFID tag โดยทั้งหมดจะเป็นระบบ Hybrid\n-ปีงบประมาณ 56 สำนักจะได้จัดหาระบบ RFID ให้กับวิทยาเขตทั้ง 4 ในส่วนของ Bookdrop, Workpad, RFID tag เพิ่มเติม\n\n\n\n
  5. สภาพทั่วไปของสำนักและมหาวิทยาลัย\nมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานเกิดขึ้นตามพระราบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.2548 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานเป็นหนึ่งในจำนวนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 9 แห่ง โดยมีศูนย์กลางมหาวิทยาลัย ที่จ.นครราชสีมาและ วิทยาเขตในสังกัดทั้งหมด 4 วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขต กาฬสินธ์ ขอนแก่น สุรินทร์ และสกลนคร มีสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมีหน้าที่ในการ จัดหา บริการ ทรัพยากรสารสเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ ในส่วนของศุนย์กลาง และงานวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ดูแลในวิทยาเขต สรุปง่ายๆคือ เรามี ห้องสมุดรวมกับศูนย์คอมพิวเตอร์ รวมกัน 5 ที่นั่นเอง ที่ต้องบอกให้ทุกท่านทราบสภาพดังกล่าวก่อน เพื่อที่จะได้รู้จักและเข้าในรูปแบบในการเลือกใช้ระบบ RFID ของเรามากขึ้น เพราะเรามีห้องสมุดถึง 5 ห้องสมุดด้วยกัน ดังนั้นหากต้องใช้ระบบ RFID เราจำเป็นที่จะต้องจัดหาเพื่อให้ครอบคลุมทุกพื้นที่บริการ\nข้อดีของ RFID ทางทฤษฎี\n1.      ลดขั้นตอนและประหยัดเวลาในการให้บริการยืมคืน\nเนื่องจากระบบเทคโนโลยี RFID เป็นระบบที่ใช้เทคโนโลยีจากคลื่นความถี่วิทยุในการตรวจสอบข้อมูล  บรรณารักษ์จึงไม่จำเป็นต้องเสียเวลาในการนำบาร์โค้ดหนังสือให้อยู่ในบริเวณที่เครื่องอ่านบาร์โค้ดสามารถอ่านได้  นอกจากนี้ยังสามารถอ่านได้ทีละหลายเล่มพร้อมๆกันอีกด้วย  จึงทำให้การบริการยืมคืนทรัพยากรสารนิเทศเป็นไปอย่างรวดเร็ว \n2.      ทำให้การยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศด้วยตนเองง่ายขึ้น\nห้องสมุดที่ติดตั้งระบบเทคโนโลยี RFID แล้ว  จะเอื้อให้ผู้ใช้ห้องสมุดสามารถยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศด้วยตนเอง  เวลาคืนทรัพยากรสารสนเทศ  ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรอห้องสมุดเปิดทำการหรือเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน  ผู้ใช้สามารถคืนทรัพยากรสารสนเทศผ่านเครื่องคืนทรัพยากรสารสนเทศได้ทันที  จึงทำให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่พึงพอใจในการใช้บริการยืมคืนด้วยตนเอง \n3.      มีความปลอดภัยสูง\nห้องสมุดสามารถทราบได้ทันทีว่าในขณะนี้ทรัพยากรสารสนเทศรายการใดได้ยืมออกจากห้องสมุด  หรือทรัพยากรสารสนเทศรายการใดหายไปจากชั้นหนังสือ  เพื่อดำเนินการซื้อทดแทนรายการที่สูญหายได้ทันที  นอกจากนี้หากบัตรสมาชิกห้องสมุดได้ใช้เทคโนโลยี RFID ด้วยแล้ว  จะทำให้ห้องสมุดสามารถทราบได้ทันทีว่าสมาชิกคนใดได้นำทรัพยากรสารสนเทศออกจากห้องสมุด  โดยยังไม่ได้ผ่านกระบวนการยืมคืน\n4.  เพิ่มความรวดเร็วในการสำรวจชั้นหนังสือ\nการสำรวจชั้นหนังสือจะรวดเร็วขึ้นด้วยเครื่องอ่านแบบพกพาหรือแบบมือถือ (Hand-held inventory reader)  เพียงบรรณารักษ์ถือเครื่องอ่านนี้เดินตามชั้นหนังสือ  ก็สามารถทราบได้ทันทีว่าทรัพยากรสารสนเทศเหล่านั้นอยู่ถูกตำแหน่งโดยเรียงตามลำดับตามเลขเรียกหนังสือหรือไม่  และรายการทรัพยากรสารสนเทศใดบ้างที่หายไปจากชั้น  จึงช่วยลดปัญหาการไม่พบหนังสือบนชั้นได้เป็นอย่างดี  \n5.      ป้าย RFID มีอายุการใช้งานนาน\nป้าย RFID 1 ชิ้นสามารถผ่านการใช้งานยืมคืนอย่างน้อยที่สุด 100,000 ครั้ง  จึงจะถึงเวลาที่ต้องเปลี่ยนแผ่นใหม่\nการเริ่มใช้ RFID \nเนื่องจากงบประมาณในการจัดหา RFID นั้นค่อนข้างแพง เราจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องวางแผนในการจัดหาระบบ โดยเริ่มจาก\n-ปีงบประมาณ 49-50 สำนักได้เปลี่ยนระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาเป็น ALIST เพื่อการประหยัดงบประมาณในการบำรุงรักษาระบบห้องสมุด และรองรับการปรับปรุงรุ่น(Upgrade)ในอนาคต โดย ALIST รุ่นแรกที่สำนักได้ใช้คือ ALIST V.3 โดยทำการย้ายข้อมูลจากระบบห้องสมุดเดิมมาสู่ระบบ ALIST \n-ปีงบประมาณ 51 มีแนวคิดในการนำระบบห้องสมุด RFID มาใช้ โดยได้ทำการติดต่อผู้ขาย 3 ราย(ที่มีการทำตลาดในขณะนั้น)เข้ามานำเสนอเทคโนโลยี RFID ในห้องสมุดและวางแผนในการรวมระบบห้องสมุดเดิม(Magnetic)เข้ากับระบบ RFID \n-ปีงบประมาณ 53 จัดหาระบบ RFID สำหรับห้องสมุดและศูนย์การเรียนด้วยตนเอง สำหรับสำนัก ในส่วนของศูนย์กลางเพื่อทดลองใช้ก่อนที่จะใช้ในวิทยาเขตต่อไป ด้วยงบประมาณ 11 ล้านบาท(ระบบ RFID และสนับสนุนศูนย์การเรียนด้วยตนเอง) รองรับทรัพยากรสารสนเทศที่ 100,000 ชุด(ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อโสตประเภท Optical เช่น CD VCD DVD) โดยยังใช้ร่วมกับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ALIST V.3 ที่มีการพัฒนาในส่วนของ SIP2 แล้้ว ทั้งนี้ยังผนวกเข้ากับระบบห้องสมุดเดิม(Barcode และ Magnetic)ด้วย\n-ปีงบประมาณ 54 สำนักได้เปลี่ยนระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาเป็น ALIST V.4 และได้ทำการติดตั้งระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาเป็น ALIST V.4 ให้กับวิทยาเขตทั้ง 4 เพื่อให้ผู้ใช้ในวิทยาเขตได้ปรับตัวกับระบบห้องสมุดใหม่ก่อนที่ระบบ RFID จะติดตั้งในอนาคต ทั้งนี้ยังได้ติดตั้งเครื่องยืมคืนด้วยตนเองให้กับวิทยาเขตขอนแก่นเนื่องจากเป็นวิทยาเขตที่มีขนาดรองจากศูนย์กลาง เพื่อทดลองใช้ร่วมกับเฉพาะระบบแม่เหล็ก(เนื่องด้วยระบบที่จัดซื้อนั้นเป็นระบบ Hybrid)\n-ปีงบประมาณ 55 สำนักได้จัดหาระบบ RFID ให้กับวิทยาเขตทั้ง 4 ในส่วนของ Bookdrop สำหรับ วข.ขอนแก่น self check สำหรับ วข.สุรินทร์ กาฬสินธุ์ สกลนคร Workpadสำหรับทั้ง 4 วข. และ RFID tag โดยทั้งหมดจะเป็นระบบ Hybrid\n-ปีงบประมาณ 56 สำนักจะได้จัดหาระบบ RFID ให้กับวิทยาเขตทั้ง 4 ในส่วนของ Bookdrop, Workpad, RFID tag เพิ่มเติม\n\n\n\n
  6. สำหรับปัญหาและอุปสรรคของระบบ RFID ใน มทร.อีสานนั้น อาจเป็นปัญหาเฉพาะที่เกิดขึ้นกับสำนักเราเท่านั้น อาจไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกที่ ดังนั้นสำหรับหัวข้อนี้จึงถือว่าเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันนะครับ \n การบริการผ่านระบบ RFID- หลังจากที่ได้ติดตั้งระบบ RFID แล้วสิ่งที่เรามักจะคาดหวังคือ ผู้ใช้บริการจะหันไปใช้เครื่องอัตโนมัติกันมาก จนทำให้ staff ของเราว่าง และสามารถไปทำงาน อื่นๆได้ แต่ในความเป็นจริงแล้วไม่เป็นเช่นนั้น ในปีแรกๆที่ผมยังไม่ได้รับมอบหมายให้ดูแลห้องสมุด จำนวนผู้ใช้เครื่องอัตโนมัตินั้นยังน้อยมาก จากการสอบถามยังห้องสมุดอื่นๆที่มี self check ก็เป็นเช่นเดียวกัน และในปีหลังๆถึงแม้เราจะมีโปรโมชั่นการใช้งาน เช่น การแจกของสมนาคุณ การให้รางวัลยอดนักยืมผ่านเครื่อง ก็ยังมียอดผู้ใช้น้อยกว่าเมื่อเทียบกับการใช้บริการผ่านเคาท์เตอร์บริการซึ่งบริการโดย staff ของเรา- สำหรับเครื่องคืนอัตโนมัติ(BookDrop) ก็จะมีข้อดีตรงที่สำนักสามารถขยายเวลาบริการในการส่งคืนหนังสือได้ตลอด 24 ชั่วโมง แต่นั่นก็ไม่ได้ทำให้ยอดการคืนทรัพยากรผ่านระบบนั้นมากมายทั้งยังมีปัญหาเรื่องความมั่นใจของผู้ส่งหนังสือ ว่าหนังสือของตนเองนั้นได้รับการส่งคืนจริงๆหรือเปล่า เพราะระบบที่เราเลือกใช้นั้นไม่มีการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้เลย มิหนำซ้ำหากระบบเครือข่ายมีปัญหาในช่วงที่มีการส่งหนังสือ ระบบก็จะไม่ทำการคืนหนังสือให้ ดังนั้นสำนักจึงต้องทำการตรวจสอบหนังการส่งอีกครั้งเพื่อความแน่ใจ อีกทั้งระบบ Hybrid ที่เราเลือกใช้นั้นมีเฉพาะ Self Check เลยทำให้ Bookdrop ไม่สามารถเติมแม่เหล็กได้\n
  7. สำหรับปัญหาและอุปสรรคของระบบ RFID ใน มทร.อีสานนั้น อาจเป็นปัญหาเฉพาะที่เกิดขึ้นกับสำนักเราเท่านั้น อาจไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกที่ ดังนั้นสำหรับหัวข้อนี้จึงถือว่าเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันนะครับ \n การบริการผ่านระบบ RFID- หลังจากที่ได้ติดตั้งระบบ RFID แล้วสิ่งที่เรามักจะคาดหวังคือ ผู้ใช้บริการจะหันไปใช้เครื่องอัตโนมัติกันมาก จนทำให้ staff ของเราว่าง และสามารถไปทำงาน อื่นๆได้ แต่ในความเป็นจริงแล้วไม่เป็นเช่นนั้น ในปีแรกๆที่ผมยังไม่ได้รับมอบหมายให้ดูแลห้องสมุด จำนวนผู้ใช้เครื่องอัตโนมัตินั้นยังน้อยมาก จากการสอบถามยังห้องสมุดอื่นๆที่มี self check ก็เป็นเช่นเดียวกัน และในปีหลังๆถึงแม้เราจะมีโปรโมชั่นการใช้งาน เช่น การแจกของสมนาคุณ การให้รางวัลยอดนักยืมผ่านเครื่อง ก็ยังมียอดผู้ใช้น้อยกว่าเมื่อเทียบกับการใช้บริการผ่านเคาท์เตอร์บริการซึ่งบริการโดย staff ของเรา- สำหรับเครื่องคืนอัตโนมัติ(BookDrop) ก็จะมีข้อดีตรงที่สำนักสามารถขยายเวลาบริการในการส่งคืนหนังสือได้ตลอด 24 ชั่วโมง แต่นั่นก็ไม่ได้ทำให้ยอดการคืนทรัพยากรผ่านระบบนั้นมากมายทั้งยังมีปัญหาเรื่องความมั่นใจของผู้ส่งหนังสือ ว่าหนังสือของตนเองนั้นได้รับการส่งคืนจริงๆหรือเปล่า เพราะระบบที่เราเลือกใช้นั้นไม่มีการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้เลย มิหนำซ้ำหากระบบเครือข่ายมีปัญหาในช่วงที่มีการส่งหนังสือ ระบบก็จะไม่ทำการคืนหนังสือให้ ดังนั้นสำนักจึงต้องทำการตรวจสอบหนังการส่งอีกครั้งเพื่อความแน่ใจ อีกทั้งระบบ Hybrid ที่เราเลือกใช้นั้นมีเฉพาะ Self Check เลยทำให้ Bookdrop ไม่สามารถเติมแม่เหล็กได้\n
  8. อุปกรณ์ RFID สำหรับปัญหาและอุปสรรคของตัวอุปกรณ์นั้นขอแบ่งตามตัวอุปกรณ์ที่สำนักจัดหามาเลย โดยขอเริ่มจาก-Self Check ปัญหาของ Self check ที่สำนักพบคือ เกี่ยวข้องกับเครือข่ายภายใน เพราะถ้าหากระบบเครือข่ายมีปัญหา self check ซึ่งอ่อนไหวกว่าระบบห้องสมุดอัตโนมัติ มักจะใช้การไม่ได้ไปเฉยๆ และอีกประการคือ การแปลภาษาไทยของเจ้าของผลิตภัณฑ์ยังไม่ดีพอ ทำให้ผู้ใช้อ่านแล้วยังงง งง กับคำอธิบายซึ่งทางสำนักก็ต้องเขาไปแปลและแก้ไขเองในหลายส่วน แต่ก็มีข้อดีคือ สำนักเลือกระบบ Hybrid ดังนั้นในการยืมทรัพยากรระบบจะทำการเขียนข้อมูลลงใน rfid และล้างสนามแม่เหล็กได้ในตัว-Book Drop เนื่องจากระบบที่เราเลือกใช้นั้นไม่มีการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้เลย มิหนำซ้ำหากระบบเครือข่ายภายในมีปัญหาในช่วงที่มีการส่งหนังสือ ระบบก็จะไม่ทำการคืนหนังสือให้ เป็นผลทำให้ staff ของเราต้องนำหนังสือมาตรวจสอบอีกครั้งเพื่อความแน่ใจ แต่ระบบเองก็จะมีรายการแจ้งทางเครื่องพิมพ์อยู่แล้วสำหรับรายการที่มีปัญหา ดังนั้นหากจำนวนหนังสือที่คืนมีมากก็เลือกตรวจแต่เฉพาะรายการที่มีปัญหาเท่านั้นก็ได้ และทางออกอีกทางคือการติดกล้องวงจรปิดร่วมกัน เมื่อผู้ใช้อ้างว่าได้ส่งคืนแล้วทาง BookDrop วันไหนก็ทำการเปิดกล้องตรวจสอบย้อนหลังได้-WorkPad เนื่องจากระบบ การเขียน การย้ายข้อมูล Barcode ไปสู่ RFID นั้นจะต้องทำผ่านชุด workpad โดยจะมีชื่อเรียก 2 ชื่อคือ ชุดยืมคืนผ่านเจ้าหน้าที่ และชุดทำงานสำหรับบรรณารักษ์ ซึ่งจริงๆคือชุดเดียวกัน การใช้งานมักจะมีปัญหาในช่วงแรกที่ staff ยังต้องทำความคุ้นเคยกับการเลือก check-in หรือ check-out จาก Software แต่เมื่อใช้งานไปสักระยะแล้ว staff ก็จะชินไปเอง แต่ปัญหาที่ สำนักเจอคือ Workpad ไม่สามารถทำงานที่ Counter บริการได้ทั้งที่เคยใช้ได้ที่ counter อื่นๆมาก่อน สาเหตุที่เราพบคือ เนื่องจาก Counter บริการนั้นสำนักได้จัดทำเป็น Furniture แบบ Build-in และติด TOP ลามิเนตที่มีส่วนผสมของโลหะ ทำให้สัญญาณ RF ถูกดูดซับไปหมด วิธีการแก้ไขคือ หาแท่นหรือกล่องไม้ติดด้วย laminate ที่ไม่นำไฟฟ้ามารอง สูงประมาณ 10 CM ก็แก้ปัญหาได้ เพราะฉนั้่นในการเลือก RFID และติดตั้งสิ่งที่ต้องระวังคือ โลหะที่ใกล้กับอุปกรณ์มากๆ และควรมีไม่น้อยกว่า 2 ตัว เพื่อใช้ในการจัดการทรัพยากรและยืมคืน-RFID Tag ในช่วงที่มีการติด RFID Tag ที่สำนัก พบว่ามี RFID tag เสียด้้วย เพราะฉนั้นหากเจอต้องแกะออกมาเพื่อนำไป claim กับผู้ขายได้โดยพบเสียไม่ถึง 0.1% ของจำนวน Tag ทั้งหมด แต่ปัญหาไม่ได้อยู่แค่ตรงนั้น เท่าที่เราทราบกันดีคือ RFID Tag นั้นมีความอ่อนแอพอสมควร เช่นหากฉีกขาด ถูกบดบังด้วยวัตถุบางประเภท ก็จะทำให้ไม่สามารถใช้งานได้ ที่สำคัญ หาเจอได้ง่ายเพราะติดอยู่ที่ปกหลัง วิธีการแก้ปัญหาของสำนักคือ ช่วงแรกจัดทำปกแข็งให้กับหนังสือ แต่เนื่องด้วยบุคลากรไม่เพียงพอ และงบประมาณด้านวัสดุค่อนข้างจำกัดจึงเลิกไป และหันมาใช้วิธีเดิมคือ ใช้แถบแม่เหล็ก ควบคู่ไป ส่วน Tag ก็ติด Sticker ทับเพื่อความปลอดภัย-Handheld Inventory เป็นอุปกรร์ตัวนึงที่มีราคาแพงมาก แต่การใช้งานน้อยมาก ปีนึงจะใช้แค่ไม่กี่ครั้ง ข้อแนะนำคือ ไม่สมควรแก่การลงทุนอย่างยิ่ง เพราะการ Download และ Upload ข้อมูลเข้าไปใน Handheld นั้นยุ่งยากมาก ต้องอาศัยความช่วยเหลือจาก ทีม ALIST บ่อยๆ แต่ที่สำคัญที่สุดให้ทุกท่านคิดถึงหนังสือบนชั้นเรียงกันเป็นตับ แล้วจะเอาเจ้าตัว HandHeld ไป scan เพื่อดูการจัดชั้น ทำได้ยากมากเพราะ rfid อาจจะไปเจอหนังสือชั้นใกล้ๆกัน ทำให้ข้อมูลผิดพลาด ข้อมูลจากช่างบอกว่า เอาไว้กวาดๆหาหนังสือหายดีกว่า-Security Gate อย่างที่เรียนให้ทุกท่านทราบถึงประโยชน์ของ RFID ตั้งแต่แรกแล้วนะครับเรื่องการรักษาความปลอดภัย แต่ก็อย่างที่ทุกท่านทราบกันว่า RFID นั้นก็มีจุดอ่อนในเรื่องนี้ ดังนั้นสำนักจึงมีการติด security gate ทั้งสองระบบขนานกันและทำการเชื่อมต่อไปยังประตูอัตโนมัติ หากมีการนำทรัพยากรที่ไม่ได้ยืมอย่างถูกต้องออกจากห้องสมุด Security Gate จะส่งสัญญาณดังและ lock ประตูทันที อีกประเด็นที่ต้อวระวังอย่างมากคือ เรื่องของการติดตั้งใกล้กับโลหะ เพราะอาจเกิดการรบกวนของสัญญาณได้\n
  9. อุปกรณ์ RFID สำหรับปัญหาและอุปสรรคของตัวอุปกรณ์นั้นขอแบ่งตามตัวอุปกรณ์ที่สำนักจัดหามาเลย โดยขอเริ่มจาก-Self Check ปัญหาของ Self check ที่สำนักพบคือ เกี่ยวข้องกับเครือข่ายภายใน เพราะถ้าหากระบบเครือข่ายมีปัญหา self check ซึ่งอ่อนไหวกว่าระบบห้องสมุดอัตโนมัติ มักจะใช้การไม่ได้ไปเฉยๆ และอีกประการคือ การแปลภาษาไทยของเจ้าของผลิตภัณฑ์ยังไม่ดีพอ ทำให้ผู้ใช้อ่านแล้วยังงง งง กับคำอธิบายซึ่งทางสำนักก็ต้องเขาไปแปลและแก้ไขเองในหลายส่วน แต่ก็มีข้อดีคือ สำนักเลือกระบบ Hybrid ดังนั้นในการยืมทรัพยากรระบบจะทำการเขียนข้อมูลลงใน rfid และล้างสนามแม่เหล็กได้ในตัว-Book Drop เนื่องจากระบบที่เราเลือกใช้นั้นไม่มีการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้เลย มิหนำซ้ำหากระบบเครือข่ายภายในมีปัญหาในช่วงที่มีการส่งหนังสือ ระบบก็จะไม่ทำการคืนหนังสือให้ เป็นผลทำให้ staff ของเราต้องนำหนังสือมาตรวจสอบอีกครั้งเพื่อความแน่ใจ แต่ระบบเองก็จะมีรายการแจ้งทางเครื่องพิมพ์อยู่แล้วสำหรับรายการที่มีปัญหา ดังนั้นหากจำนวนหนังสือที่คืนมีมากก็เลือกตรวจแต่เฉพาะรายการที่มีปัญหาเท่านั้นก็ได้ และทางออกอีกทางคือการติดกล้องวงจรปิดร่วมกัน เมื่อผู้ใช้อ้างว่าได้ส่งคืนแล้วทาง BookDrop วันไหนก็ทำการเปิดกล้องตรวจสอบย้อนหลังได้-WorkPad เนื่องจากระบบ การเขียน การย้ายข้อมูล Barcode ไปสู่ RFID นั้นจะต้องทำผ่านชุด workpad โดยจะมีชื่อเรียก 2 ชื่อคือ ชุดยืมคืนผ่านเจ้าหน้าที่ และชุดทำงานสำหรับบรรณารักษ์ ซึ่งจริงๆคือชุดเดียวกัน การใช้งานมักจะมีปัญหาในช่วงแรกที่ staff ยังต้องทำความคุ้นเคยกับการเลือก check-in หรือ check-out จาก Software แต่เมื่อใช้งานไปสักระยะแล้ว staff ก็จะชินไปเอง แต่ปัญหาที่ สำนักเจอคือ Workpad ไม่สามารถทำงานที่ Counter บริการได้ทั้งที่เคยใช้ได้ที่ counter อื่นๆมาก่อน สาเหตุที่เราพบคือ เนื่องจาก Counter บริการนั้นสำนักได้จัดทำเป็น Furniture แบบ Build-in และติด TOP ลามิเนตที่มีส่วนผสมของโลหะ ทำให้สัญญาณ RF ถูกดูดซับไปหมด วิธีการแก้ไขคือ หาแท่นหรือกล่องไม้ติดด้วย laminate ที่ไม่นำไฟฟ้ามารอง สูงประมาณ 10 CM ก็แก้ปัญหาได้ เพราะฉนั้่นในการเลือก RFID และติดตั้งสิ่งที่ต้องระวังคือ โลหะที่ใกล้กับอุปกรณ์มากๆ และควรมีไม่น้อยกว่า 2 ตัว เพื่อใช้ในการจัดการทรัพยากรและยืมคืน-RFID Tag ในช่วงที่มีการติด RFID Tag ที่สำนัก พบว่ามี RFID tag เสียด้้วย เพราะฉนั้นหากเจอต้องแกะออกมาเพื่อนำไป claim กับผู้ขายได้โดยพบเสียไม่ถึง 0.1% ของจำนวน Tag ทั้งหมด แต่ปัญหาไม่ได้อยู่แค่ตรงนั้น เท่าที่เราทราบกันดีคือ RFID Tag นั้นมีความอ่อนแอพอสมควร เช่นหากฉีกขาด ถูกบดบังด้วยวัตถุบางประเภท ก็จะทำให้ไม่สามารถใช้งานได้ ที่สำคัญ หาเจอได้ง่ายเพราะติดอยู่ที่ปกหลัง วิธีการแก้ปัญหาของสำนักคือ ช่วงแรกจัดทำปกแข็งให้กับหนังสือ แต่เนื่องด้วยบุคลากรไม่เพียงพอ และงบประมาณด้านวัสดุค่อนข้างจำกัดจึงเลิกไป และหันมาใช้วิธีเดิมคือ ใช้แถบแม่เหล็ก ควบคู่ไป ส่วน Tag ก็ติด Sticker ทับเพื่อความปลอดภัย-Handheld Inventory เป็นอุปกรร์ตัวนึงที่มีราคาแพงมาก แต่การใช้งานน้อยมาก ปีนึงจะใช้แค่ไม่กี่ครั้ง ข้อแนะนำคือ ไม่สมควรแก่การลงทุนอย่างยิ่ง เพราะการ Download และ Upload ข้อมูลเข้าไปใน Handheld นั้นยุ่งยากมาก ต้องอาศัยความช่วยเหลือจาก ทีม ALIST บ่อยๆ แต่ที่สำคัญที่สุดให้ทุกท่านคิดถึงหนังสือบนชั้นเรียงกันเป็นตับ แล้วจะเอาเจ้าตัว HandHeld ไป scan เพื่อดูการจัดชั้น ทำได้ยากมากเพราะ rfid อาจจะไปเจอหนังสือชั้นใกล้ๆกัน ทำให้ข้อมูลผิดพลาด ข้อมูลจากช่างบอกว่า เอาไว้กวาดๆหาหนังสือหายดีกว่า-Security Gate อย่างที่เรียนให้ทุกท่านทราบถึงประโยชน์ของ RFID ตั้งแต่แรกแล้วนะครับเรื่องการรักษาความปลอดภัย แต่ก็อย่างที่ทุกท่านทราบกันว่า RFID นั้นก็มีจุดอ่อนในเรื่องนี้ ดังนั้นสำนักจึงมีการติด security gate ทั้งสองระบบขนานกันและทำการเชื่อมต่อไปยังประตูอัตโนมัติ หากมีการนำทรัพยากรที่ไม่ได้ยืมอย่างถูกต้องออกจากห้องสมุด Security Gate จะส่งสัญญาณดังและ lock ประตูทันที อีกประเด็นที่ต้อวระวังอย่างมากคือ เรื่องของการติดตั้งใกล้กับโลหะ เพราะอาจเกิดการรบกวนของสัญญาณได้\n
  10. อุปกรณ์ RFID สำหรับปัญหาและอุปสรรคของตัวอุปกรณ์นั้นขอแบ่งตามตัวอุปกรณ์ที่สำนักจัดหามาเลย โดยขอเริ่มจาก-Self Check ปัญหาของ Self check ที่สำนักพบคือ เกี่ยวข้องกับเครือข่ายภายใน เพราะถ้าหากระบบเครือข่ายมีปัญหา self check ซึ่งอ่อนไหวกว่าระบบห้องสมุดอัตโนมัติ มักจะใช้การไม่ได้ไปเฉยๆ และอีกประการคือ การแปลภาษาไทยของเจ้าของผลิตภัณฑ์ยังไม่ดีพอ ทำให้ผู้ใช้อ่านแล้วยังงง งง กับคำอธิบายซึ่งทางสำนักก็ต้องเขาไปแปลและแก้ไขเองในหลายส่วน แต่ก็มีข้อดีคือ สำนักเลือกระบบ Hybrid ดังนั้นในการยืมทรัพยากรระบบจะทำการเขียนข้อมูลลงใน rfid และล้างสนามแม่เหล็กได้ในตัว-Book Drop เนื่องจากระบบที่เราเลือกใช้นั้นไม่มีการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้เลย มิหนำซ้ำหากระบบเครือข่ายภายในมีปัญหาในช่วงที่มีการส่งหนังสือ ระบบก็จะไม่ทำการคืนหนังสือให้ เป็นผลทำให้ staff ของเราต้องนำหนังสือมาตรวจสอบอีกครั้งเพื่อความแน่ใจ แต่ระบบเองก็จะมีรายการแจ้งทางเครื่องพิมพ์อยู่แล้วสำหรับรายการที่มีปัญหา ดังนั้นหากจำนวนหนังสือที่คืนมีมากก็เลือกตรวจแต่เฉพาะรายการที่มีปัญหาเท่านั้นก็ได้ และทางออกอีกทางคือการติดกล้องวงจรปิดร่วมกัน เมื่อผู้ใช้อ้างว่าได้ส่งคืนแล้วทาง BookDrop วันไหนก็ทำการเปิดกล้องตรวจสอบย้อนหลังได้-WorkPad เนื่องจากระบบ การเขียน การย้ายข้อมูล Barcode ไปสู่ RFID นั้นจะต้องทำผ่านชุด workpad โดยจะมีชื่อเรียก 2 ชื่อคือ ชุดยืมคืนผ่านเจ้าหน้าที่ และชุดทำงานสำหรับบรรณารักษ์ ซึ่งจริงๆคือชุดเดียวกัน การใช้งานมักจะมีปัญหาในช่วงแรกที่ staff ยังต้องทำความคุ้นเคยกับการเลือก check-in หรือ check-out จาก Software แต่เมื่อใช้งานไปสักระยะแล้ว staff ก็จะชินไปเอง แต่ปัญหาที่ สำนักเจอคือ Workpad ไม่สามารถทำงานที่ Counter บริการได้ทั้งที่เคยใช้ได้ที่ counter อื่นๆมาก่อน สาเหตุที่เราพบคือ เนื่องจาก Counter บริการนั้นสำนักได้จัดทำเป็น Furniture แบบ Build-in และติด TOP ลามิเนตที่มีส่วนผสมของโลหะ ทำให้สัญญาณ RF ถูกดูดซับไปหมด วิธีการแก้ไขคือ หาแท่นหรือกล่องไม้ติดด้วย laminate ที่ไม่นำไฟฟ้ามารอง สูงประมาณ 10 CM ก็แก้ปัญหาได้ เพราะฉนั้่นในการเลือก RFID และติดตั้งสิ่งที่ต้องระวังคือ โลหะที่ใกล้กับอุปกรณ์มากๆ และควรมีไม่น้อยกว่า 2 ตัว เพื่อใช้ในการจัดการทรัพยากรและยืมคืน-RFID Tag ในช่วงที่มีการติด RFID Tag ที่สำนัก พบว่ามี RFID tag เสียด้้วย เพราะฉนั้นหากเจอต้องแกะออกมาเพื่อนำไป claim กับผู้ขายได้โดยพบเสียไม่ถึง 0.1% ของจำนวน Tag ทั้งหมด แต่ปัญหาไม่ได้อยู่แค่ตรงนั้น เท่าที่เราทราบกันดีคือ RFID Tag นั้นมีความอ่อนแอพอสมควร เช่นหากฉีกขาด ถูกบดบังด้วยวัตถุบางประเภท ก็จะทำให้ไม่สามารถใช้งานได้ ที่สำคัญ หาเจอได้ง่ายเพราะติดอยู่ที่ปกหลัง วิธีการแก้ปัญหาของสำนักคือ ช่วงแรกจัดทำปกแข็งให้กับหนังสือ แต่เนื่องด้วยบุคลากรไม่เพียงพอ และงบประมาณด้านวัสดุค่อนข้างจำกัดจึงเลิกไป และหันมาใช้วิธีเดิมคือ ใช้แถบแม่เหล็ก ควบคู่ไป ส่วน Tag ก็ติด Sticker ทับเพื่อความปลอดภัย-Handheld Inventory เป็นอุปกรร์ตัวนึงที่มีราคาแพงมาก แต่การใช้งานน้อยมาก ปีนึงจะใช้แค่ไม่กี่ครั้ง ข้อแนะนำคือ ไม่สมควรแก่การลงทุนอย่างยิ่ง เพราะการ Download และ Upload ข้อมูลเข้าไปใน Handheld นั้นยุ่งยากมาก ต้องอาศัยความช่วยเหลือจาก ทีม ALIST บ่อยๆ แต่ที่สำคัญที่สุดให้ทุกท่านคิดถึงหนังสือบนชั้นเรียงกันเป็นตับ แล้วจะเอาเจ้าตัว HandHeld ไป scan เพื่อดูการจัดชั้น ทำได้ยากมากเพราะ rfid อาจจะไปเจอหนังสือชั้นใกล้ๆกัน ทำให้ข้อมูลผิดพลาด ข้อมูลจากช่างบอกว่า เอาไว้กวาดๆหาหนังสือหายดีกว่า-Security Gate อย่างที่เรียนให้ทุกท่านทราบถึงประโยชน์ของ RFID ตั้งแต่แรกแล้วนะครับเรื่องการรักษาความปลอดภัย แต่ก็อย่างที่ทุกท่านทราบกันว่า RFID นั้นก็มีจุดอ่อนในเรื่องนี้ ดังนั้นสำนักจึงมีการติด security gate ทั้งสองระบบขนานกันและทำการเชื่อมต่อไปยังประตูอัตโนมัติ หากมีการนำทรัพยากรที่ไม่ได้ยืมอย่างถูกต้องออกจากห้องสมุด Security Gate จะส่งสัญญาณดังและ lock ประตูทันที อีกประเด็นที่ต้อวระวังอย่างมากคือ เรื่องของการติดตั้งใกล้กับโลหะ เพราะอาจเกิดการรบกวนของสัญญาณได้\n
  11. อุปกรณ์ RFID สำหรับปัญหาและอุปสรรคของตัวอุปกรณ์นั้นขอแบ่งตามตัวอุปกรณ์ที่สำนักจัดหามาเลย โดยขอเริ่มจาก-Self Check ปัญหาของ Self check ที่สำนักพบคือ เกี่ยวข้องกับเครือข่ายภายใน เพราะถ้าหากระบบเครือข่ายมีปัญหา self check ซึ่งอ่อนไหวกว่าระบบห้องสมุดอัตโนมัติ มักจะใช้การไม่ได้ไปเฉยๆ และอีกประการคือ การแปลภาษาไทยของเจ้าของผลิตภัณฑ์ยังไม่ดีพอ ทำให้ผู้ใช้อ่านแล้วยังงง งง กับคำอธิบายซึ่งทางสำนักก็ต้องเขาไปแปลและแก้ไขเองในหลายส่วน แต่ก็มีข้อดีคือ สำนักเลือกระบบ Hybrid ดังนั้นในการยืมทรัพยากรระบบจะทำการเขียนข้อมูลลงใน rfid และล้างสนามแม่เหล็กได้ในตัว-Book Drop เนื่องจากระบบที่เราเลือกใช้นั้นไม่มีการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้เลย มิหนำซ้ำหากระบบเครือข่ายภายในมีปัญหาในช่วงที่มีการส่งหนังสือ ระบบก็จะไม่ทำการคืนหนังสือให้ เป็นผลทำให้ staff ของเราต้องนำหนังสือมาตรวจสอบอีกครั้งเพื่อความแน่ใจ แต่ระบบเองก็จะมีรายการแจ้งทางเครื่องพิมพ์อยู่แล้วสำหรับรายการที่มีปัญหา ดังนั้นหากจำนวนหนังสือที่คืนมีมากก็เลือกตรวจแต่เฉพาะรายการที่มีปัญหาเท่านั้นก็ได้ และทางออกอีกทางคือการติดกล้องวงจรปิดร่วมกัน เมื่อผู้ใช้อ้างว่าได้ส่งคืนแล้วทาง BookDrop วันไหนก็ทำการเปิดกล้องตรวจสอบย้อนหลังได้-WorkPad เนื่องจากระบบ การเขียน การย้ายข้อมูล Barcode ไปสู่ RFID นั้นจะต้องทำผ่านชุด workpad โดยจะมีชื่อเรียก 2 ชื่อคือ ชุดยืมคืนผ่านเจ้าหน้าที่ และชุดทำงานสำหรับบรรณารักษ์ ซึ่งจริงๆคือชุดเดียวกัน การใช้งานมักจะมีปัญหาในช่วงแรกที่ staff ยังต้องทำความคุ้นเคยกับการเลือก check-in หรือ check-out จาก Software แต่เมื่อใช้งานไปสักระยะแล้ว staff ก็จะชินไปเอง แต่ปัญหาที่ สำนักเจอคือ Workpad ไม่สามารถทำงานที่ Counter บริการได้ทั้งที่เคยใช้ได้ที่ counter อื่นๆมาก่อน สาเหตุที่เราพบคือ เนื่องจาก Counter บริการนั้นสำนักได้จัดทำเป็น Furniture แบบ Build-in และติด TOP ลามิเนตที่มีส่วนผสมของโลหะ ทำให้สัญญาณ RF ถูกดูดซับไปหมด วิธีการแก้ไขคือ หาแท่นหรือกล่องไม้ติดด้วย laminate ที่ไม่นำไฟฟ้ามารอง สูงประมาณ 10 CM ก็แก้ปัญหาได้ เพราะฉนั้่นในการเลือก RFID และติดตั้งสิ่งที่ต้องระวังคือ โลหะที่ใกล้กับอุปกรณ์มากๆ และควรมีไม่น้อยกว่า 2 ตัว เพื่อใช้ในการจัดการทรัพยากรและยืมคืน-RFID Tag ในช่วงที่มีการติด RFID Tag ที่สำนัก พบว่ามี RFID tag เสียด้้วย เพราะฉนั้นหากเจอต้องแกะออกมาเพื่อนำไป claim กับผู้ขายได้โดยพบเสียไม่ถึง 0.1% ของจำนวน Tag ทั้งหมด แต่ปัญหาไม่ได้อยู่แค่ตรงนั้น เท่าที่เราทราบกันดีคือ RFID Tag นั้นมีความอ่อนแอพอสมควร เช่นหากฉีกขาด ถูกบดบังด้วยวัตถุบางประเภท ก็จะทำให้ไม่สามารถใช้งานได้ ที่สำคัญ หาเจอได้ง่ายเพราะติดอยู่ที่ปกหลัง วิธีการแก้ปัญหาของสำนักคือ ช่วงแรกจัดทำปกแข็งให้กับหนังสือ แต่เนื่องด้วยบุคลากรไม่เพียงพอ และงบประมาณด้านวัสดุค่อนข้างจำกัดจึงเลิกไป และหันมาใช้วิธีเดิมคือ ใช้แถบแม่เหล็ก ควบคู่ไป ส่วน Tag ก็ติด Sticker ทับเพื่อความปลอดภัย-Handheld Inventory เป็นอุปกรร์ตัวนึงที่มีราคาแพงมาก แต่การใช้งานน้อยมาก ปีนึงจะใช้แค่ไม่กี่ครั้ง ข้อแนะนำคือ ไม่สมควรแก่การลงทุนอย่างยิ่ง เพราะการ Download และ Upload ข้อมูลเข้าไปใน Handheld นั้นยุ่งยากมาก ต้องอาศัยความช่วยเหลือจาก ทีม ALIST บ่อยๆ แต่ที่สำคัญที่สุดให้ทุกท่านคิดถึงหนังสือบนชั้นเรียงกันเป็นตับ แล้วจะเอาเจ้าตัว HandHeld ไป scan เพื่อดูการจัดชั้น ทำได้ยากมากเพราะ rfid อาจจะไปเจอหนังสือชั้นใกล้ๆกัน ทำให้ข้อมูลผิดพลาด ข้อมูลจากช่างบอกว่า เอาไว้กวาดๆหาหนังสือหายดีกว่า-Security Gate อย่างที่เรียนให้ทุกท่านทราบถึงประโยชน์ของ RFID ตั้งแต่แรกแล้วนะครับเรื่องการรักษาความปลอดภัย แต่ก็อย่างที่ทุกท่านทราบกันว่า RFID นั้นก็มีจุดอ่อนในเรื่องนี้ ดังนั้นสำนักจึงมีการติด security gate ทั้งสองระบบขนานกันและทำการเชื่อมต่อไปยังประตูอัตโนมัติ หากมีการนำทรัพยากรที่ไม่ได้ยืมอย่างถูกต้องออกจากห้องสมุด Security Gate จะส่งสัญญาณดังและ lock ประตูทันที อีกประเด็นที่ต้อวระวังอย่างมากคือ เรื่องของการติดตั้งใกล้กับโลหะ เพราะอาจเกิดการรบกวนของสัญญาณได้\n
  12. อุปกรณ์ RFID สำหรับปัญหาและอุปสรรคของตัวอุปกรณ์นั้นขอแบ่งตามตัวอุปกรณ์ที่สำนักจัดหามาเลย โดยขอเริ่มจาก-Self Check ปัญหาของ Self check ที่สำนักพบคือ เกี่ยวข้องกับเครือข่ายภายใน เพราะถ้าหากระบบเครือข่ายมีปัญหา self check ซึ่งอ่อนไหวกว่าระบบห้องสมุดอัตโนมัติ มักจะใช้การไม่ได้ไปเฉยๆ และอีกประการคือ การแปลภาษาไทยของเจ้าของผลิตภัณฑ์ยังไม่ดีพอ ทำให้ผู้ใช้อ่านแล้วยังงง งง กับคำอธิบายซึ่งทางสำนักก็ต้องเขาไปแปลและแก้ไขเองในหลายส่วน แต่ก็มีข้อดีคือ สำนักเลือกระบบ Hybrid ดังนั้นในการยืมทรัพยากรระบบจะทำการเขียนข้อมูลลงใน rfid และล้างสนามแม่เหล็กได้ในตัว-Book Drop เนื่องจากระบบที่เราเลือกใช้นั้นไม่มีการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้เลย มิหนำซ้ำหากระบบเครือข่ายภายในมีปัญหาในช่วงที่มีการส่งหนังสือ ระบบก็จะไม่ทำการคืนหนังสือให้ เป็นผลทำให้ staff ของเราต้องนำหนังสือมาตรวจสอบอีกครั้งเพื่อความแน่ใจ แต่ระบบเองก็จะมีรายการแจ้งทางเครื่องพิมพ์อยู่แล้วสำหรับรายการที่มีปัญหา ดังนั้นหากจำนวนหนังสือที่คืนมีมากก็เลือกตรวจแต่เฉพาะรายการที่มีปัญหาเท่านั้นก็ได้ และทางออกอีกทางคือการติดกล้องวงจรปิดร่วมกัน เมื่อผู้ใช้อ้างว่าได้ส่งคืนแล้วทาง BookDrop วันไหนก็ทำการเปิดกล้องตรวจสอบย้อนหลังได้-WorkPad เนื่องจากระบบ การเขียน การย้ายข้อมูล Barcode ไปสู่ RFID นั้นจะต้องทำผ่านชุด workpad โดยจะมีชื่อเรียก 2 ชื่อคือ ชุดยืมคืนผ่านเจ้าหน้าที่ และชุดทำงานสำหรับบรรณารักษ์ ซึ่งจริงๆคือชุดเดียวกัน การใช้งานมักจะมีปัญหาในช่วงแรกที่ staff ยังต้องทำความคุ้นเคยกับการเลือก check-in หรือ check-out จาก Software แต่เมื่อใช้งานไปสักระยะแล้ว staff ก็จะชินไปเอง แต่ปัญหาที่ สำนักเจอคือ Workpad ไม่สามารถทำงานที่ Counter บริการได้ทั้งที่เคยใช้ได้ที่ counter อื่นๆมาก่อน สาเหตุที่เราพบคือ เนื่องจาก Counter บริการนั้นสำนักได้จัดทำเป็น Furniture แบบ Build-in และติด TOP ลามิเนตที่มีส่วนผสมของโลหะ ทำให้สัญญาณ RF ถูกดูดซับไปหมด วิธีการแก้ไขคือ หาแท่นหรือกล่องไม้ติดด้วย laminate ที่ไม่นำไฟฟ้ามารอง สูงประมาณ 10 CM ก็แก้ปัญหาได้ เพราะฉนั้่นในการเลือก RFID และติดตั้งสิ่งที่ต้องระวังคือ โลหะที่ใกล้กับอุปกรณ์มากๆ และควรมีไม่น้อยกว่า 2 ตัว เพื่อใช้ในการจัดการทรัพยากรและยืมคืน-RFID Tag ในช่วงที่มีการติด RFID Tag ที่สำนัก พบว่ามี RFID tag เสียด้้วย เพราะฉนั้นหากเจอต้องแกะออกมาเพื่อนำไป claim กับผู้ขายได้โดยพบเสียไม่ถึง 0.1% ของจำนวน Tag ทั้งหมด แต่ปัญหาไม่ได้อยู่แค่ตรงนั้น เท่าที่เราทราบกันดีคือ RFID Tag นั้นมีความอ่อนแอพอสมควร เช่นหากฉีกขาด ถูกบดบังด้วยวัตถุบางประเภท ก็จะทำให้ไม่สามารถใช้งานได้ ที่สำคัญ หาเจอได้ง่ายเพราะติดอยู่ที่ปกหลัง วิธีการแก้ปัญหาของสำนักคือ ช่วงแรกจัดทำปกแข็งให้กับหนังสือ แต่เนื่องด้วยบุคลากรไม่เพียงพอ และงบประมาณด้านวัสดุค่อนข้างจำกัดจึงเลิกไป และหันมาใช้วิธีเดิมคือ ใช้แถบแม่เหล็ก ควบคู่ไป ส่วน Tag ก็ติด Sticker ทับเพื่อความปลอดภัย-Handheld Inventory เป็นอุปกรร์ตัวนึงที่มีราคาแพงมาก แต่การใช้งานน้อยมาก ปีนึงจะใช้แค่ไม่กี่ครั้ง ข้อแนะนำคือ ไม่สมควรแก่การลงทุนอย่างยิ่ง เพราะการ Download และ Upload ข้อมูลเข้าไปใน Handheld นั้นยุ่งยากมาก ต้องอาศัยความช่วยเหลือจาก ทีม ALIST บ่อยๆ แต่ที่สำคัญที่สุดให้ทุกท่านคิดถึงหนังสือบนชั้นเรียงกันเป็นตับ แล้วจะเอาเจ้าตัว HandHeld ไป scan เพื่อดูการจัดชั้น ทำได้ยากมากเพราะ rfid อาจจะไปเจอหนังสือชั้นใกล้ๆกัน ทำให้ข้อมูลผิดพลาด ข้อมูลจากช่างบอกว่า เอาไว้กวาดๆหาหนังสือหายดีกว่า-Security Gate อย่างที่เรียนให้ทุกท่านทราบถึงประโยชน์ของ RFID ตั้งแต่แรกแล้วนะครับเรื่องการรักษาความปลอดภัย แต่ก็อย่างที่ทุกท่านทราบกันว่า RFID นั้นก็มีจุดอ่อนในเรื่องนี้ ดังนั้นสำนักจึงมีการติด security gate ทั้งสองระบบขนานกันและทำการเชื่อมต่อไปยังประตูอัตโนมัติ หากมีการนำทรัพยากรที่ไม่ได้ยืมอย่างถูกต้องออกจากห้องสมุด Security Gate จะส่งสัญญาณดังและ lock ประตูทันที อีกประเด็นที่ต้อวระวังอย่างมากคือ เรื่องของการติดตั้งใกล้กับโลหะ เพราะอาจเกิดการรบกวนของสัญญาณได้\n
  13. อุปกรณ์ RFID สำหรับปัญหาและอุปสรรคของตัวอุปกรณ์นั้นขอแบ่งตามตัวอุปกรณ์ที่สำนักจัดหามาเลย โดยขอเริ่มจาก-Self Check ปัญหาของ Self check ที่สำนักพบคือ เกี่ยวข้องกับเครือข่ายภายใน เพราะถ้าหากระบบเครือข่ายมีปัญหา self check ซึ่งอ่อนไหวกว่าระบบห้องสมุดอัตโนมัติ มักจะใช้การไม่ได้ไปเฉยๆ และอีกประการคือ การแปลภาษาไทยของเจ้าของผลิตภัณฑ์ยังไม่ดีพอ ทำให้ผู้ใช้อ่านแล้วยังงง งง กับคำอธิบายซึ่งทางสำนักก็ต้องเขาไปแปลและแก้ไขเองในหลายส่วน แต่ก็มีข้อดีคือ สำนักเลือกระบบ Hybrid ดังนั้นในการยืมทรัพยากรระบบจะทำการเขียนข้อมูลลงใน rfid และล้างสนามแม่เหล็กได้ในตัว-Book Drop เนื่องจากระบบที่เราเลือกใช้นั้นไม่มีการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้เลย มิหนำซ้ำหากระบบเครือข่ายภายในมีปัญหาในช่วงที่มีการส่งหนังสือ ระบบก็จะไม่ทำการคืนหนังสือให้ เป็นผลทำให้ staff ของเราต้องนำหนังสือมาตรวจสอบอีกครั้งเพื่อความแน่ใจ แต่ระบบเองก็จะมีรายการแจ้งทางเครื่องพิมพ์อยู่แล้วสำหรับรายการที่มีปัญหา ดังนั้นหากจำนวนหนังสือที่คืนมีมากก็เลือกตรวจแต่เฉพาะรายการที่มีปัญหาเท่านั้นก็ได้ และทางออกอีกทางคือการติดกล้องวงจรปิดร่วมกัน เมื่อผู้ใช้อ้างว่าได้ส่งคืนแล้วทาง BookDrop วันไหนก็ทำการเปิดกล้องตรวจสอบย้อนหลังได้-WorkPad เนื่องจากระบบ การเขียน การย้ายข้อมูล Barcode ไปสู่ RFID นั้นจะต้องทำผ่านชุด workpad โดยจะมีชื่อเรียก 2 ชื่อคือ ชุดยืมคืนผ่านเจ้าหน้าที่ และชุดทำงานสำหรับบรรณารักษ์ ซึ่งจริงๆคือชุดเดียวกัน การใช้งานมักจะมีปัญหาในช่วงแรกที่ staff ยังต้องทำความคุ้นเคยกับการเลือก check-in หรือ check-out จาก Software แต่เมื่อใช้งานไปสักระยะแล้ว staff ก็จะชินไปเอง แต่ปัญหาที่ สำนักเจอคือ Workpad ไม่สามารถทำงานที่ Counter บริการได้ทั้งที่เคยใช้ได้ที่ counter อื่นๆมาก่อน สาเหตุที่เราพบคือ เนื่องจาก Counter บริการนั้นสำนักได้จัดทำเป็น Furniture แบบ Build-in และติด TOP ลามิเนตที่มีส่วนผสมของโลหะ ทำให้สัญญาณ RF ถูกดูดซับไปหมด วิธีการแก้ไขคือ หาแท่นหรือกล่องไม้ติดด้วย laminate ที่ไม่นำไฟฟ้ามารอง สูงประมาณ 10 CM ก็แก้ปัญหาได้ เพราะฉนั้่นในการเลือก RFID และติดตั้งสิ่งที่ต้องระวังคือ โลหะที่ใกล้กับอุปกรณ์มากๆ และควรมีไม่น้อยกว่า 2 ตัว เพื่อใช้ในการจัดการทรัพยากรและยืมคืน-RFID Tag ในช่วงที่มีการติด RFID Tag ที่สำนัก พบว่ามี RFID tag เสียด้้วย เพราะฉนั้นหากเจอต้องแกะออกมาเพื่อนำไป claim กับผู้ขายได้โดยพบเสียไม่ถึง 0.1% ของจำนวน Tag ทั้งหมด แต่ปัญหาไม่ได้อยู่แค่ตรงนั้น เท่าที่เราทราบกันดีคือ RFID Tag นั้นมีความอ่อนแอพอสมควร เช่นหากฉีกขาด ถูกบดบังด้วยวัตถุบางประเภท ก็จะทำให้ไม่สามารถใช้งานได้ ที่สำคัญ หาเจอได้ง่ายเพราะติดอยู่ที่ปกหลัง วิธีการแก้ปัญหาของสำนักคือ ช่วงแรกจัดทำปกแข็งให้กับหนังสือ แต่เนื่องด้วยบุคลากรไม่เพียงพอ และงบประมาณด้านวัสดุค่อนข้างจำกัดจึงเลิกไป และหันมาใช้วิธีเดิมคือ ใช้แถบแม่เหล็ก ควบคู่ไป ส่วน Tag ก็ติด Sticker ทับเพื่อความปลอดภัย-Handheld Inventory เป็นอุปกรร์ตัวนึงที่มีราคาแพงมาก แต่การใช้งานน้อยมาก ปีนึงจะใช้แค่ไม่กี่ครั้ง ข้อแนะนำคือ ไม่สมควรแก่การลงทุนอย่างยิ่ง เพราะการ Download และ Upload ข้อมูลเข้าไปใน Handheld นั้นยุ่งยากมาก ต้องอาศัยความช่วยเหลือจาก ทีม ALIST บ่อยๆ แต่ที่สำคัญที่สุดให้ทุกท่านคิดถึงหนังสือบนชั้นเรียงกันเป็นตับ แล้วจะเอาเจ้าตัว HandHeld ไป scan เพื่อดูการจัดชั้น ทำได้ยากมากเพราะ rfid อาจจะไปเจอหนังสือชั้นใกล้ๆกัน ทำให้ข้อมูลผิดพลาด ข้อมูลจากช่างบอกว่า เอาไว้กวาดๆหาหนังสือหายดีกว่า-Security Gate อย่างที่เรียนให้ทุกท่านทราบถึงประโยชน์ของ RFID ตั้งแต่แรกแล้วนะครับเรื่องการรักษาความปลอดภัย แต่ก็อย่างที่ทุกท่านทราบกันว่า RFID นั้นก็มีจุดอ่อนในเรื่องนี้ ดังนั้นสำนักจึงมีการติด security gate ทั้งสองระบบขนานกันและทำการเชื่อมต่อไปยังประตูอัตโนมัติ หากมีการนำทรัพยากรที่ไม่ได้ยืมอย่างถูกต้องออกจากห้องสมุด Security Gate จะส่งสัญญาณดังและ lock ประตูทันที อีกประเด็นที่ต้อวระวังอย่างมากคือ เรื่องของการติดตั้งใกล้กับโลหะ เพราะอาจเกิดการรบกวนของสัญญาณได้\n
  14. อุปกรณ์ RFID สำหรับปัญหาและอุปสรรคของตัวอุปกรณ์นั้นขอแบ่งตามตัวอุปกรณ์ที่สำนักจัดหามาเลย โดยขอเริ่มจาก-Self Check ปัญหาของ Self check ที่สำนักพบคือ เกี่ยวข้องกับเครือข่ายภายใน เพราะถ้าหากระบบเครือข่ายมีปัญหา self check ซึ่งอ่อนไหวกว่าระบบห้องสมุดอัตโนมัติ มักจะใช้การไม่ได้ไปเฉยๆ และอีกประการคือ การแปลภาษาไทยของเจ้าของผลิตภัณฑ์ยังไม่ดีพอ ทำให้ผู้ใช้อ่านแล้วยังงง งง กับคำอธิบายซึ่งทางสำนักก็ต้องเขาไปแปลและแก้ไขเองในหลายส่วน แต่ก็มีข้อดีคือ สำนักเลือกระบบ Hybrid ดังนั้นในการยืมทรัพยากรระบบจะทำการเขียนข้อมูลลงใน rfid และล้างสนามแม่เหล็กได้ในตัว-Book Drop เนื่องจากระบบที่เราเลือกใช้นั้นไม่มีการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้เลย มิหนำซ้ำหากระบบเครือข่ายภายในมีปัญหาในช่วงที่มีการส่งหนังสือ ระบบก็จะไม่ทำการคืนหนังสือให้ เป็นผลทำให้ staff ของเราต้องนำหนังสือมาตรวจสอบอีกครั้งเพื่อความแน่ใจ แต่ระบบเองก็จะมีรายการแจ้งทางเครื่องพิมพ์อยู่แล้วสำหรับรายการที่มีปัญหา ดังนั้นหากจำนวนหนังสือที่คืนมีมากก็เลือกตรวจแต่เฉพาะรายการที่มีปัญหาเท่านั้นก็ได้ และทางออกอีกทางคือการติดกล้องวงจรปิดร่วมกัน เมื่อผู้ใช้อ้างว่าได้ส่งคืนแล้วทาง BookDrop วันไหนก็ทำการเปิดกล้องตรวจสอบย้อนหลังได้-WorkPad เนื่องจากระบบ การเขียน การย้ายข้อมูล Barcode ไปสู่ RFID นั้นจะต้องทำผ่านชุด workpad โดยจะมีชื่อเรียก 2 ชื่อคือ ชุดยืมคืนผ่านเจ้าหน้าที่ และชุดทำงานสำหรับบรรณารักษ์ ซึ่งจริงๆคือชุดเดียวกัน การใช้งานมักจะมีปัญหาในช่วงแรกที่ staff ยังต้องทำความคุ้นเคยกับการเลือก check-in หรือ check-out จาก Software แต่เมื่อใช้งานไปสักระยะแล้ว staff ก็จะชินไปเอง แต่ปัญหาที่ สำนักเจอคือ Workpad ไม่สามารถทำงานที่ Counter บริการได้ทั้งที่เคยใช้ได้ที่ counter อื่นๆมาก่อน สาเหตุที่เราพบคือ เนื่องจาก Counter บริการนั้นสำนักได้จัดทำเป็น Furniture แบบ Build-in และติด TOP ลามิเนตที่มีส่วนผสมของโลหะ ทำให้สัญญาณ RF ถูกดูดซับไปหมด วิธีการแก้ไขคือ หาแท่นหรือกล่องไม้ติดด้วย laminate ที่ไม่นำไฟฟ้ามารอง สูงประมาณ 10 CM ก็แก้ปัญหาได้ เพราะฉนั้่นในการเลือก RFID และติดตั้งสิ่งที่ต้องระวังคือ โลหะที่ใกล้กับอุปกรณ์มากๆ และควรมีไม่น้อยกว่า 2 ตัว เพื่อใช้ในการจัดการทรัพยากรและยืมคืน-RFID Tag ในช่วงที่มีการติด RFID Tag ที่สำนัก พบว่ามี RFID tag เสียด้้วย เพราะฉนั้นหากเจอต้องแกะออกมาเพื่อนำไป claim กับผู้ขายได้โดยพบเสียไม่ถึง 0.1% ของจำนวน Tag ทั้งหมด แต่ปัญหาไม่ได้อยู่แค่ตรงนั้น เท่าที่เราทราบกันดีคือ RFID Tag นั้นมีความอ่อนแอพอสมควร เช่นหากฉีกขาด ถูกบดบังด้วยวัตถุบางประเภท ก็จะทำให้ไม่สามารถใช้งานได้ ที่สำคัญ หาเจอได้ง่ายเพราะติดอยู่ที่ปกหลัง วิธีการแก้ปัญหาของสำนักคือ ช่วงแรกจัดทำปกแข็งให้กับหนังสือ แต่เนื่องด้วยบุคลากรไม่เพียงพอ และงบประมาณด้านวัสดุค่อนข้างจำกัดจึงเลิกไป และหันมาใช้วิธีเดิมคือ ใช้แถบแม่เหล็ก ควบคู่ไป ส่วน Tag ก็ติด Sticker ทับเพื่อความปลอดภัย-Handheld Inventory เป็นอุปกรร์ตัวนึงที่มีราคาแพงมาก แต่การใช้งานน้อยมาก ปีนึงจะใช้แค่ไม่กี่ครั้ง ข้อแนะนำคือ ไม่สมควรแก่การลงทุนอย่างยิ่ง เพราะการ Download และ Upload ข้อมูลเข้าไปใน Handheld นั้นยุ่งยากมาก ต้องอาศัยความช่วยเหลือจาก ทีม ALIST บ่อยๆ แต่ที่สำคัญที่สุดให้ทุกท่านคิดถึงหนังสือบนชั้นเรียงกันเป็นตับ แล้วจะเอาเจ้าตัว HandHeld ไป scan เพื่อดูการจัดชั้น ทำได้ยากมากเพราะ rfid อาจจะไปเจอหนังสือชั้นใกล้ๆกัน ทำให้ข้อมูลผิดพลาด ข้อมูลจากช่างบอกว่า เอาไว้กวาดๆหาหนังสือหายดีกว่า-Security Gate อย่างที่เรียนให้ทุกท่านทราบถึงประโยชน์ของ RFID ตั้งแต่แรกแล้วนะครับเรื่องการรักษาความปลอดภัย แต่ก็อย่างที่ทุกท่านทราบกันว่า RFID นั้นก็มีจุดอ่อนในเรื่องนี้ ดังนั้นสำนักจึงมีการติด security gate ทั้งสองระบบขนานกันและทำการเชื่อมต่อไปยังประตูอัตโนมัติ หากมีการนำทรัพยากรที่ไม่ได้ยืมอย่างถูกต้องออกจากห้องสมุด Security Gate จะส่งสัญญาณดังและ lock ประตูทันที อีกประเด็นที่ต้อวระวังอย่างมากคือ เรื่องของการติดตั้งใกล้กับโลหะ เพราะอาจเกิดการรบกวนของสัญญาณได้\n
  15. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำหรับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ นั้นเราเองก็เจอปัญหาเช่นเดียวกัน ประเด็นแรก คือ เนื่องจาก ALIST ที่เราใช้เป็น V.3 ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนา SIP2 ใน V.3 ก่อน ทั้งๆที่เดิมทีแผนของ ALIST นั้นจะพัฒนา SIP2 ใน V.4 และที่สำคัญต้องชำระค่าพัฒนาด้วยครับ แต่ว่าทางสำนักไม่ต้องจ่าย เนื่องจากมีการกไหนดใน TOR ของระบบ RFID ไว้แล้ว เดี๋ยวผมจะบอกเทคนิคอีกที การใช้งานก็ต้องใช้เวลา config อยู่หลายวัน และหลายครั้งพอสมควร เนื่องจาก ยังใหม่ทั้งผุ้ใช้ ผู้พัฒนา แต่หลังจากนั้นก็ราบรื่นดี จนเมื่อสำนักได้ปรับปรุง(Upgrade) ALIST เป็น V.4 ก็ได้พบปัญหาอีกครั้งว่าระบบ RFID ไม่สามารถใช้งานได้ และก็พบว่า SIP2 เป็น V.4 ยังไม่ได้รับการปรับปรุงด้วย แต่ทางทีม ALIST ก็ได้จัดการปรับปรุงให้ จนสามารถใช้งานได้ถึงปัจุจบัน ดังนั้นมั่นใจได้ครับว่า ALIST V.4 ใช้กับ RFID ได้แน่นอน ต้องขอขอบพระคุณ ทีมงาน ALIST มา ณ ที่นี้ด้วยครับ\n บุคลากร\nปัญหาที่เราพบจากบุคลากร ก็คือปัญหาเดิมๆครับ นั่นคือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงระบบก็ต้องมีการปรับตัวสักระยะ ที่สำคัญเหมือนขั้นตอนการปฏิบัติของเราบางเรื่องจะลดลง แต่ขั้นตอนการปฏิบัติบางเรื่องจะเพิ่มขึ้น เพราะเนื่องจากเราเองยังไม่มั่นใจในความปลอกภัยของ RFID ที่มีจุดอ่อนดังที่เคยกล่าวมาแล้ว เพราะฉนั้น เราต้องทำการปลด lock ความปลอดภัยสองครั้งคือ จาก RFID และแถบแม่เหล็ก แต่ก็เพื่อเป็นการรักษาทรัพยากรก็ยังมีความจำเป็นที่จะต้องทำครับ และอีกอย่างที่เราเจอปัญหากับบุคลากรคือ ยังให้ความสำคัญกับการใช้เครื่องอัตโนมัติต่างๆน้อย ในช่วงแรก จนต้องหามาตรการเช่น งดให้บริการผ่าน counter หลัง 16.00 หรือในช่วงปิดเทอม ยกเว้นกรณีที่มีปัญหาจริงๆ\n อื่นๆ\nปัญหาอื่นๆ ที่สำนัก เจอมักจะเป็นเรื่องของ ผู้รับบริการที่ยังไม่ทราบเกี่ยวกับการใช้งาน หรือไม่กล้าใช้ ไม่มั่นใจในระบบ ระบบเครือข่ายภายในที่มีปัญหา ระบบไฟฟ้า เป้นต้นมักเป็นปัญหาเล็กน้อย ที่ต้องใช้การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเข้ามาช่วย\n
  16. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำหรับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ นั้นเราเองก็เจอปัญหาเช่นเดียวกัน ประเด็นแรก คือ เนื่องจาก ALIST ที่เราใช้เป็น V.3 ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนา SIP2 ใน V.3 ก่อน ทั้งๆที่เดิมทีแผนของ ALIST นั้นจะพัฒนา SIP2 ใน V.4 และที่สำคัญต้องชำระค่าพัฒนาด้วยครับ แต่ว่าทางสำนักไม่ต้องจ่าย เนื่องจากมีการกไหนดใน TOR ของระบบ RFID ไว้แล้ว เดี๋ยวผมจะบอกเทคนิคอีกที การใช้งานก็ต้องใช้เวลา config อยู่หลายวัน และหลายครั้งพอสมควร เนื่องจาก ยังใหม่ทั้งผุ้ใช้ ผู้พัฒนา แต่หลังจากนั้นก็ราบรื่นดี จนเมื่อสำนักได้ปรับปรุง(Upgrade) ALIST เป็น V.4 ก็ได้พบปัญหาอีกครั้งว่าระบบ RFID ไม่สามารถใช้งานได้ และก็พบว่า SIP2 เป็น V.4 ยังไม่ได้รับการปรับปรุงด้วย แต่ทางทีม ALIST ก็ได้จัดการปรับปรุงให้ จนสามารถใช้งานได้ถึงปัจุจบัน ดังนั้นมั่นใจได้ครับว่า ALIST V.4 ใช้กับ RFID ได้แน่นอน ต้องขอขอบพระคุณ ทีมงาน ALIST มา ณ ที่นี้ด้วยครับ\n บุคลากร\nปัญหาที่เราพบจากบุคลากร ก็คือปัญหาเดิมๆครับ นั่นคือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงระบบก็ต้องมีการปรับตัวสักระยะ ที่สำคัญเหมือนขั้นตอนการปฏิบัติของเราบางเรื่องจะลดลง แต่ขั้นตอนการปฏิบัติบางเรื่องจะเพิ่มขึ้น เพราะเนื่องจากเราเองยังไม่มั่นใจในความปลอกภัยของ RFID ที่มีจุดอ่อนดังที่เคยกล่าวมาแล้ว เพราะฉนั้น เราต้องทำการปลด lock ความปลอดภัยสองครั้งคือ จาก RFID และแถบแม่เหล็ก แต่ก็เพื่อเป็นการรักษาทรัพยากรก็ยังมีความจำเป็นที่จะต้องทำครับ และอีกอย่างที่เราเจอปัญหากับบุคลากรคือ ยังให้ความสำคัญกับการใช้เครื่องอัตโนมัติต่างๆน้อย ในช่วงแรก จนต้องหามาตรการเช่น งดให้บริการผ่าน counter หลัง 16.00 หรือในช่วงปิดเทอม ยกเว้นกรณีที่มีปัญหาจริงๆ\n อื่นๆ\nปัญหาอื่นๆ ที่สำนัก เจอมักจะเป็นเรื่องของ ผู้รับบริการที่ยังไม่ทราบเกี่ยวกับการใช้งาน หรือไม่กล้าใช้ ไม่มั่นใจในระบบ ระบบเครือข่ายภายในที่มีปัญหา ระบบไฟฟ้า เป้นต้นมักเป็นปัญหาเล็กน้อย ที่ต้องใช้การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเข้ามาช่วย\n
  17. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำหรับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ นั้นเราเองก็เจอปัญหาเช่นเดียวกัน ประเด็นแรก คือ เนื่องจาก ALIST ที่เราใช้เป็น V.3 ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนา SIP2 ใน V.3 ก่อน ทั้งๆที่เดิมทีแผนของ ALIST นั้นจะพัฒนา SIP2 ใน V.4 และที่สำคัญต้องชำระค่าพัฒนาด้วยครับ แต่ว่าทางสำนักไม่ต้องจ่าย เนื่องจากมีการกไหนดใน TOR ของระบบ RFID ไว้แล้ว เดี๋ยวผมจะบอกเทคนิคอีกที การใช้งานก็ต้องใช้เวลา config อยู่หลายวัน และหลายครั้งพอสมควร เนื่องจาก ยังใหม่ทั้งผุ้ใช้ ผู้พัฒนา แต่หลังจากนั้นก็ราบรื่นดี จนเมื่อสำนักได้ปรับปรุง(Upgrade) ALIST เป็น V.4 ก็ได้พบปัญหาอีกครั้งว่าระบบ RFID ไม่สามารถใช้งานได้ และก็พบว่า SIP2 เป็น V.4 ยังไม่ได้รับการปรับปรุงด้วย แต่ทางทีม ALIST ก็ได้จัดการปรับปรุงให้ จนสามารถใช้งานได้ถึงปัจุจบัน ดังนั้นมั่นใจได้ครับว่า ALIST V.4 ใช้กับ RFID ได้แน่นอน ต้องขอขอบพระคุณ ทีมงาน ALIST มา ณ ที่นี้ด้วยครับ\n บุคลากร\nปัญหาที่เราพบจากบุคลากร ก็คือปัญหาเดิมๆครับ นั่นคือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงระบบก็ต้องมีการปรับตัวสักระยะ ที่สำคัญเหมือนขั้นตอนการปฏิบัติของเราบางเรื่องจะลดลง แต่ขั้นตอนการปฏิบัติบางเรื่องจะเพิ่มขึ้น เพราะเนื่องจากเราเองยังไม่มั่นใจในความปลอกภัยของ RFID ที่มีจุดอ่อนดังที่เคยกล่าวมาแล้ว เพราะฉนั้น เราต้องทำการปลด lock ความปลอดภัยสองครั้งคือ จาก RFID และแถบแม่เหล็ก แต่ก็เพื่อเป็นการรักษาทรัพยากรก็ยังมีความจำเป็นที่จะต้องทำครับ และอีกอย่างที่เราเจอปัญหากับบุคลากรคือ ยังให้ความสำคัญกับการใช้เครื่องอัตโนมัติต่างๆน้อย ในช่วงแรก จนต้องหามาตรการเช่น งดให้บริการผ่าน counter หลัง 16.00 หรือในช่วงปิดเทอม ยกเว้นกรณีที่มีปัญหาจริงๆ\n อื่นๆ\nปัญหาอื่นๆ ที่สำนัก เจอมักจะเป็นเรื่องของ ผู้รับบริการที่ยังไม่ทราบเกี่ยวกับการใช้งาน หรือไม่กล้าใช้ ไม่มั่นใจในระบบ ระบบเครือข่ายภายในที่มีปัญหา ระบบไฟฟ้า เป้นต้นมักเป็นปัญหาเล็กน้อย ที่ต้องใช้การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเข้ามาช่วย\n
  18. เอาละครับ พูดมาทั้งหมด นี่ไม่ใช่จะไม่ซื้อกันนะครับ ผมแน่ใจว่าทุกที่มีแผนจะซื้อแน่นอน เพราะประโยชน์อย่างนึงที่ผมไม่ได้บอกในระบบ RFID คือ ความทันสมัย ความสามารถโชว์ได้ครับ แต่ก่อนที่จะซื้อ ผมอยากแนะนำสักเล็กน้อย อย่าได้คิดว่าผมมาสอนเลยละกันนะครับ เพราะบางครั้งซื้อมาก่อน ก็โดนหลอกก่อน ไม่อยากให้คนซื้อทีหลังโดนหลอกตามไปด้วย สำหรับสิ่งที่ต้องคิดในการจดหาระบบ RFID ก็มีประมาณนี้ครับ\n1.ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ต้องรองรับการเชื่อมต่อกับ RFID โดยมี SIP2 ที่สำคัญไม่ควรต้องเสียเงินเพิ่มเติม ดังที่ผมได้กล่าวไปแล้วว่า ปกติสำนักต้องจ่ายค่าพัฒนา SIP2 ให้กับทางทีม ALIST ใน V.3 ดังนั้น สำนักจึงเพิ่ม คุณลักษณะทางเทคนิคที่สำคัญลงไปใน TOR ข้อนึง ว่า “ระบบและอุปกรณ์ที่นำเสนอต้องสามารถทำงานร่วมกับระบบงานให้บริการยืมคืนห้องสมุดอัตโนมัติที่สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ดังนั้นถ้าส่งของแล้ว ใช้ไม่ได้ ก็ถือว่าไม่ผ่านการตรวจรับ และอย่างที่แจ้งไว้แล้วครับ ALIST รองรับแน่นอน หรือให้ดีขอใบรับรองจากผู้ขายก็ได้ครับ ว่าได้รับการรับรองจาก ทีม ALIST แล้วว่าผ่านการทดสอบและทำงานได้\n2. งบประมาณสำหรับการติดตั้งระบบเทคโนโลยี RFID\nเนื่องจากค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบค่อนข้างสูง  โดยแผ่นป้ายข้อมูล RFID 1 แผ่นราคา 15-30 บาท   นอกจากนี้ยังมีค่าใช้จ่ายในส่วนเครื่องปฏิบัติการสำหรับยืม-คืนด้วยตนเอง (Workstation)  และเครื่องอ่านแบบมือถือ (Hand-held reader)  ดังนั้นห้องสมุดจำเป็นต้องเตรียมงบประมาณสำหรับค่าใช้จ่ายอื่นๆ นอกเหนือจากป้าย RFID ดังนี้\n-          เครื่องยืมด้วยตนเอง (Self-check station)  \n-          เครื่องคืนด้วยตนเอง (Self-check station) \n-          เครื่องยืมคืนสำหรับบรรณารักษ์ (Self circulation desk) ควรมีอย่างน้อย 2 ตัวในครั้งแรก\n-          ประตูทางเข้า-ออกห้อสมุด (Security gate) \n-          เครื่องอ่านแบบพกพา สำหรับสำรวจชั้นหนังสือ (Portable reader / Hand-held inventory reader)\nผมเรียงลำดับให้ตามความสำคัญ แต่ที่อยากเรียนทุกท่านมากที่สุดคือ อุปกรณ์ที่ราคาถูกที่สุด คือ สิ่งที่แพงที่สุด นั่นหมายถึง TAG RFID ครับ แปรผันตรงกับจำนวนทรัพยากรเลย ดังนั้นในการจัดหา ทุกท่านจะต้อง ต่อรองให้ได้ราคาต่อหน่วยต่ำสุด เพราะอย่าลืมว่าต้องซื้อเขาไปตลอด และที่สำคัญ ให้ซื้อเผื่อเอาไว้เลย เพราะ ขอซื้อทีหลังนั่นน่าจะยาก \n- อุปกรณืบางตัว ไม่จำเป็นครับ ใช้งานจริงๆไม่ค่อยได้ เช่น Portable HandHeld ไม่จำเป็นก็อย่าเพิ่งซื้อครับ และหากที่ไหนยืนยันว่าจะใช้ระบบ Hybird รับรองว่าอุปกรณ์บางตัวแพงกว่าแบบ RFID เดี่ยวๆครับ ดังนั้นชั่งใจให้ดีว่า จะเลิกใช้แม่เหล็กเลยดีไหม เพราะถ้ายังใช้ Hybrid ต้องจ่ายทั้งแถบแม่เหล็กและ TAG RFID ต่อไป แต่ปัจจุบันมีผู้ผลิตบางรายก็ขาย RFID แบบซ่อนได้แล้วนะครับ ลองติดต่อและพิจารณาดูก็ได้ ว่า Ok ไหม ส่วนประตูที่ผมเอาไว้รั้งท้ายก่อน Portable เพราะถ้าจะใช้ Hybrid เหลือประตูแม่เหล็กเดิมไว้ก็ได้ครับ\n- ถัดมาคือเรื่องของการรับประกันครับ ในการเสนอผลิตภัณฑ์ครั้งแรก นอกจากคุณสมบัติ ราคา แล้วสิ่งที่ผมมักจะถามผู้ขายคือ อัตราการ MA ครับ ต้องกดให้ต่ำที่สุด 1-5% ของงบได้ยิ่งดีครับ บางเจ้า เปิดราคามาถูกครับ จัด MA ไป 15-20% นี่ลองคิดดูนะครับ เพราะฉนั้นกดราคา แล้วต้องกด MA ด้วย ที่สำคัญครับต้องประกันระบบอย่างน้อย 3-5 ปี แบบ Onsite ด้วยนะครับ อันนี้ควรกำหนดไว้ใน TOR เลย สำคัญอย่างยิ่ง\n- การติด TAG ควรจะกำหนดให้ ผู้ขายรับผิดชอบการติด TAG และ Transfer ข้อมูลเข้าสู่ RFID เลย อย่าทำเองเด็ดขาด ข้อนี้กำหนดลงใน TOR ได้ และถือเป็นการตรวจรับ TAG ไปในตัว ที่สำนักใช้วิธ๊ให้ผู้ขายติดไปเกือบ 95% ที่เหลือให้ staff มาช่วยกันติด เพื่อที่จะเรียนรู้วฺิธีการติด tag และ transfer จากผู้ขาย\n3.ความจำเป็น อันนี้คงต้องพิจารณาด้วยตนเองครับ ว่าจำเป็นแค่ใจ จากสิ่งที่ผมได้พูดมาทั้งหมด ถ้าจะเอามาลดคน บอกได้เลยครับ ยาก ถ้าจะเอามาขยายเวลาคืนหนังสือ ก็ทำได้ครับ จริงๆไม่ต้อง RFID ก็ได้ หลายที่ก็ทำกัน นั่นคือ แบบมีกล่องรับ แล้ว Staff ก็ไปเอามาทำคืน หรือบางที่อาจเลือกทำจากห้องสมุดเฉพาะก่อน เพื่อทำสถิติ วิจัยดูความคุ้มค่าก่อนก็ได้ครับ ลองกลับไปพิจารณาดู\n4.คุณสมบัติทางเทคนิคที่สำคัญ \n- มีการรับประกันคุณภาพสินค้าทั้งอุปกรณ์ และโปรแกรมไม่น้อยกว่า 3 ปี แบบให้บริการถึงสถานที่ติดตั้ง\n- ระบบและอุปกรณ์ที่เสนอต้องสามารถทำงานร่วมกับระบบงานให้บริการยืมคืนของซอฟท์แวร์ห้องสมุดอัตโนมัติที่สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานใช้อยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ\n- ผู้ผ่านการเสนอราคาจะต้องทำการติดแผ่นข้อมูลที่เสนอกับหนังสือและสื่อประเภทซีดีรอมหรือดีวีดีของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานให้แล้วเสร็จไม่น้อยกว่า xxx,xxx ชิ้นพร้อมดำเนินการจัดทำให้หนังสือและสื่อประเภทซีดีรอมหรือดีวีดีสื่อพร้อมในการบริการยืมคืนผ่านระบบที่เสนอ\n- ผู้เสนอราคาต้องฝึกอบรมเจ้าหน้าที่สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน กับอุปกรณ์จริง ข้อมูลจริงและโปรแกรมที่ส่งมอบ ให้เสร็จสิ้นก่อนการตรวจรับ โดยมีผลการประเมินความพึงพอใจในการฝึกอบรมในระดับไม่น้อยกว่า 70 % และมีความรู้ความสามารถในการควบคุมการทำงานของระบบ ที่ติดตั้งได้เป็นอย่างดี โดยจำแนกตามการจัดหาครุภัณฑ์ ใช้ระบบ รวมทั้งการดูแลบำรุงรักษาระบบ โดยมีเนื้อหาหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการติดตั้งอุปกรณ์ และการควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ และการใช้งานซอฟต์แวร์ จำนวนไม่น้อยกว่า 10 คน ระยะเวลาฝึกอบรมไม่ต่ำกว่า 20 ชม. \n- วันนี้ผมติด TOR มาฝากทุๆท่านด้วยนะครับ ถ้าคิดว่าจะใช้ก็ยินดีครับ\n\n
  19. เอาละครับ พูดมาทั้งหมด นี่ไม่ใช่จะไม่ซื้อกันนะครับ ผมแน่ใจว่าทุกที่มีแผนจะซื้อแน่นอน เพราะประโยชน์อย่างนึงที่ผมไม่ได้บอกในระบบ RFID คือ ความทันสมัย ความสามารถโชว์ได้ครับ แต่ก่อนที่จะซื้อ ผมอยากแนะนำสักเล็กน้อย อย่าได้คิดว่าผมมาสอนเลยละกันนะครับ เพราะบางครั้งซื้อมาก่อน ก็โดนหลอกก่อน ไม่อยากให้คนซื้อทีหลังโดนหลอกตามไปด้วย สำหรับสิ่งที่ต้องคิดในการจดหาระบบ RFID ก็มีประมาณนี้ครับ\n1.ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ต้องรองรับการเชื่อมต่อกับ RFID โดยมี SIP2 ที่สำคัญไม่ควรต้องเสียเงินเพิ่มเติม ดังที่ผมได้กล่าวไปแล้วว่า ปกติสำนักต้องจ่ายค่าพัฒนา SIP2 ให้กับทางทีม ALIST ใน V.3 ดังนั้น สำนักจึงเพิ่ม คุณลักษณะทางเทคนิคที่สำคัญลงไปใน TOR ข้อนึง ว่า “ระบบและอุปกรณ์ที่นำเสนอต้องสามารถทำงานร่วมกับระบบงานให้บริการยืมคืนห้องสมุดอัตโนมัติที่สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ดังนั้นถ้าส่งของแล้ว ใช้ไม่ได้ ก็ถือว่าไม่ผ่านการตรวจรับ และอย่างที่แจ้งไว้แล้วครับ ALIST รองรับแน่นอน หรือให้ดีขอใบรับรองจากผู้ขายก็ได้ครับ ว่าได้รับการรับรองจาก ทีม ALIST แล้วว่าผ่านการทดสอบและทำงานได้\n2. งบประมาณสำหรับการติดตั้งระบบเทคโนโลยี RFID\nเนื่องจากค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบค่อนข้างสูง  โดยแผ่นป้ายข้อมูล RFID 1 แผ่นราคา 15-30 บาท   นอกจากนี้ยังมีค่าใช้จ่ายในส่วนเครื่องปฏิบัติการสำหรับยืม-คืนด้วยตนเอง (Workstation)  และเครื่องอ่านแบบมือถือ (Hand-held reader)  ดังนั้นห้องสมุดจำเป็นต้องเตรียมงบประมาณสำหรับค่าใช้จ่ายอื่นๆ นอกเหนือจากป้าย RFID ดังนี้\n-          เครื่องยืมด้วยตนเอง (Self-check station)  \n-          เครื่องคืนด้วยตนเอง (Self-check station) \n-          เครื่องยืมคืนสำหรับบรรณารักษ์ (Self circulation desk) ควรมีอย่างน้อย 2 ตัวในครั้งแรก\n-          ประตูทางเข้า-ออกห้อสมุด (Security gate) \n-          เครื่องอ่านแบบพกพา สำหรับสำรวจชั้นหนังสือ (Portable reader / Hand-held inventory reader)\nผมเรียงลำดับให้ตามความสำคัญ แต่ที่อยากเรียนทุกท่านมากที่สุดคือ อุปกรณ์ที่ราคาถูกที่สุด คือ สิ่งที่แพงที่สุด นั่นหมายถึง TAG RFID ครับ แปรผันตรงกับจำนวนทรัพยากรเลย ดังนั้นในการจัดหา ทุกท่านจะต้อง ต่อรองให้ได้ราคาต่อหน่วยต่ำสุด เพราะอย่าลืมว่าต้องซื้อเขาไปตลอด และที่สำคัญ ให้ซื้อเผื่อเอาไว้เลย เพราะ ขอซื้อทีหลังนั่นน่าจะยาก \n- อุปกรณืบางตัว ไม่จำเป็นครับ ใช้งานจริงๆไม่ค่อยได้ เช่น Portable HandHeld ไม่จำเป็นก็อย่าเพิ่งซื้อครับ และหากที่ไหนยืนยันว่าจะใช้ระบบ Hybird รับรองว่าอุปกรณ์บางตัวแพงกว่าแบบ RFID เดี่ยวๆครับ ดังนั้นชั่งใจให้ดีว่า จะเลิกใช้แม่เหล็กเลยดีไหม เพราะถ้ายังใช้ Hybrid ต้องจ่ายทั้งแถบแม่เหล็กและ TAG RFID ต่อไป แต่ปัจจุบันมีผู้ผลิตบางรายก็ขาย RFID แบบซ่อนได้แล้วนะครับ ลองติดต่อและพิจารณาดูก็ได้ ว่า Ok ไหม ส่วนประตูที่ผมเอาไว้รั้งท้ายก่อน Portable เพราะถ้าจะใช้ Hybrid เหลือประตูแม่เหล็กเดิมไว้ก็ได้ครับ\n- ถัดมาคือเรื่องของการรับประกันครับ ในการเสนอผลิตภัณฑ์ครั้งแรก นอกจากคุณสมบัติ ราคา แล้วสิ่งที่ผมมักจะถามผู้ขายคือ อัตราการ MA ครับ ต้องกดให้ต่ำที่สุด 1-5% ของงบได้ยิ่งดีครับ บางเจ้า เปิดราคามาถูกครับ จัด MA ไป 15-20% นี่ลองคิดดูนะครับ เพราะฉนั้นกดราคา แล้วต้องกด MA ด้วย ที่สำคัญครับต้องประกันระบบอย่างน้อย 3-5 ปี แบบ Onsite ด้วยนะครับ อันนี้ควรกำหนดไว้ใน TOR เลย สำคัญอย่างยิ่ง\n- การติด TAG ควรจะกำหนดให้ ผู้ขายรับผิดชอบการติด TAG และ Transfer ข้อมูลเข้าสู่ RFID เลย อย่าทำเองเด็ดขาด ข้อนี้กำหนดลงใน TOR ได้ และถือเป็นการตรวจรับ TAG ไปในตัว ที่สำนักใช้วิธ๊ให้ผู้ขายติดไปเกือบ 95% ที่เหลือให้ staff มาช่วยกันติด เพื่อที่จะเรียนรู้วฺิธีการติด tag และ transfer จากผู้ขาย\n3.ความจำเป็น อันนี้คงต้องพิจารณาด้วยตนเองครับ ว่าจำเป็นแค่ใจ จากสิ่งที่ผมได้พูดมาทั้งหมด ถ้าจะเอามาลดคน บอกได้เลยครับ ยาก ถ้าจะเอามาขยายเวลาคืนหนังสือ ก็ทำได้ครับ จริงๆไม่ต้อง RFID ก็ได้ หลายที่ก็ทำกัน นั่นคือ แบบมีกล่องรับ แล้ว Staff ก็ไปเอามาทำคืน หรือบางที่อาจเลือกทำจากห้องสมุดเฉพาะก่อน เพื่อทำสถิติ วิจัยดูความคุ้มค่าก่อนก็ได้ครับ ลองกลับไปพิจารณาดู\n4.คุณสมบัติทางเทคนิคที่สำคัญ \n- มีการรับประกันคุณภาพสินค้าทั้งอุปกรณ์ และโปรแกรมไม่น้อยกว่า 3 ปี แบบให้บริการถึงสถานที่ติดตั้ง\n- ระบบและอุปกรณ์ที่เสนอต้องสามารถทำงานร่วมกับระบบงานให้บริการยืมคืนของซอฟท์แวร์ห้องสมุดอัตโนมัติที่สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานใช้อยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ\n- ผู้ผ่านการเสนอราคาจะต้องทำการติดแผ่นข้อมูลที่เสนอกับหนังสือและสื่อประเภทซีดีรอมหรือดีวีดีของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานให้แล้วเสร็จไม่น้อยกว่า xxx,xxx ชิ้นพร้อมดำเนินการจัดทำให้หนังสือและสื่อประเภทซีดีรอมหรือดีวีดีสื่อพร้อมในการบริการยืมคืนผ่านระบบที่เสนอ\n- ผู้เสนอราคาต้องฝึกอบรมเจ้าหน้าที่สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน กับอุปกรณ์จริง ข้อมูลจริงและโปรแกรมที่ส่งมอบ ให้เสร็จสิ้นก่อนการตรวจรับ โดยมีผลการประเมินความพึงพอใจในการฝึกอบรมในระดับไม่น้อยกว่า 70 % และมีความรู้ความสามารถในการควบคุมการทำงานของระบบ ที่ติดตั้งได้เป็นอย่างดี โดยจำแนกตามการจัดหาครุภัณฑ์ ใช้ระบบ รวมทั้งการดูแลบำรุงรักษาระบบ โดยมีเนื้อหาหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการติดตั้งอุปกรณ์ และการควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ และการใช้งานซอฟต์แวร์ จำนวนไม่น้อยกว่า 10 คน ระยะเวลาฝึกอบรมไม่ต่ำกว่า 20 ชม. \n- วันนี้ผมติด TOR มาฝากทุๆท่านด้วยนะครับ ถ้าคิดว่าจะใช้ก็ยินดีครับ\n\n
  20. เอาละครับ พูดมาทั้งหมด นี่ไม่ใช่จะไม่ซื้อกันนะครับ ผมแน่ใจว่าทุกที่มีแผนจะซื้อแน่นอน เพราะประโยชน์อย่างนึงที่ผมไม่ได้บอกในระบบ RFID คือ ความทันสมัย ความสามารถโชว์ได้ครับ แต่ก่อนที่จะซื้อ ผมอยากแนะนำสักเล็กน้อย อย่าได้คิดว่าผมมาสอนเลยละกันนะครับ เพราะบางครั้งซื้อมาก่อน ก็โดนหลอกก่อน ไม่อยากให้คนซื้อทีหลังโดนหลอกตามไปด้วย สำหรับสิ่งที่ต้องคิดในการจดหาระบบ RFID ก็มีประมาณนี้ครับ\n1.ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ต้องรองรับการเชื่อมต่อกับ RFID โดยมี SIP2 ที่สำคัญไม่ควรต้องเสียเงินเพิ่มเติม ดังที่ผมได้กล่าวไปแล้วว่า ปกติสำนักต้องจ่ายค่าพัฒนา SIP2 ให้กับทางทีม ALIST ใน V.3 ดังนั้น สำนักจึงเพิ่ม คุณลักษณะทางเทคนิคที่สำคัญลงไปใน TOR ข้อนึง ว่า “ระบบและอุปกรณ์ที่นำเสนอต้องสามารถทำงานร่วมกับระบบงานให้บริการยืมคืนห้องสมุดอัตโนมัติที่สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ดังนั้นถ้าส่งของแล้ว ใช้ไม่ได้ ก็ถือว่าไม่ผ่านการตรวจรับ และอย่างที่แจ้งไว้แล้วครับ ALIST รองรับแน่นอน หรือให้ดีขอใบรับรองจากผู้ขายก็ได้ครับ ว่าได้รับการรับรองจาก ทีม ALIST แล้วว่าผ่านการทดสอบและทำงานได้\n2. งบประมาณสำหรับการติดตั้งระบบเทคโนโลยี RFID\nเนื่องจากค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบค่อนข้างสูง  โดยแผ่นป้ายข้อมูล RFID 1 แผ่นราคา 15-30 บาท   นอกจากนี้ยังมีค่าใช้จ่ายในส่วนเครื่องปฏิบัติการสำหรับยืม-คืนด้วยตนเอง (Workstation)  และเครื่องอ่านแบบมือถือ (Hand-held reader)  ดังนั้นห้องสมุดจำเป็นต้องเตรียมงบประมาณสำหรับค่าใช้จ่ายอื่นๆ นอกเหนือจากป้าย RFID ดังนี้\n-          เครื่องยืมด้วยตนเอง (Self-check station)  \n-          เครื่องคืนด้วยตนเอง (Self-check station) \n-          เครื่องยืมคืนสำหรับบรรณารักษ์ (Self circulation desk) ควรมีอย่างน้อย 2 ตัวในครั้งแรก\n-          ประตูทางเข้า-ออกห้อสมุด (Security gate) \n-          เครื่องอ่านแบบพกพา สำหรับสำรวจชั้นหนังสือ (Portable reader / Hand-held inventory reader)\nผมเรียงลำดับให้ตามความสำคัญ แต่ที่อยากเรียนทุกท่านมากที่สุดคือ อุปกรณ์ที่ราคาถูกที่สุด คือ สิ่งที่แพงที่สุด นั่นหมายถึง TAG RFID ครับ แปรผันตรงกับจำนวนทรัพยากรเลย ดังนั้นในการจัดหา ทุกท่านจะต้อง ต่อรองให้ได้ราคาต่อหน่วยต่ำสุด เพราะอย่าลืมว่าต้องซื้อเขาไปตลอด และที่สำคัญ ให้ซื้อเผื่อเอาไว้เลย เพราะ ขอซื้อทีหลังนั่นน่าจะยาก \n- อุปกรณืบางตัว ไม่จำเป็นครับ ใช้งานจริงๆไม่ค่อยได้ เช่น Portable HandHeld ไม่จำเป็นก็อย่าเพิ่งซื้อครับ และหากที่ไหนยืนยันว่าจะใช้ระบบ Hybird รับรองว่าอุปกรณ์บางตัวแพงกว่าแบบ RFID เดี่ยวๆครับ ดังนั้นชั่งใจให้ดีว่า จะเลิกใช้แม่เหล็กเลยดีไหม เพราะถ้ายังใช้ Hybrid ต้องจ่ายทั้งแถบแม่เหล็กและ TAG RFID ต่อไป แต่ปัจจุบันมีผู้ผลิตบางรายก็ขาย RFID แบบซ่อนได้แล้วนะครับ ลองติดต่อและพิจารณาดูก็ได้ ว่า Ok ไหม ส่วนประตูที่ผมเอาไว้รั้งท้ายก่อน Portable เพราะถ้าจะใช้ Hybrid เหลือประตูแม่เหล็กเดิมไว้ก็ได้ครับ\n- ถัดมาคือเรื่องของการรับประกันครับ ในการเสนอผลิตภัณฑ์ครั้งแรก นอกจากคุณสมบัติ ราคา แล้วสิ่งที่ผมมักจะถามผู้ขายคือ อัตราการ MA ครับ ต้องกดให้ต่ำที่สุด 1-5% ของงบได้ยิ่งดีครับ บางเจ้า เปิดราคามาถูกครับ จัด MA ไป 15-20% นี่ลองคิดดูนะครับ เพราะฉนั้นกดราคา แล้วต้องกด MA ด้วย ที่สำคัญครับต้องประกันระบบอย่างน้อย 3-5 ปี แบบ Onsite ด้วยนะครับ อันนี้ควรกำหนดไว้ใน TOR เลย สำคัญอย่างยิ่ง\n- การติด TAG ควรจะกำหนดให้ ผู้ขายรับผิดชอบการติด TAG และ Transfer ข้อมูลเข้าสู่ RFID เลย อย่าทำเองเด็ดขาด ข้อนี้กำหนดลงใน TOR ได้ และถือเป็นการตรวจรับ TAG ไปในตัว ที่สำนักใช้วิธ๊ให้ผู้ขายติดไปเกือบ 95% ที่เหลือให้ staff มาช่วยกันติด เพื่อที่จะเรียนรู้วฺิธีการติด tag และ transfer จากผู้ขาย\n3.ความจำเป็น อันนี้คงต้องพิจารณาด้วยตนเองครับ ว่าจำเป็นแค่ใจ จากสิ่งที่ผมได้พูดมาทั้งหมด ถ้าจะเอามาลดคน บอกได้เลยครับ ยาก ถ้าจะเอามาขยายเวลาคืนหนังสือ ก็ทำได้ครับ จริงๆไม่ต้อง RFID ก็ได้ หลายที่ก็ทำกัน นั่นคือ แบบมีกล่องรับ แล้ว Staff ก็ไปเอามาทำคืน หรือบางที่อาจเลือกทำจากห้องสมุดเฉพาะก่อน เพื่อทำสถิติ วิจัยดูความคุ้มค่าก่อนก็ได้ครับ ลองกลับไปพิจารณาดู\n4.คุณสมบัติทางเทคนิคที่สำคัญ \n- มีการรับประกันคุณภาพสินค้าทั้งอุปกรณ์ และโปรแกรมไม่น้อยกว่า 3 ปี แบบให้บริการถึงสถานที่ติดตั้ง\n- ระบบและอุปกรณ์ที่เสนอต้องสามารถทำงานร่วมกับระบบงานให้บริการยืมคืนของซอฟท์แวร์ห้องสมุดอัตโนมัติที่สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานใช้อยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ\n- ผู้ผ่านการเสนอราคาจะต้องทำการติดแผ่นข้อมูลที่เสนอกับหนังสือและสื่อประเภทซีดีรอมหรือดีวีดีของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานให้แล้วเสร็จไม่น้อยกว่า xxx,xxx ชิ้นพร้อมดำเนินการจัดทำให้หนังสือและสื่อประเภทซีดีรอมหรือดีวีดีสื่อพร้อมในการบริการยืมคืนผ่านระบบที่เสนอ\n- ผู้เสนอราคาต้องฝึกอบรมเจ้าหน้าที่สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน กับอุปกรณ์จริง ข้อมูลจริงและโปรแกรมที่ส่งมอบ ให้เสร็จสิ้นก่อนการตรวจรับ โดยมีผลการประเมินความพึงพอใจในการฝึกอบรมในระดับไม่น้อยกว่า 70 % และมีความรู้ความสามารถในการควบคุมการทำงานของระบบ ที่ติดตั้งได้เป็นอย่างดี โดยจำแนกตามการจัดหาครุภัณฑ์ ใช้ระบบ รวมทั้งการดูแลบำรุงรักษาระบบ โดยมีเนื้อหาหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการติดตั้งอุปกรณ์ และการควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ และการใช้งานซอฟต์แวร์ จำนวนไม่น้อยกว่า 10 คน ระยะเวลาฝึกอบรมไม่ต่ำกว่า 20 ชม. \n- วันนี้ผมติด TOR มาฝากทุๆท่านด้วยนะครับ ถ้าคิดว่าจะใช้ก็ยินดีครับ\n\n
  21. เอาละครับ พูดมาทั้งหมด นี่ไม่ใช่จะไม่ซื้อกันนะครับ ผมแน่ใจว่าทุกที่มีแผนจะซื้อแน่นอน เพราะประโยชน์อย่างนึงที่ผมไม่ได้บอกในระบบ RFID คือ ความทันสมัย ความสามารถโชว์ได้ครับ แต่ก่อนที่จะซื้อ ผมอยากแนะนำสักเล็กน้อย อย่าได้คิดว่าผมมาสอนเลยละกันนะครับ เพราะบางครั้งซื้อมาก่อน ก็โดนหลอกก่อน ไม่อยากให้คนซื้อทีหลังโดนหลอกตามไปด้วย สำหรับสิ่งที่ต้องคิดในการจดหาระบบ RFID ก็มีประมาณนี้ครับ\n1.ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ต้องรองรับการเชื่อมต่อกับ RFID โดยมี SIP2 ที่สำคัญไม่ควรต้องเสียเงินเพิ่มเติม ดังที่ผมได้กล่าวไปแล้วว่า ปกติสำนักต้องจ่ายค่าพัฒนา SIP2 ให้กับทางทีม ALIST ใน V.3 ดังนั้น สำนักจึงเพิ่ม คุณลักษณะทางเทคนิคที่สำคัญลงไปใน TOR ข้อนึง ว่า “ระบบและอุปกรณ์ที่นำเสนอต้องสามารถทำงานร่วมกับระบบงานให้บริการยืมคืนห้องสมุดอัตโนมัติที่สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ดังนั้นถ้าส่งของแล้ว ใช้ไม่ได้ ก็ถือว่าไม่ผ่านการตรวจรับ และอย่างที่แจ้งไว้แล้วครับ ALIST รองรับแน่นอน หรือให้ดีขอใบรับรองจากผู้ขายก็ได้ครับ ว่าได้รับการรับรองจาก ทีม ALIST แล้วว่าผ่านการทดสอบและทำงานได้\n2. งบประมาณสำหรับการติดตั้งระบบเทคโนโลยี RFID\nเนื่องจากค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบค่อนข้างสูง  โดยแผ่นป้ายข้อมูล RFID 1 แผ่นราคา 15-30 บาท   นอกจากนี้ยังมีค่าใช้จ่ายในส่วนเครื่องปฏิบัติการสำหรับยืม-คืนด้วยตนเอง (Workstation)  และเครื่องอ่านแบบมือถือ (Hand-held reader)  ดังนั้นห้องสมุดจำเป็นต้องเตรียมงบประมาณสำหรับค่าใช้จ่ายอื่นๆ นอกเหนือจากป้าย RFID ดังนี้\n-          เครื่องยืมด้วยตนเอง (Self-check station)  \n-          เครื่องคืนด้วยตนเอง (Self-check station) \n-          เครื่องยืมคืนสำหรับบรรณารักษ์ (Self circulation desk) ควรมีอย่างน้อย 2 ตัวในครั้งแรก\n-          ประตูทางเข้า-ออกห้อสมุด (Security gate) \n-          เครื่องอ่านแบบพกพา สำหรับสำรวจชั้นหนังสือ (Portable reader / Hand-held inventory reader)\nผมเรียงลำดับให้ตามความสำคัญ แต่ที่อยากเรียนทุกท่านมากที่สุดคือ อุปกรณ์ที่ราคาถูกที่สุด คือ สิ่งที่แพงที่สุด นั่นหมายถึง TAG RFID ครับ แปรผันตรงกับจำนวนทรัพยากรเลย ดังนั้นในการจัดหา ทุกท่านจะต้อง ต่อรองให้ได้ราคาต่อหน่วยต่ำสุด เพราะอย่าลืมว่าต้องซื้อเขาไปตลอด และที่สำคัญ ให้ซื้อเผื่อเอาไว้เลย เพราะ ขอซื้อทีหลังนั่นน่าจะยาก \n- อุปกรณืบางตัว ไม่จำเป็นครับ ใช้งานจริงๆไม่ค่อยได้ เช่น Portable HandHeld ไม่จำเป็นก็อย่าเพิ่งซื้อครับ และหากที่ไหนยืนยันว่าจะใช้ระบบ Hybird รับรองว่าอุปกรณ์บางตัวแพงกว่าแบบ RFID เดี่ยวๆครับ ดังนั้นชั่งใจให้ดีว่า จะเลิกใช้แม่เหล็กเลยดีไหม เพราะถ้ายังใช้ Hybrid ต้องจ่ายทั้งแถบแม่เหล็กและ TAG RFID ต่อไป แต่ปัจจุบันมีผู้ผลิตบางรายก็ขาย RFID แบบซ่อนได้แล้วนะครับ ลองติดต่อและพิจารณาดูก็ได้ ว่า Ok ไหม ส่วนประตูที่ผมเอาไว้รั้งท้ายก่อน Portable เพราะถ้าจะใช้ Hybrid เหลือประตูแม่เหล็กเดิมไว้ก็ได้ครับ\n- ถัดมาคือเรื่องของการรับประกันครับ ในการเสนอผลิตภัณฑ์ครั้งแรก นอกจากคุณสมบัติ ราคา แล้วสิ่งที่ผมมักจะถามผู้ขายคือ อัตราการ MA ครับ ต้องกดให้ต่ำที่สุด 1-5% ของงบได้ยิ่งดีครับ บางเจ้า เปิดราคามาถูกครับ จัด MA ไป 15-20% นี่ลองคิดดูนะครับ เพราะฉนั้นกดราคา แล้วต้องกด MA ด้วย ที่สำคัญครับต้องประกันระบบอย่างน้อย 3-5 ปี แบบ Onsite ด้วยนะครับ อันนี้ควรกำหนดไว้ใน TOR เลย สำคัญอย่างยิ่ง\n- การติด TAG ควรจะกำหนดให้ ผู้ขายรับผิดชอบการติด TAG และ Transfer ข้อมูลเข้าสู่ RFID เลย อย่าทำเองเด็ดขาด ข้อนี้กำหนดลงใน TOR ได้ และถือเป็นการตรวจรับ TAG ไปในตัว ที่สำนักใช้วิธ๊ให้ผู้ขายติดไปเกือบ 95% ที่เหลือให้ staff มาช่วยกันติด เพื่อที่จะเรียนรู้วฺิธีการติด tag และ transfer จากผู้ขาย\n3.ความจำเป็น อันนี้คงต้องพิจารณาด้วยตนเองครับ ว่าจำเป็นแค่ใจ จากสิ่งที่ผมได้พูดมาทั้งหมด ถ้าจะเอามาลดคน บอกได้เลยครับ ยาก ถ้าจะเอามาขยายเวลาคืนหนังสือ ก็ทำได้ครับ จริงๆไม่ต้อง RFID ก็ได้ หลายที่ก็ทำกัน นั่นคือ แบบมีกล่องรับ แล้ว Staff ก็ไปเอามาทำคืน หรือบางที่อาจเลือกทำจากห้องสมุดเฉพาะก่อน เพื่อทำสถิติ วิจัยดูความคุ้มค่าก่อนก็ได้ครับ ลองกลับไปพิจารณาดู\n4.คุณสมบัติทางเทคนิคที่สำคัญ \n- มีการรับประกันคุณภาพสินค้าทั้งอุปกรณ์ และโปรแกรมไม่น้อยกว่า 3 ปี แบบให้บริการถึงสถานที่ติดตั้ง\n- ระบบและอุปกรณ์ที่เสนอต้องสามารถทำงานร่วมกับระบบงานให้บริการยืมคืนของซอฟท์แวร์ห้องสมุดอัตโนมัติที่สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานใช้อยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ\n- ผู้ผ่านการเสนอราคาจะต้องทำการติดแผ่นข้อมูลที่เสนอกับหนังสือและสื่อประเภทซีดีรอมหรือดีวีดีของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานให้แล้วเสร็จไม่น้อยกว่า xxx,xxx ชิ้นพร้อมดำเนินการจัดทำให้หนังสือและสื่อประเภทซีดีรอมหรือดีวีดีสื่อพร้อมในการบริการยืมคืนผ่านระบบที่เสนอ\n- ผู้เสนอราคาต้องฝึกอบรมเจ้าหน้าที่สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน กับอุปกรณ์จริง ข้อมูลจริงและโปรแกรมที่ส่งมอบ ให้เสร็จสิ้นก่อนการตรวจรับ โดยมีผลการประเมินความพึงพอใจในการฝึกอบรมในระดับไม่น้อยกว่า 70 % และมีความรู้ความสามารถในการควบคุมการทำงานของระบบ ที่ติดตั้งได้เป็นอย่างดี โดยจำแนกตามการจัดหาครุภัณฑ์ ใช้ระบบ รวมทั้งการดูแลบำรุงรักษาระบบ โดยมีเนื้อหาหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการติดตั้งอุปกรณ์ และการควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ และการใช้งานซอฟต์แวร์ จำนวนไม่น้อยกว่า 10 คน ระยะเวลาฝึกอบรมไม่ต่ำกว่า 20 ชม. \n- วันนี้ผมติด TOR มาฝากทุๆท่านด้วยนะครับ ถ้าคิดว่าจะใช้ก็ยินดีครับ\n\n
  22. อันนี้ไม่เกี่ยวกับ RFID นะครับ แต่เกี่ยวข้องกับ ALIST โดยตรง เนื่องจาก สำนักได้ใช้ ALIST มาตั้งแต่ V.3 เราเองได้รับการดูแลจากทีม ALISTเป็นอย่างดี จนสำนักได้ต่อยอดจากทีม ALIST ในหลายเรื่องเพื่อรองรับรูปแบบงานบริการ สำนักได้พัฒนาระบบจัดเก็บสถิติการใช้บริการศุนย์การเรียนด้วยตนเอง ได้แก่ \n- ระบบจัดเก็บสถิติการใช้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยการใช้การตรวสอบฐานข้อมูลผู้ใช้ผ่าน RADIUS ที่คุยกับฐานข้อมูลของ ALIST \n- ระบบจัดเก็บสถิติการใช้บริการพื้นที่สันทนาการเพื่อการเรียนรู้ โดยการใช้ข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศจาก ALIST และจัดเก็บแบบรายเครื่อง\n- ระบบสืบค้นสื่อโสต ที่เน้นการแสดงภาพของสื่อ มากกว่ารายละเดียดทางบรรณานุกรม เหมาะกับสื่อโสตทัศน์ เช่น ภาพยนตร์ สารคดี เป็นต้น\nและ \n-ระบบบริการพิมพ์แบบโควต้าและชำระค่าปรับทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งจะระบบบริการพิมพ์เปิดใช้มาแล้ว 1 ปีการศึกษา และระบบชำระค่าปรับทระพยากรสารสนเทศจะใช้ในปีการศึกษานี้ ดังนั้นใครส่งหนังสือ หลังปิดบริการ อยากตรวจสอบและจ่ายค่าปรับก้ทำได้ตลอดเวลา\nทั้งหมดนี้ สำนักต่อยอดจาก ALIST ทั้งหมด ต้องขอขอบพระคุณ ทีมงาน ALIST ทุกท่านที่ให้การดูแล เป็นอย่างดี ขอบพระคุณอีกครั้งครับ\n \n\n\n
  23. \n