SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 8
Descargar para leer sin conexión
ñ
á¼¹·ÕèáÁ¤¤ÒϸÕ
ËÃ×Í
á¼¹·Õè¼Ñ§àÁ×ͧ¹¤ÃàªÕ§ãËÁ‹
_16-08(001-008)P5.indd 1 11/22/59 BE 7:33 PM
2	 ย้อนอดีตล้านนา ตอน รวมเรื่องน่ารู้จากแผนที่เมืองนครเชียงใหม่
การท�ำแผนที่แบบตะวันตกดังที่ได้ใช้กันแพร่หลายมาจนถึงทุกวันนี้ เพิ่งจะเริ่มมีขึ้นเป็น
ครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังจากที่เสด็จพระราชด�ำเนิน
กลับจากประพาสอินเดียใน พ.ศ. ๒๔๑๕ มูลเหตุของการท�ำแผนที่ในประเทศไทยนั้นเริ่มมาจาก
“...เมื่อเสด็จฯ กลับจากประพาสเกาะชวา แหลมมลายูและประเทศอินเดีย
พ.ศ. ๒๔๑๖ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ นายเฮนรี่ อาละบาสเตอร์ ซึ่งเคย
เป็นราชทูตอังกฤษประจ�ำประเทศสยาม เข้ามาเป็นที่ปรึกษาส่วนพระองค์ด้วย
นายเฮนรี่ อาละบาสเตอร์
ผู้เป็นต้นสกุลพระราชทาน “เศวตศิลา”
นายเฮนรี่ อาละบาสเตอร์ ได้กราบบังคมทูลถวายค�ำแนะน�ำการท�ำนุบ�ำรุง
บ้านเมืองแบบตะวันตกหลายประการ รวมทั้งการส�ำรวจและท�ำแผนที่ด้วย ดังนั้น
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกองท�ำแผนที่ขึ้น ใน พ.ศ. ๒๔๑๘ จากนั้นได้มี
การส�ำรวจท�ำแผนที่ในกรุงเทพฯ... การท�ำแผนที่เพื่อวางสายโทรเลข จากกรุงเทพฯ
ไปเมืองพระตะบอง แผนที่บริเวณปากอ่าวสยามเพื่อประโยชน์ในการเดินเรือ และ
ใช้เป็นแนวทางส�ำหรับวางแผนป้องกันชายฝั่งทะเล...
พ.ศ. ๒๔๒๓ รัฐบาลอังกฤษได้ขออนุมัติรัฐบาลสยามให้กองท�ำแผนที่ กรม
แผนที่แห่งอินเดียซึ่งมีกัปตัน เอช ฮิลล์ เป็นหัวหน้า กับนายเจมส์ แมคคาร์ธี เป็น
_16-08(001-008)P5.indd 2 11/22/59 BE 7:33 PM
แผนที่แมคคาร์ธี หรือแผนที่ผังเมืองนครเชียงใหม่	 3
ผู้ช่วย ท�ำการวางโครงข่ายสามเหลี่ยมจากประเทศอินเดียผ่านประเทศพม่า เข้า
เขตประเทศสยามทางจังหวัดราชบุรี เพื่อเข้าบรรจบกับแผนที่ทางทะเลที่ปากแม่น�้ำ
เจ้าพระยา และสร้างหมุดหลักฐานทางแผนที่ที่ภูเขาทอง และที่องค์พระปฐมเจดีย์
เพื่อเป็นจุดตรวจสอบ ครั้งนั้นข้าราชการไทยพากันหวั่นวิตกมาก เนื่องจากประเทศ
ทางตะวันตกที่ล่าอาณานิคม ก่อนจะเข้ายึดครองประเทศใดมักจะขอเข้าส�ำรวจ
ท�ำแผนที่เสียก่อน นายเฮนรี่ อาละบาสเตอร์ ได้กราบบังคมทูลเสนอแนะว่า ถ้าทรง
เห็นประโยชน์ต่อการวางรากฐานงานท�ำแผนที่ของประเทศสยามตามแบบอย่าง
ประเทศตะวันตกแล้วควรอนุญาตให้ด�ำเนินการได้ตามที่ร้องขอ พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชด�ำริเห็นชอบด้วย การวางโครงข่าย
สามเหลี่ยมในครั้งนั้นจึงเป็นพื้นฐานการท�ำแผนที่ของประเทศไทยในปัจจุบัน พร้อม
กันนั้น นายเฮนรี่ อาละบาสเตอร์ ได้กราบบังคมทูลเสนอให้เชิญ นายเจมส์ แมคคาร์ธี
เข้ามารับราชการในประเทศสยามด้วย...
	
นายพันโท พระวิภาคภูวดล
(เจมส์ แมคคาร์ธี)
เจ้ากรมท�ำแผนที่คนแรกของประเทศไทย
...ต่อมาวันที่ ๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๒๘ ทรงสถาปนากรมท�ำแผนที่ขึ้น โดยมี
พระวิภาคภูวดล (เจมส์ แมคคาร์ธี) เป็นเจ้ากรมท�ำแผนที่คนแรก (ในระหว่าง พ.ศ.
๒๔๒๘–๒๔๔๔)
_16-08(001-008)P5.indd 3 11/22/59 BE 7:33 PM
4	 ย้อนอดีตล้านนา ตอน รวมเรื่องน่ารู้จากแผนที่เมืองนครเชียงใหม่
การท�ำแผนที่เฉพาะทางบกในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว นับแต่ทรงสถาปนากรมท�ำแผนที่ขึ้นแล้วนั้น เริ่มต้นด้วยการส�ำรวจ
ภูมิประเทศรอบเขตแดนเพื่อท�ำแผนที่แสดงเขตพระราชอาณาจักรขึ้นเป็นหลัก
พร้อมไปกับการจัดท�ำแผนที่เฉพาะบริเวณย่อย ๆ เพื่อจุดประสงค์เฉพาะทาง เช่น
แผนที่ปักปันเขตแดน แผนที่เสด็จประพาส แผนที่มณฑล และแผนที่ผังเมือง
แผนที่แสดงพระราชอาณาเขตสยามรวมทั้งหัวเมืองประเทศราช
พร้อมพิมพ์แผนที่ผังเมืองกรุงเทพฯ, เชียงใหม่ และหลวงพระบาง แทรกในพื้นที่ว่างตอนล่าง
ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๔๔๓ หรือที่รู้จักกันในนาม “แผนที่แมคคาร์ธี”
_16-08(001-008)P5.indd 4 11/22/59 BE 7:33 PM
แผนที่แมคคาร์ธี หรือแผนที่ผังเมืองนครเชียงใหม่	 5
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ
เมื่อครั้งยังทรงด�ำรงพระยศเป็นพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการ
แผนที่หลักระวางแรกที่กรมท�ำแผนที่รวบรวมข้อมูลทั้งจากการส�ำรวจและจาก
แผนที่ของชาวต่างประเทศในยุคนั้นจัดท�ำขึ้นได้ส�ำเร็จ เป็นแผนที่พระราอาณาจักร
สยาม “Map of The Kingdom of Siam and its Dependencies” นิยม
เรียกแต่สั้น ๆ ว่า “แผนที่แมคคาร์ธี” ตามชื่อของเจ้ากรมท�ำแผนที่ในระหว่างนั้น
แผนที่ระวางนี้ได้ส่งไปพิมพ์ที่อังกฤษคราวเดียวกันกับที่รัฐบาลสยามส่งกรมหมื่น
เทวะวงศ์วโรปการ๑
ไปร่วมงานยูบิลี๒
ของสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิคตอเรีย เมื่อ
พ.ศ. ๒๔๓๐ แต่พิมพ์ส�ำเร็จใน พ.ศ. ๒๔๓๑ ภายในแผนที่ระวางนี้เองมีส่วนแทรก
เป็นแผนที่ผังเมืองขนาดย่อ ๆ ไว้ถึง ๓ เมืองด้วยกัน ได้แก่ Plan of Bangkok,
Plan of Chieng Mai และ Plan of Luang Prabang เข้าใจว่าเพราะทั้ง ๓
เมืองนี้เป็นเมืองส�ำคัญอันดับต้น ๆ ของราชอาณาจักรสยาม (ก่อนเสียดินแดนริมฝั่ง
ซ้ายแม่น�้ำโขงให้แก่ฝรั่งเศสใน ร.ศ. ๑๑๒) แต่ข้อที่น่าสังเกตอีกประการหนึ่งก็คือ
แผนที่ผังเมืองดูเหมือนได้รับความสนใจและเป็นที่ต้องการเป็นอย่างมาก... ”๓
	 ๑	
	ต่อมาได้รับพระราชทานเฉลิมพระยศเป็น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ
	 ๒
		งานฉลองสุวรรณาภิเศกสมโภช ครบรอบ ๕๐ ปี ของการครองราชย์
	 ๓
		กรมแผนที่ทหาร, “ประวัติสังเขปของการท�ำแผนที่ในพระราชาณาจักรสยาม,” แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ.
๒๔๓๑–๒๔๗๔, หน้า ๑–๔.
_16-08(001-008)P5.indd 5 11/22/59 BE 7:33 PM
6	 ย้อนอดีตล้านนา ตอน รวมเรื่องน่ารู้จากแผนที่เมืองนครเชียงใหม่
แผนที่ผังเมืองนครเชียงใหม่ซึ่งรวมพิมพ์ไว้ที่มุมล่างซ้าย
ของแผนที่พระราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. ๒๔๓๐ (ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๒) หรือ “แผนที่แมคคาร์ธี”
อนึ่ง เนื่องจากการเสียดินแดนส่วนหนึ่งทางฝั่งซ้ายแม่น�้ำโขง ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวให้แก่ฝรั่งเศสในเหตุการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖)
เมื่อราชสมาคมภูมิศาสตร์แห่งสหราชอาณาจักรจะจัดพิมพ์แผนที่ราชอาณาจักรสยาม เพื่อแนบไป
กับหนังสือ “SURVEYING AND EXPLORING IN SIAM” ซึ่ง JAMES McCARTHY, F.R.G.S.๔
เจ้ากรมท�ำแผนที่แห่งประเทศสยามได้เขียนไว้ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๔๑ ราชสมาคมภูมิศาสตร์ฯ
จึงได้มอบหมายให้ Mr. Herbert Warington Smyth๕
ซึ่งเคยได้รับมอบหมายให้ไปส�ำรวจ
	 ๔
	เป็นค�ำย่อมาจาก Fellow of Royal Geographical Society หรือสมาชิกแห่งราชสมาคมภูมิศาสตร์
แห่งสหราชอาณาจักร
	 ๕
ในเอกสารจดหมายเหตุของไทยระบุนามท่านผู้นี้เป็นภาษาไทยว่า “มิสเตอร์สไมท์”
_16-08(001-008)P5.indd 6 11/22/59 BE 7:33 PM
แผนที่แมคคาร์ธี หรือแผนที่ผังเมืองนครเชียงใหม่	 7
สภาพทางภูมิศาสตร์และธรณีวิทยาในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศสยาม เมื่อครั้งรับราชการใน
กรมราชโลหกิจและภูมิวิทยาในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๓๔-๒๔๓๙ เป็นผู้ปรับแก้แนวเขตของ
พระราชอาณาจักรสยามในแผนที่ที่ได้จัดพิมพ์ขึ้นเป็นครั้งแรกใน พ.ศ. ๒๔๓๐ ให้ตรงกับ
อาณาเขตที่มีอยู่จริงใน ค.ศ. ๑๙๐๐ (พ.ศ. ๒๔๔๓) แล้วมอบให้ส�ำนักพิมพ์ John Murray,
Albemarle Street, London จัดพิมพ์ และจ�ำหน่ายไปพร้อมกับหนังสือของพระวิภาคภูวดล
ที่ได้ตีพิมพ์ออกเผยแพร่เป็นครั้งแรกในปีเดียวกันนั้น
อนึ่ง ในการจัดพิมพ์แผนที่พระราชอาณาจักรสยามเป็นครั้งที่สอง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๓ นั้น
ผู้จัดพิมพ์ยังได้น�ำแผนที่ผังเมืองกรุงเทพฯ, นครเชียงใหม่ และนครหลวงพระบาง ลงพิมพ์ไว้ใน
พื้นที่ว่างตอนล่างของแผนที่พระราชอาณาจักรสยามเช่นเดียวกับการจัดพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ
พ.ศ. ๒๔๓๐ ด้วย 	แต่ในส่วนของแผนที่ผังเมืองนครเชียงใหม่นั้น พบว่ามีการปรับเพิ่มแนวสะพาน
พระเจ้าอินทวิชยานนท์ข้ามล�ำน�้ำปิง ที่รู้จักกันในนาม “ขัวกุลา” หรือ “สะพานหมอชีก” ซึ่ง
ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๓ ให้สมบูรณ์ขึ้น
ต่อมาได้มีนักวิชาการประวัติศาสตร์น�ำแผนที่ผังเมืองนครเชียงใหม่ฉบับพิมพ์ครั้งที่สอง
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๓ มาเผยแพร่ โดยเข้าใจไปว่า แผนที่ฉบับนี้เพิ่งตีพิมพ์เป็นครั้งแรกใน พ.ศ. ๒๔๔๓
จึงพากันเรียกแผนที่ผังเมืองนครเชียงใหม่ฉบับนี้ว่า “แผนที่เมืองนครเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๔๔๓”
บ้างก็เรียกว่า “แผนที่เมืองนครเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๔๔๕” แต่ที่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย คือ
“แผนที่แมคคาร์ธี”
_16-08(001-008)P5.indd 7 11/22/59 BE 7:33 PM
_16-08(001-008)P5.indd 8 11/22/59 BE 7:33 PM

Más contenido relacionado

Destacado

9789740335832
97897403358329789740335832
9789740335832CUPress
 
9789740335566
97897403355669789740335566
9789740335566CUPress
 
9789740335146
97897403351469789740335146
9789740335146CUPress
 
123a
123a123a
123aO J
 
9789740333449
97897403334499789740333449
9789740333449CUPress
 
School management system
School management systemSchool management system
School management systemAgus sadly
 
Antropologia bem feito
Antropologia bem feitoAntropologia bem feito
Antropologia bem feitoPedro Kangombe
 
Umasankar 10 years embedded software engineer
Umasankar 10 years embedded software engineerUmasankar 10 years embedded software engineer
Umasankar 10 years embedded software engineerUmasankar K
 
Aparato respiratorio VISITA EL BLOG ZONA DE ESTUDIO ODONTOLOGICO
Aparato respiratorio VISITA EL BLOG ZONA DE ESTUDIO ODONTOLOGICOAparato respiratorio VISITA EL BLOG ZONA DE ESTUDIO ODONTOLOGICO
Aparato respiratorio VISITA EL BLOG ZONA DE ESTUDIO ODONTOLOGICOJefferson Almeida
 
Claves para Frenar el Cancer
Claves para Frenar el CancerClaves para Frenar el Cancer
Claves para Frenar el CancerSusana Gallardo
 
Procesos fundiciones atilio 3ercorte
Procesos fundiciones atilio 3ercorteProcesos fundiciones atilio 3ercorte
Procesos fundiciones atilio 3ercortesaia punto
 
Н.А. Иванов - Энергетическая стратегия США и проблемы разработки нетрадиционн...
Н.А. Иванов - Энергетическая стратегия США и проблемы разработки нетрадиционн...Н.А. Иванов - Энергетическая стратегия США и проблемы разработки нетрадиционн...
Н.А. Иванов - Энергетическая стратегия США и проблемы разработки нетрадиционн...Moscow School of Economics (MSE MSU)
 

Destacado (16)

9789740335832
97897403358329789740335832
9789740335832
 
9789740335566
97897403355669789740335566
9789740335566
 
9789740335146
97897403351469789740335146
9789740335146
 
123a
123a123a
123a
 
Eduardo Anselmo Castro - Metodologias de participação em planos estratégicos
Eduardo Anselmo Castro - Metodologias de participação em planos estratégicosEduardo Anselmo Castro - Metodologias de participação em planos estratégicos
Eduardo Anselmo Castro - Metodologias de participação em planos estratégicos
 
9789740333449
97897403334499789740333449
9789740333449
 
8
88
8
 
School management system
School management systemSchool management system
School management system
 
Antropologia bem feito
Antropologia bem feitoAntropologia bem feito
Antropologia bem feito
 
Umasankar 10 years embedded software engineer
Umasankar 10 years embedded software engineerUmasankar 10 years embedded software engineer
Umasankar 10 years embedded software engineer
 
Aparato respiratorio VISITA EL BLOG ZONA DE ESTUDIO ODONTOLOGICO
Aparato respiratorio VISITA EL BLOG ZONA DE ESTUDIO ODONTOLOGICOAparato respiratorio VISITA EL BLOG ZONA DE ESTUDIO ODONTOLOGICO
Aparato respiratorio VISITA EL BLOG ZONA DE ESTUDIO ODONTOLOGICO
 
Proyección simple abdominal 7 Marzo 2017
Proyección simple abdominal 7 Marzo 2017Proyección simple abdominal 7 Marzo 2017
Proyección simple abdominal 7 Marzo 2017
 
Claves para Frenar el Cancer
Claves para Frenar el CancerClaves para Frenar el Cancer
Claves para Frenar el Cancer
 
Mensajes cristianos
Mensajes cristianosMensajes cristianos
Mensajes cristianos
 
Procesos fundiciones atilio 3ercorte
Procesos fundiciones atilio 3ercorteProcesos fundiciones atilio 3ercorte
Procesos fundiciones atilio 3ercorte
 
Н.А. Иванов - Энергетическая стратегия США и проблемы разработки нетрадиционн...
Н.А. Иванов - Энергетическая стратегия США и проблемы разработки нетрадиционн...Н.А. Иванов - Энергетическая стратегия США и проблемы разработки нетрадиционн...
Н.А. Иванов - Энергетическая стратегия США и проблемы разработки нетрадиционн...
 

Más de CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

Más de CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740335696

  • 2. 2 ย้อนอดีตล้านนา ตอน รวมเรื่องน่ารู้จากแผนที่เมืองนครเชียงใหม่ การท�ำแผนที่แบบตะวันตกดังที่ได้ใช้กันแพร่หลายมาจนถึงทุกวันนี้ เพิ่งจะเริ่มมีขึ้นเป็น ครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังจากที่เสด็จพระราชด�ำเนิน กลับจากประพาสอินเดียใน พ.ศ. ๒๔๑๕ มูลเหตุของการท�ำแผนที่ในประเทศไทยนั้นเริ่มมาจาก “...เมื่อเสด็จฯ กลับจากประพาสเกาะชวา แหลมมลายูและประเทศอินเดีย พ.ศ. ๒๔๑๖ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ นายเฮนรี่ อาละบาสเตอร์ ซึ่งเคย เป็นราชทูตอังกฤษประจ�ำประเทศสยาม เข้ามาเป็นที่ปรึกษาส่วนพระองค์ด้วย นายเฮนรี่ อาละบาสเตอร์ ผู้เป็นต้นสกุลพระราชทาน “เศวตศิลา” นายเฮนรี่ อาละบาสเตอร์ ได้กราบบังคมทูลถวายค�ำแนะน�ำการท�ำนุบ�ำรุง บ้านเมืองแบบตะวันตกหลายประการ รวมทั้งการส�ำรวจและท�ำแผนที่ด้วย ดังนั้น จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกองท�ำแผนที่ขึ้น ใน พ.ศ. ๒๔๑๘ จากนั้นได้มี การส�ำรวจท�ำแผนที่ในกรุงเทพฯ... การท�ำแผนที่เพื่อวางสายโทรเลข จากกรุงเทพฯ ไปเมืองพระตะบอง แผนที่บริเวณปากอ่าวสยามเพื่อประโยชน์ในการเดินเรือ และ ใช้เป็นแนวทางส�ำหรับวางแผนป้องกันชายฝั่งทะเล... พ.ศ. ๒๔๒๓ รัฐบาลอังกฤษได้ขออนุมัติรัฐบาลสยามให้กองท�ำแผนที่ กรม แผนที่แห่งอินเดียซึ่งมีกัปตัน เอช ฮิลล์ เป็นหัวหน้า กับนายเจมส์ แมคคาร์ธี เป็น _16-08(001-008)P5.indd 2 11/22/59 BE 7:33 PM
  • 3. แผนที่แมคคาร์ธี หรือแผนที่ผังเมืองนครเชียงใหม่ 3 ผู้ช่วย ท�ำการวางโครงข่ายสามเหลี่ยมจากประเทศอินเดียผ่านประเทศพม่า เข้า เขตประเทศสยามทางจังหวัดราชบุรี เพื่อเข้าบรรจบกับแผนที่ทางทะเลที่ปากแม่น�้ำ เจ้าพระยา และสร้างหมุดหลักฐานทางแผนที่ที่ภูเขาทอง และที่องค์พระปฐมเจดีย์ เพื่อเป็นจุดตรวจสอบ ครั้งนั้นข้าราชการไทยพากันหวั่นวิตกมาก เนื่องจากประเทศ ทางตะวันตกที่ล่าอาณานิคม ก่อนจะเข้ายึดครองประเทศใดมักจะขอเข้าส�ำรวจ ท�ำแผนที่เสียก่อน นายเฮนรี่ อาละบาสเตอร์ ได้กราบบังคมทูลเสนอแนะว่า ถ้าทรง เห็นประโยชน์ต่อการวางรากฐานงานท�ำแผนที่ของประเทศสยามตามแบบอย่าง ประเทศตะวันตกแล้วควรอนุญาตให้ด�ำเนินการได้ตามที่ร้องขอ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชด�ำริเห็นชอบด้วย การวางโครงข่าย สามเหลี่ยมในครั้งนั้นจึงเป็นพื้นฐานการท�ำแผนที่ของประเทศไทยในปัจจุบัน พร้อม กันนั้น นายเฮนรี่ อาละบาสเตอร์ ได้กราบบังคมทูลเสนอให้เชิญ นายเจมส์ แมคคาร์ธี เข้ามารับราชการในประเทศสยามด้วย... นายพันโท พระวิภาคภูวดล (เจมส์ แมคคาร์ธี) เจ้ากรมท�ำแผนที่คนแรกของประเทศไทย ...ต่อมาวันที่ ๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๒๘ ทรงสถาปนากรมท�ำแผนที่ขึ้น โดยมี พระวิภาคภูวดล (เจมส์ แมคคาร์ธี) เป็นเจ้ากรมท�ำแผนที่คนแรก (ในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๒๘–๒๔๔๔) _16-08(001-008)P5.indd 3 11/22/59 BE 7:33 PM
  • 4. 4 ย้อนอดีตล้านนา ตอน รวมเรื่องน่ารู้จากแผนที่เมืองนครเชียงใหม่ การท�ำแผนที่เฉพาะทางบกในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว นับแต่ทรงสถาปนากรมท�ำแผนที่ขึ้นแล้วนั้น เริ่มต้นด้วยการส�ำรวจ ภูมิประเทศรอบเขตแดนเพื่อท�ำแผนที่แสดงเขตพระราชอาณาจักรขึ้นเป็นหลัก พร้อมไปกับการจัดท�ำแผนที่เฉพาะบริเวณย่อย ๆ เพื่อจุดประสงค์เฉพาะทาง เช่น แผนที่ปักปันเขตแดน แผนที่เสด็จประพาส แผนที่มณฑล และแผนที่ผังเมือง แผนที่แสดงพระราชอาณาเขตสยามรวมทั้งหัวเมืองประเทศราช พร้อมพิมพ์แผนที่ผังเมืองกรุงเทพฯ, เชียงใหม่ และหลวงพระบาง แทรกในพื้นที่ว่างตอนล่าง ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๔๔๓ หรือที่รู้จักกันในนาม “แผนที่แมคคาร์ธี” _16-08(001-008)P5.indd 4 11/22/59 BE 7:33 PM
  • 5. แผนที่แมคคาร์ธี หรือแผนที่ผังเมืองนครเชียงใหม่ 5 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เมื่อครั้งยังทรงด�ำรงพระยศเป็นพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการ แผนที่หลักระวางแรกที่กรมท�ำแผนที่รวบรวมข้อมูลทั้งจากการส�ำรวจและจาก แผนที่ของชาวต่างประเทศในยุคนั้นจัดท�ำขึ้นได้ส�ำเร็จ เป็นแผนที่พระราอาณาจักร สยาม “Map of The Kingdom of Siam and its Dependencies” นิยม เรียกแต่สั้น ๆ ว่า “แผนที่แมคคาร์ธี” ตามชื่อของเจ้ากรมท�ำแผนที่ในระหว่างนั้น แผนที่ระวางนี้ได้ส่งไปพิมพ์ที่อังกฤษคราวเดียวกันกับที่รัฐบาลสยามส่งกรมหมื่น เทวะวงศ์วโรปการ๑ ไปร่วมงานยูบิลี๒ ของสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิคตอเรีย เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๐ แต่พิมพ์ส�ำเร็จใน พ.ศ. ๒๔๓๑ ภายในแผนที่ระวางนี้เองมีส่วนแทรก เป็นแผนที่ผังเมืองขนาดย่อ ๆ ไว้ถึง ๓ เมืองด้วยกัน ได้แก่ Plan of Bangkok, Plan of Chieng Mai และ Plan of Luang Prabang เข้าใจว่าเพราะทั้ง ๓ เมืองนี้เป็นเมืองส�ำคัญอันดับต้น ๆ ของราชอาณาจักรสยาม (ก่อนเสียดินแดนริมฝั่ง ซ้ายแม่น�้ำโขงให้แก่ฝรั่งเศสใน ร.ศ. ๑๑๒) แต่ข้อที่น่าสังเกตอีกประการหนึ่งก็คือ แผนที่ผังเมืองดูเหมือนได้รับความสนใจและเป็นที่ต้องการเป็นอย่างมาก... ”๓ ๑ ต่อมาได้รับพระราชทานเฉลิมพระยศเป็น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ๒ งานฉลองสุวรรณาภิเศกสมโภช ครบรอบ ๕๐ ปี ของการครองราชย์ ๓ กรมแผนที่ทหาร, “ประวัติสังเขปของการท�ำแผนที่ในพระราชาณาจักรสยาม,” แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๔๓๑–๒๔๗๔, หน้า ๑–๔. _16-08(001-008)P5.indd 5 11/22/59 BE 7:33 PM
  • 6. 6 ย้อนอดีตล้านนา ตอน รวมเรื่องน่ารู้จากแผนที่เมืองนครเชียงใหม่ แผนที่ผังเมืองนครเชียงใหม่ซึ่งรวมพิมพ์ไว้ที่มุมล่างซ้าย ของแผนที่พระราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. ๒๔๓๐ (ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๒) หรือ “แผนที่แมคคาร์ธี” อนึ่ง เนื่องจากการเสียดินแดนส่วนหนึ่งทางฝั่งซ้ายแม่น�้ำโขง ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวให้แก่ฝรั่งเศสในเหตุการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) เมื่อราชสมาคมภูมิศาสตร์แห่งสหราชอาณาจักรจะจัดพิมพ์แผนที่ราชอาณาจักรสยาม เพื่อแนบไป กับหนังสือ “SURVEYING AND EXPLORING IN SIAM” ซึ่ง JAMES McCARTHY, F.R.G.S.๔ เจ้ากรมท�ำแผนที่แห่งประเทศสยามได้เขียนไว้ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๔๑ ราชสมาคมภูมิศาสตร์ฯ จึงได้มอบหมายให้ Mr. Herbert Warington Smyth๕ ซึ่งเคยได้รับมอบหมายให้ไปส�ำรวจ ๔ เป็นค�ำย่อมาจาก Fellow of Royal Geographical Society หรือสมาชิกแห่งราชสมาคมภูมิศาสตร์ แห่งสหราชอาณาจักร ๕ ในเอกสารจดหมายเหตุของไทยระบุนามท่านผู้นี้เป็นภาษาไทยว่า “มิสเตอร์สไมท์” _16-08(001-008)P5.indd 6 11/22/59 BE 7:33 PM
  • 7. แผนที่แมคคาร์ธี หรือแผนที่ผังเมืองนครเชียงใหม่ 7 สภาพทางภูมิศาสตร์และธรณีวิทยาในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศสยาม เมื่อครั้งรับราชการใน กรมราชโลหกิจและภูมิวิทยาในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๓๔-๒๔๓๙ เป็นผู้ปรับแก้แนวเขตของ พระราชอาณาจักรสยามในแผนที่ที่ได้จัดพิมพ์ขึ้นเป็นครั้งแรกใน พ.ศ. ๒๔๓๐ ให้ตรงกับ อาณาเขตที่มีอยู่จริงใน ค.ศ. ๑๙๐๐ (พ.ศ. ๒๔๔๓) แล้วมอบให้ส�ำนักพิมพ์ John Murray, Albemarle Street, London จัดพิมพ์ และจ�ำหน่ายไปพร้อมกับหนังสือของพระวิภาคภูวดล ที่ได้ตีพิมพ์ออกเผยแพร่เป็นครั้งแรกในปีเดียวกันนั้น อนึ่ง ในการจัดพิมพ์แผนที่พระราชอาณาจักรสยามเป็นครั้งที่สอง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๓ นั้น ผู้จัดพิมพ์ยังได้น�ำแผนที่ผังเมืองกรุงเทพฯ, นครเชียงใหม่ และนครหลวงพระบาง ลงพิมพ์ไว้ใน พื้นที่ว่างตอนล่างของแผนที่พระราชอาณาจักรสยามเช่นเดียวกับการจัดพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๐ ด้วย แต่ในส่วนของแผนที่ผังเมืองนครเชียงใหม่นั้น พบว่ามีการปรับเพิ่มแนวสะพาน พระเจ้าอินทวิชยานนท์ข้ามล�ำน�้ำปิง ที่รู้จักกันในนาม “ขัวกุลา” หรือ “สะพานหมอชีก” ซึ่ง ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๓ ให้สมบูรณ์ขึ้น ต่อมาได้มีนักวิชาการประวัติศาสตร์น�ำแผนที่ผังเมืองนครเชียงใหม่ฉบับพิมพ์ครั้งที่สอง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๓ มาเผยแพร่ โดยเข้าใจไปว่า แผนที่ฉบับนี้เพิ่งตีพิมพ์เป็นครั้งแรกใน พ.ศ. ๒๔๔๓ จึงพากันเรียกแผนที่ผังเมืองนครเชียงใหม่ฉบับนี้ว่า “แผนที่เมืองนครเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๔๔๓” บ้างก็เรียกว่า “แผนที่เมืองนครเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๔๔๕” แต่ที่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย คือ “แผนที่แมคคาร์ธี” _16-08(001-008)P5.indd 7 11/22/59 BE 7:33 PM