SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 62
Descargar para leer sin conexión
ส ติ ป ญ ญ า




ส ติ ป ญ ญ า
อ. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง
ชมรมกัลยาณธรรม
หนั ง สื อ ดี ลำดั บ ที่ ๘๗
สติปญญา
อาจารย สุ ภี ร ทุ ม ทอง

จั ด พิ ม พ เ พื่ อ แจกเป น ธรรมทาน
นอมถวายเปนพุทธบูชาในงานแสดงธรรม เปนธรรมทาน ครั้งที่ ๑๕
อาทิตยที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๒
ณ หอประชุมใหญ-หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ครั้งที่ ๑             :      จำนวน ๑๐,๐๐๐ ; กันยายน ๒๕๕๒
จัดพิมพโดย            :      ชมรมกัลยาณธรรม ๑๐๐ ถนนประโคนชัย
                              ต.ปากน้ำ อ. เมือง จ.สมุทรปราการ ๑๐๒๗๐
                              โทรศัพท ๐๒-๗๐๒๗๓๕๓ และ ๐๒-๖๓๕๓๙๙๘

ภาพประกอบ              :      เคอ ซิ่ว เซียง
ออกเเบบและ             :      บุญรอด แสงสินธุ
จัดรูปเลม                     โทรศัพท ๐๘-๑๖๒๙-๔๙๐๓

แยกสี                  :       Canna Graphic โทรศัพท ๐๘-๖๓๑๔-๓๖๕๑
จัดพิมพท่ี            :      บ.ขุมทองอุตสาหกรรมและการพิมพ จำกัด
                              โทรศัพท ๐๒-๘๘๕๗๘๗๐-๓



                      สัพพทานัง ธัมมทานัง ชินาติ
               การใหธรรมะเปนทาน ยอมชนะการใหทั้งปวง
              w w w. k a n l a y a n a t a m. c o m
ส ติ ป ญ ญ า
                          คำนำ
        หนั ง สื อ “สติ ป ญ ญา” นี้ เรี ย บเรี ย งจากคำ
บรรยายในจั ด ปฏิ บั ติ ธ รรมที่ อ าศรมมาตา อ.ป ก ธงชั ย
จ.นครราชสีมา ระหวางวันที่ ๑ - ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๒
คำบรรยายเรื่องนี้บรรยายเมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒
ตอนเชา คุณชัญญาภัค พงศชยกร เปนผถอดเทปผบรรยาย
                                        ู          ู
ไดนำมาปรับปรุงเพิ่มเติมตามสมควร

          เนือหาทีบรรยายนันเกียวกับ ลักษณะของสติปญญา
             ้    ่       ้ ่                    
และอธิบายวิธการฝกใหเกิดขึน โดยอาศัยหลักสติปฏฐาน ให
               ี           ้                 
เปนผมสติคอไมหลงลืมกายไมหลงลืมใจ และมีปญญาคือเขาใจ
      ู ี ื                                
ความจริงของกายของใจ อันเปนตนทางสการรแจงอริยสัจ
                                       ู ู

            ขออนุโมทนาผูที่เกี่ยวของในการทำหนังสือเลมนี้
และขอขอบคุ ณ ญาติ ธ รรมทั้ ง หลายที่ มี เ มตตาต อ ผู บ รรยาย
เสมอมาหากมีความผิดพลาดประการใด อันเกิดจากความดอย
สติ ป ญ ญาของผู บ รรยายก็ ข อขมาต อ พระรั ต นตรั ย และ
ครูบาอาจารยทั้งหลาย และขออโหสิกรรมจากทานผูอานไว
ณ ทีนดวย
     ่ ี้ 


                             สุภร ทุมทอง
                                ี
                               ผบรรยาย
                                  ู
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง
ส ติ ป ญ ญ า




                                        สติ ป ญ ญา
                 บรรยายวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ เชา


            สวัสดีครับทานผสนใจในธรรมะทุกทาน
                                 ู
เรามาปฏิบตธรรมก็เพือฝกฝนตนเอง เพือทีจะได
                 ัิ         ่                   ่ ่
มีเครืองมือไปศึกษากายศึกษาใจใหเกิดปญญา
         ่
นี้ เ ป น หน า ที่ ข องเราที่ เ กิ ด มาเป น มนุ ษ ย น ะ
เปนหนาทีทจำเปนสำหรับเราทังหลาย เพราะเรา
               ่ ี่                     ้
ทั้งหลายนั้นเกิดมาจากความไมรู เรายังไมรู
อริยสัจ รูยังไมครบถวน ยังรูไมแจมแจงคือ
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

ยังไมเปนพระอรหันตนั่นเอง ก็เลยไดเกิดมา
เพราะฉะนั้ น เกิ ด มาแล ว ก็ มี ห น า ที่ ที่
สำคัญก็คอมาทำใหเกิดความรขน มาอาศัย
          ื                    ู ึ้
โลกก็เพือเรียนรโลกใหมนแจมแจง
        ่       ู      ั
          เราเกิดมานี้ไมมีอะไรเปนของเรานะ
เกิ ด มาอาศั ย เฉยๆ บางคนมี สิ่ ง นั้ น สิ่ ง นี้
เยอะเหลือเกินที่มันมีเยอะเพราะวาเราเขาใจ
ผิดไป บางคนเกิดมาในโลกก็บอกวาโลกของเรา
ลื ม ไปว า คนอื่ น เขาก็ คิ ด อย า งนี้ เ หมื อ นกั น
ไสเดือนกิงกือก็คดอยางนีเ้ ปน คิดวา โลกของเรา
           ้       ิ
นี้มันเริ่มมาจากความเขาใจผิด หลงยึดมั่น
ถือมัน วากายนีใจนีเ้ ปนตัวเราเปนของเรากอน
      ่              ้
ก็เลยพลอยยึดสิงอืน เปนบานของเรา ประเทศ
                  ่ ่
ของเรา จนกระทังโลกของเรา แททจริงแลวมัน
                       ่                   ี่
ไมใชนะ
                          ๖
ส ติ ป ญ ญ า

        เราอาศัยรูปนามหรือวากายใจนีอยู เปน
                                      ้
ทีอาศัยชัวครังชัวคราวเทานันเอง สักหนอยก็
  ่       ่ ้ ่            ้
จะทิงมันไป บานก็เหมือนกัน เราก็มาอาศัย
      ้
ประเทศก็เหมือนกัน ไมใชของเรา เรามาอาศัย
อยู อาศัยชัวครังชัวคราวแลวก็จากไป โลกก็
            ่ ้ ่
เหมือนกัน เรามาอาศัยอยู อยไมนานหรอกเดียว
                             ู            ๋
ก็ไปแลว ศาสนาก็เหมือนกัน แมแตพระพุทธ
ศาสนาก็ไมใชของเรา เรามาอาศัยทาน อาศัย
รมเงาทาน ถาเราไดอาศัยจริงๆ ไดรจกจริงๆ
                                    ู ั
ก็รมเย็นสงบสุข แตไมใชของเรานะ
    

       ถาบางพวกเขามีความเขาใจผิด หลงยึด
มันถือมัน กายนีใจนีเ้ ปนของเรา แมแตศกษา
  ่     ่      ้                       ึ
ธรรมะ ก็ยดวาพุทธศาสนาของเรา ถาเกิดความ
          ึ
เห็นในทำนองอยางนีขน ก็จะเกิดความยึดมัน
                  ้ ึ้                   ่
                     ๗
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

ถือมัน ตองไปพยายามถกเถียงวา ฝายเราดี
     ่
ฝายเราถูก ฝายเขาดีเหมือนกันแตดไมเทาเรา
                                 ี
อะไรก็วากันไป มันก็เกิดความทุกข เกิดความ
       
เครียด เกิดความบีบคั้นซึ่งกันและกัน ชีวิต
ไมเคยประสบกับความสงบสุข ไมเคยประสบ
กับความรมเย็น

        แมแตความคิดตางๆ ทีเ่ กิดขึนเปนครังๆ
                                     ้       ้
หากเห็นผิดคิดวา เปนความคิดของเรา นีกมี   ่็
ปญหาแลว ความคิดของเราตองถูก ตองดี
ก็ตองเหน็ดเหนื่อยในการที่จะพยายามพูดให
คนอื่นเชื่อเรา เพราะฉะนั้น อยาพยายาม
ไปทำอยางนั้นนะ มันไมใชของเราจริงหรอก
ตองพยายามเขาใจความจริง ถาจะพูดให
คนอืนฟงก็พดความจริง เขาจะเชือหรือไมเชือ
     ่       ู                     ่           ่
                        ๘
ส ติ ป ญ ญ า

ก็อกเรืองหนึง ความจริงไมจำเปนตองเชือนะ
    ี ่     ่                            ่
เพราะความจริงก็เปนความจริงอยูวันยังค่ำ
นันแหละ แตถามันไมจริง มันเปนความเห็น
  ่             
ของเรา เราอยากจะใหเขาเชือนี่ ลำบากลำบน
                            ่
หาเหตุผลใหเขาเชือเรา เขาเชือแปบเดียวเดียว
                  ่           ่            ๋
เขาไปฟงคนอืน เขาก็ไมเชือเราแลว มันก็ลำบาก
              ่          ่

        ใหศกษาเพือใหเขาใจความจริงนะ เรา
              ึ       ่
มาอาศัยก็เพือศึกษาโลกใหเขาใจ อาศัยพระ
                    ่
พุทธเจา เชือทานก็เพือจะเขาใจทาน อาศัย
                  ่     ่
อาจารยก็เพื่อจะเขาใจสิ่งที่อาจารยไดสอน
อาศัยเพือการศึกษา อยางมาทีอาศรมมาตานี้
          ่                   ่
ก็มาอาศัยเพือใหเกิดสติเกิดปญญา เกิดสิกขา
                ่
เกิดศีล เกิดสมาธิ เกิดปญญา อาศัยศาลา
หลังนี้ก็เพื่ออยางนี้แหละ อาศัยพระพุทธรูป
                    ๙
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

กราบพระพุ ท ธรู ป ก็ เ พื่ อ ให เ กิ ด สติ ป ญ ญา
เกิดสิกขา เพราะฉะนั้น อะไรที่เรามีข้ึนมา
ก็เพือใหเกิดการศึกษา เปนทีอาศัยใหเกิดสติ
     ่                            ่
ปญญา ใหเราอยรอดได
                 ู

       ตังแตเด็กมา เราอาศัยพอแม ทีนมา
         ้                              ี้
อาศัยพระพุทธเจา อาศัยพระธรรม ทายทีสด  ุ่
ก็อาศัยครูบาอาจารย ก็เพือจะฝกฝน ใหเกิด
                         ่
การศึกษา เพือจะใหเราอยรอด รอดพนจาก
              ่            ู
ความทุกขทางใจ รอดพนจากความทุกขทตด  ี่ ิ
มากับความเกิด

        มนุษยเรานีมขอดอยเยอะ แตขอดอย
                   ่ ี                
ก็เปนขอดี คือมนุษยนี้มันชวยตัวเองไมได
ถาไมไดฝกฝนนี่ จะชวยตัวเองไมไดสักอยาง
                        ๑๐
ส ติ ป ญ ญ า

อยางทางดานรางกายเรานี้ เราเกิดมาแลวชวย
ตัวเองไมไดซกเรืองเดียว เกิดมาแลวถาเขาเอา
              ั ่
ไปวางไว ตายเลย ชวยตัวเองไมได กินหญา
ก็ไมเปน ดืมน้ำก็ไมเปน ทำอะไรก็ไมเปน ไม
            ่
เหมือนวัวเหมือนควายนะ คลอดมาแลว เดียว    ๋
เดียว เดินตามแมกนหญาไดสบาย ถามองกัน
                    ิ
แงนี้ มนุษยนี้มันมีขอดอย ดอยกวาวัวนะ
แตมนุษยดตรงทีวา เราสามารถฝกได ฝกแลว
           ี ่
มันจะรอดได

       อยางดานรางกายเรานี้ ถาเราไมไดฝก
                                           
ไมรอดแนๆ เอาไปวางไวตายลูกเดียว ตองฝก
แมแตการถายอุจจาระปสสาวะนี่ก็ทำไมเปน
ไปถายรดแมไมรกรอบกวาจะถายเปนทีเ่ ปนทาง
               ู ี่
ทำไมเปน หมาแมวมันยังทำเปนกวาเรา เรานี่
                    ๑๑
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง



หัดตังนานกวาจะเปน แมดาแลวดาอีกวาอยามา
           ้              
ถายตรงนี้ กวาจะทำเปน กวาจะเขาหองนําเปน
                                        ้
ก็ตองฝกกันนาน กินขาวก็ไมเปนนะ ตองฝก
         
เดินก็ไมเปน กวาจะเดินเปนก็นานเลย พูด
อะไรก็ไมรูเรื่อง จะสื่ออะไรออกมาก็ไมเปน
ความรสกนะมี อยากไดนนอยากไดนี่ จะสือ
             ูึ             ั่              ่
สารอะไรก็ไมเปน พูดกับใครก็ไมเปน ถาไมได
ดังใจก็แหกปากอยางเดียว พวกจะเอาใจก็ไมรู
จะเอาใจยังไง มันพูดไมเปน กวาจะพูดกัน
รเู รืองก็นานมาก ไมเหมือนสัตว ไมเหมือนวัว
       ่
ไมเหมือนควาย มันไมไดยงยากอยางนี้ เกิด
                               ุ
มาปบเดี๋ยวสักหนอยก็เดินเปนแลว กินหญา
เปนแลว ไมตองทำอะไรแลว รอวันตาย
                

                        ๑๒
ส ติ ป ญ ญ า

          มนุษยเรานี่ มีขอจำกัด มีขอดอยเยอะ
                                   
ขอดอยคือมันชวยตัวเองไมได แตก็มีจุดแข็ง
ทีสด จุดออนคือชวยตัวเองไมได จุดแข็งคือ
  ่ ุ
สามารถฝกได ดานรางกายนี้ เราก็ฝกกันมา
จนเป น คนอยู ทุ ก วั น นี้ พอช ว ยตั ว เองได
กวาจะทำงานชวยตัวเองไดหลายปมากนะ วัว
ไมตองเขาโรงเรียน มันก็หากินหญาไดสบาย
      
เรานีกวาจะหากินเปน เขาโรงเรียน ผานครูบา
        ้
อาจารยมาไมรูก่ีคนตอกี่คน ฉะนั้น เราจึง
ตองมานึกถึง ไหวพอแม ครูบาอาจารย ไหวผู
                       
มีพระคุณระลึกถึงคุณทานวา ทานทำใหเรา
นี้อยูรอดได เพราะเรานั้นมันอยูดวยตัวเอง
ไมได อยูไมรอด มันเปนขอดอยของมนุษย
แตในขอดอยก็มขอเดนคือสามารถฝกได ดาน
                  ี
รางกายก็ฝกได ทำใหมีชีวิตรอดได แตมัน
                     ๑๓
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

มี ข อ จำกั ด ทางสรี ร ะร า งกายของแต ล ะคน
บางคนก็เลนกีฬาชนิดนันเกง ชนิดนีเ้ กง อยที่
                          ้                  ู
สรีระรางกายดวย อยูที่การฝกฝนดวย เรา
ทังหลายก็ทำนองเดียวกันนะ เราก็ฝกได ออก
  ้                                  
กำลังกายได แตมนก็มขอจำกัดดานสรีระ
                   ั ี

          ทีนี้ ดานจิตใจก็ทำนองเดียวกัน ถาเรา
ไมฝกฝนก็จะพึงตนเองไมได ไมสามารถ
                    ่
เป น ที่ พึ่ ง ของตนเองได ตายเหมือนกัน
ดานรางกายไมไดฝกฝนก็ตาย ดานจิตใจไมได
                       
ฝกฝนก็ตาย รางกายเปนมนุษยแหละ แตใจนี้
มันไมเปนมนุษย นีเ่ รียกวาตายเรียบรอยแลว
ถาหมดกรรมนีแลวก็ไปอบาย จิตใจเราถาไม
                   ้
ได ฝ ก นะมั น ก็ ต ายเลย ไม ไ ด เ ป น มนุ ษ ย
อีกแลว กายอาจจะเปนมนุษยอยูเพราะวา
                        ๑๔
ส ติ ป ญ ญ า

กรรมเกายังทำใหเปนอยูอยางนี้ แตใจอาจ
เปนอยางอืนไปแลว ตายจากมนุษยไปแลว
           ่

       เราทังหลายเปนมนุษยแลว ทางกายก็
              ้
ตองฝกจึงจะอยรอดได ทางใจก็ตองฝกจึงจะ
                ู               
อยูรอดได อยูรอดโดยสามารถเปนมนุษย
ตอไปอีก หรือวายิงขึนไปอีกรอดจากความเกิด
                  ่ ้
ความแก ความเจ็บ ความตาย รอดพนจาก
ความทุกขทงปวง
           ั้

       เรามีความเกิดเปนธรรมดา มีความ
แกเปนธรรมดา มีความเจ็บเปนธรรมดา
มีความตายเปนธรรมดา แตเรามาฝกฝน
เพือทีจะไมเกิด ไมแก ไมเจ็บ ไมตาย
   ่ ่
มันตองฝกฝน พวกสัตวทั้งหลายนั้นมันอยู
                  ๑๕
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

รอดได ไมตองฝกฝนอะไรมาก นันเปนขอเดน
                                ่
ของมัน แตก็เปนขอดอยของมันนะ มันฝก
ไมได เกิดมารับผลของกรรมอยางเดียว สัตว
ทั้งหลายใชชีวิตตามสัญชาตญาณไป ไมได
ฝกฝน หมดกรรมแลวมาเกิดเปนมนุษย คอยดู
กันอีกทีวาไดฝกไหม ไมไดฝกก็ลงไปใหม ใชชวต
                                       ีิ
รับผลของกรรมตามสัญชาตญาณไป หมดกรรม
ก็ขึ้นมาใหม ขึ้นมาแลวก็ดูวาไดฝกฝนไหม
ไมไดฝกฝนก็ลงไปใหม วนเวียนไปมาอยอยางนี้
                                     ู

      เราทังหลายก็ผานความเปนอยางนันมา
           ้                              ้
เยอะแลว เราก็คอยๆ พิจารณา จะไดมกำลังใจ
                                       ี
ในการฝกฝนวา โอ ... เราไดเปนมนุษย มันก็ยาก
แสนยาก การจะไดเจอคำสอนของพระพุทธเจา
ก็ยากแสนยาก จะไดฟงวิธการปฏิบตวปสสนา
                           ี        ัิิ 
                        ๑๖
ส ติ ป ญ ญ า

ก็ยากแสนยาก การจะทำความเขาใจ ก็ยาก
แสนยาก ตองรีบฝกฝนเพื่อจะใหชีวิตเรานี้
มันรอดปลอดภัย พนจากความเกิด แก เจ็บ
ตาย จะไดมีกำลังใจ ขั้นแรก เราก็ฝกฝน
เพื่อใหรอดจากอบายเสียกอน ถาจะเกิดอีก
ก็ไปเกิดในสุคติโลกสวรรค ถาจะใหดยงขึนไป
                                   ี ิ่ ้
กวานั้น คือไมตองเกิดอีกเลย มันก็รอดเปน
ขันๆ ไป
  ้

       การที่เราทั้งหลายมาฝกตน ใหมีสติ
สัมปชัญญะนี่ เปนสิ่งสำคัญที่สุดในชีวิตเรา
แลวนะ สิงสำคัญทีสดของมนุษยเราก็คอสิงนี้
           ่        ุ่                ื ่
นั่นเอง ตัวเราจะมีครอบครัว ทำงานเปนครู
อาจารย เปนพนักงานเอกชน เปนขาราชการ
อะไรก็เปนไป มีลกก็เลียงลูก มีสามีกดแลสามี
                ู ้                ็ู
                  ๑๗
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

มีภรรยาก็ดแลภรรยา มีพอแมกดแลไป แตสง
               ู                  ็ู           ิ่
ที่ ต อ งฝ ก ฝนอยู เ สมอคื อ สติ สั ม ปชั ญ ญะ
มีความรูตัวอยูเสมอ เพื่อที่จะไดศึกษาโลก
ใหเขาใจ เรามาอาศัยโลก เพือทีจะเขาใจโลก
                                 ่ ่
แลวก็ทิ้งมันไป กายนี้ใจนี้ก็ทำนองเดียวกัน
เรามาอาศัยกายอาศัยใจ ก็เพื่อใหเกิดการ
ศึกษา ใหเกิดศีล เกิดสมาธิ เกิดปญญา
เมื่อมีปญญาแลวก็ทิ้งมันไป คืนโลกเขาไปก็
เทานีแหละ
        ้

       เราเกิดมาในโลกนี้ ไมไดมาเพือเอาอะไร
                                    ่
เพราะเอาไปไมได โลกนี้มันไมใชที่พึ่งถาวร
มันไมมสงใดเทียง กายใจนีกทำนองเดียวกัน
       ี ิ่    ่            ้็
บานก็ทำนองเดียวกัน ลาภยศสรรเสริญก็
ทำนองเดียวกัน ทุกอยางนั่นแหละ เรามา
                        ๑๘
ส ติ ป ญ ญ า
เรียนรใหเขาใจวา ไมมสงไหนเปนทีพงไดเลย
          ู             ี ิ่         ่ ึ่
สักอยางเดียว เราก็จะไดที่พ่ึงอันแทจริงเรา
ไมไดมาหาอะไรที่มันถาวร ไมไดมาหาอะไร
ที่ ห ยิ บ ฉวยเอาได แต ม าศึ ก ษาเรี ย นรู เ พื่ อ
ใหเห็นวา มันไมมอะไรเปนทีพงได ไมมอะไร
                    ี        ่ ึ่          ี
ทีมนเทียง
  ่ ั ่
           โดยสวนใหญเราทั้งหลายนี้ เวลาพูด
ถึงการปฏิบตธรรมก็จะมักจะคิดวา เรามาหา
              ั ิ
อะไรทีมนเทียง มาหาอะไรทีเ่ ปนทีพงได มาหา
         ่ ั ่                    ่ ึ่
อะไรที่เราจะยึดเอาได ความจริงมันตรงขาม
กับทีเ่ ราคิด คือเรามาศึกษาเพือใหรวา ในโลก
                               ่ ู 
มันไมมีสิ่งไหนเที่ยง ไมมีสิ่งไหนเปนที่พึ่งได
ไมมีสิ่งไหนที่พอจะยึดเอาไวได มีแตสิ่งที่มา
หลอกเราใหหลงยึดเทานั้นเอง ถาเราไมโดน
หลอก ก็ไมยดมันแลว เรามาศึกษาใหรอยางนีวา
               ึ                       ู    ้
                     ๑๙
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

โลกมันไมมีอะไรนายึด มีแตสิ่งที่หลอก
ใหเราหลงยึด
             เรามาปฏิบัติธรรม ไมยึดหรอกตอนนี้
ปฏิบตไปปฏิบตมา มีสภาวะอันนีดจง สงบดีจง
        ัิ        ัิ                    ้ีั     ั
มันหลอกเราใหไปหลงยึดอีกแลว ใหศกษามันไป   ึ
ความสงบเกิดขึนก็รู คิดวาดีจง มันนาจะเปน
                   ้                ั
ทีพงได เราคิดอยางนีกใหรวาคิด ชีวตมันเปน
  ่ ึ่                     ้ ็ ู            ิ
อยางนี้ มีแตของหลอกลวงใหเราไปยึด ทาน
เรียกวามันเปนมายา เปนปรากฏการณ เปนขันธ
ขันธก็คือปรากฏการณของทุกขที่มันเกิดขึ้น
เปนครังๆ เกิดแลวก็ดบไป มันคอยหลอกเรา
           ้                ั
ใหเราหลง ใหเรายึดอยอยางนัน ยึดไปยึดมา
                              ู       ้
ยึดสิงนันสิงนี้ เปลียนเรืองยึดไปเรือย บางคน
       ่ ้ ่            ่ ่              ่
ยึดตั้งแตเกิดไปจนตาย ตายแลวจะไดโนน
จะไดนี่ ยึดแมแตสงทีมองไมเห็นอีก
                      ิ่ ่
                           ๒๐
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

           ในการปฏิบตธรรมนัน เราไมไดมาหา
                        ั ิ              ้
สิงทีมนเทียงแทถาวร เรามาศึกษาเรียนรเู พือ
  ่ ่ ั ่                                                     ่
ใหเกิดปญญาเห็นวา ไมมีสิ่งไหนที่มันเที่ยง
แทถาวร ไมมีสิ่งไหนอยูกับเราไดนาน สิ่งที่
จะอยกบเราตลอดไปก็คออนิจจัง ไมมสงไหน
        ูั                           ื                 ี ิ่
มันเทียง อยามาหาวาสิงไหนจะอยกบเราไดนาน
      ่                          ่                ูั
เรามาศึกษาเพือใหรวา ไมมสงไหนอยกบเรา
                   ่        ู            ี ิ่         ู ั
ไดนาน ผานมาแลวก็ผานไปทังหมด บางคน
                                               ้
บอกวา ผูชายคนนี้คงจะอยูกับเราไดนาน
แตงงานกับเขาซะเถอะ เปนสามีเราแลว ผหญิง                  ู
คนนี้ ค งจะอยู กั บ เราได น าน แต ง งานกั น
เปนภรรยาเราแลว ลูกคงจะอยกบเราไดนาน            ูั
เราจะไดพงเขาเวลาแกตวลง หวังลมๆ แลงๆ
             ึ่                        ั
ไปนะ แททจริงจิตใจเราเองมันก็ยงอยกบเรา
                ี่                                   ั ูั
ไมไดนานเลย เมือกีนมนมีสขแปบเดียวก็ไปแลว
                     ่ ้ ี้ ั ุ
                            ๒๒
ส ติ ป ญ ญ า

มันทุกข คิดดีๆแปบเดียวมันก็ไปแลว ในโลก
ไมมสงไหนเปนทีพงจริง ถาเราไดความรอนนี้
         ี ิ่                   ่ ึ่                 ูั
นะ เราจะไดทพงอันแทจริง รวา โลกทังหมดโลก
                         ี่ ึ่                ู ้
มนุษยก็ไมมีที่พึ่งที่แทจริง ถึงจะไปสวรรค
ก็ไมเทียงเหมือนกัน แมจะไปพรหมโลก ก็เปน
              ่
ทีพงจริงไมได ความสงบนิงยาวนาน มันก็ดี
   ่ ึ่                                   ่
อยหรอก แตมนก็ดบไปอยดี ถึงจะนังนิงอยู
       ู                       ั ั          ู      ่ ่
ตั้งแตหัวค่ำจนสวาง พอลุกขึ้นสักหนอยมัน
ก็หายไปอยดี มันเปนทีพงแทจริงไมได เปน
                       ู             ่ ึ่
พรหมก็มอายุยาวนานมาก สงบยาวนานมาก
                ี
ก็ยงเปนทีพงจริงๆ ไมได โลกทังหมดเปนเหมือน
     ั            ่ ึ่                         ้
กับถูกไฟไหมอยู มันมีแตของเกิดดับ ไฟเผา
อยเู สมอ ไฟ คือ ชาติ ชรา มรณะ และไฟคือ
กิเลส มีราคะเปนตน

                          ๒๓
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

        เราไดเกิดมาในโลก เกิดมาเพราะยังไมรู
อริยสัจ ยังรอริยสัจไมแจมแจง ไมเกิดปญญา
              ู
ไมเขาใจความจริง ยังไมมวชชา หนาทีของเรา
                               ีิ          ่
คื อ มาอาศั ย เพื่ อ ศึ ก ษาให เ ข า ใจความจริ ง
กายใจนีเ้ ราไดมาเพราะยังไมรู ยังไมแจมแจง
ในอริยสัจ ไดมาแลว เราอาศัยมัน อาศัยกาย
อาศัยใจ เปนฐานทีตงใหเกิดสติปญญา เกิด
                        ่ ั้            
ความรู เกิดวิชชา นีแหละทีพระพุทธเจาทานเรียก
                     ้       ่
วาสติปฏฐาน เปนทางเดียว เปนทางเอก

          สติปฏฐานนันเอากายกับใจเปนฐานที่
                   ้
ตังใหเกิดความรู ใหเกิดสติปญญา ใหเกิดศีล
  ้                          
เกิดสมาธิ เกิดปญญา จนกระทั่งรอดได
ไมตองมาเวียนเกิดเวียนตายอีกตอไป รอดตาย
    
คือไมตองมาตายแลว การที่จะไมตองตาย
        
                        ๒๔
ส ติ ป ญ ญ า

มีวธเดียวเทานัน คือ ตองไมเกิด ถามาเกิด
   ิี          ้
แลวก็ตองตาย มันเปนของคกนอยู
                        ูั

        ในโลกนี้ มันมีแตของเปนคกน มันเปน
                                     ูั
ธรรมดา มันเปนธรรมชาติของมันอยางนัน เรา    ้
ตองศึกษาของคใหเขาใจวา ของคทงหมดเปน
                ู                   ู ั้
ของไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา เทากัน
หมดเลย เกิดก็ไมเทียง จึงมีแก แกกไมเทียง
                      ่                  ็ ่
จึงมีตาย ตายก็ไมเทียง จึงมีเกิด ไดมาแลวก็
                        ่
ตองเสียไป มีแลวก็ตองหมดไป พบกันแลวก็
                          
ตองจากกันไป สุขแลวก็ไมเทียง เปลียนเปน
                               ่          ่
ทุกขได ทุกขแลวไมเทียง เปนสุขไดเหมือนกัน
                            ่
สงบแลวไมเทียง ฟงซานอีกได ฟงซานไมเทียง
              ่     ุ             ุ           ่
เดียวก็สงบใหมไดเหมือนกัน อยางนี้
   ๋

                      ๒๕
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

        เราอาศัยกาย อาศัยใจ เปนทีตงใหเกิด
                                  ่ ั้
ความรู เปนที่ตั้งของการศึกษา จึงเรียกวา
สติปฏฐาน ทางรอดมีทางเดียว คงเคยไดยน
                                        ิ
กันแลวนะ เอกายนมรรค ทางที่ทำใหเกิด
ความรู ใหเกิดสติ เกิดปญญา กายกับใจนี้
เราไดมาแลว ก็ใชมนเปนเครืองศึกษา อาศัย
                    ั        ่
ใหเกิดสติปญญา ความรทจะเกิดจากการอาศัย
                       ู ี่
กายอาศัยใจนี้ จะมีอยสองอยางหลักๆ
                      ู

         ความรอนทีหนีง เรียกวา ความรทเกิด
               ูั ่ ่                        ู ี่
จากการมีสติ รวากายเปนอยางนี้ รวาใจเปน
                 ู                       ู
อยางนี้ ไมลมกายไมลมใจ นีเ้ รียกวา รแบบมีสติ
             ื       ื                  ู
ขันแรก เราอาศัยกายอาศัยใจ ใหเกิดสติ ไมหลง
  ้
ลืมมันไป ไมหลงไปตามโลก ถาหลงไปตามโลก
ก็ไมเกิดการศึกษา ไมเกิดการเรียนรู บางคน
                        ๒๖
ส ติ ป ญ ญ า

หลงออกไปจากกายจากใจของตัวเองมากหลง
ไปเรื่องนั้น หลงไปเรื่องนี้ คิดเรื่องนั้น คิด
เรืองนีเ้ ยอะแยะเหลือเกิน ทังๆ ทีเ่ ราอาศัยกาย
   ่                          ้
อาศัยใจในการทำสิงตางๆ แตไมไดศกษามัน
                     ่                  ึ
เลยนะ ไปศึกษาแตเรืองทีอน เรียนคณิตศาสตร
                       ่ ่ ื่
เรียนฟสกส เรียนชีววิทยา เรียนเรืองการทำงาน
           ิ                      ่
เราเรียนเรืองเหลานันก็ดแลว จะไดทำงานหาเงิน
             ่      ้ ี
เลี้ยงชีวิตได ชวยใหเรารอดอยูในโลกไดโดย
ไมลำบากนัก

       แตที่จะดียิ่งขึ้นไปกวานั้น ก็คือเรียน
เรืองกาย เรียนเรืองใจของตนเอง เพือทีเ่ ราจะ
   ่             ่                   ่
อยรอด รอดจากความทุกข รอดจากความตาย
     ู
ไมตองมาตายอีก ถาเกิดมาแลว ยังไงก็ไม
รอดนะ ตายแนนอน ทุกทานนี่แหละ ผม
                     ๒๗
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

พยากรณไดเลย ตายแน ไมตายตอนกลางวัน
ก็ตายตอนกลางคืน ผมเปนหมอดูทแมนมาก  ี่
เกิ ด มาแล ว ก็ ต ายทุ ก คน พบกั น แล ว ก็ ต อ ง
จากกันทุกคน มีสามีแลวก็ตองเสียสามีแนนอน
                             
ไมทางใดก็ทางหนึง ไมเสียตอนดีๆ ก็เสียตอน
                      ่
ตายจากไป ไมตองไปหาหมอดูเลย ใหผมดูนี่
                    
ถูกหมดทุกคน มันเปนธรรมดาอยางนีของมัน  ้

      เราไดกายไดใจมาแลว ไดมาเพราะ
ความไมรู ก็ใชมน อาศัยมัน เพือใหเกิดความรู
                 ั               ่
ความรอนทีหนึงทีเ่ ราจะไดคอรแบบสติ อาศัย
      ูั ่ ่                 ื ู
กาย อาศัยใจ ใหเกิดสติ รวากายมีอยู ใจมีอยู
                          ู
กายเปนอยางนี้ ใจเปนอยางนี้ กายมันนั่ง
กายมันยืน มันเดิน มันนอน เหยียด คู หายใจเขา
หายใจออก กระพริบตา กินอาหาร ถายอุจจาระ
                        ๒๘
ส ติ ป ญ ญ า

ถายปสสาวะ นีเ้ รียกวามีสติ ไมหลงลืมกาย
ใจมั น เป น อย า งนี้ ใจมั น สุ ข ใจมั น ทุ ก ข
ใจมันเครียด ใจมันวิตกกังวล ใจมันหลงไปคิด
เรื่องนั้นเรื่องนี้ ใจมันสบาย ใจมันไมสบาย
มั น พอใจ มั น ไม พ อใจ นี้ เ รี ย กว า มี ส ติ
ไมหลงลืมใจ

            ตอไปเปนความรอกอันหนึง รูแบบมี
                           ูี       ่
ปญญา คือรวา กายนีใจนี้ ไมใชตวเรา มันเปน
                 ู     ้         ั
สิ่งที่เกิดเพราะเหตุเพราะปจจัย เกิดมาแลว
ก็ตกอยภายใตกฎไตรลักษณ เปนของไมเทียง
          ู                                ่
เปนทุกข เปนอนัตตา

        อาศัยกายอาศัยใจไดความรมาสองอันู
รูวากายมีอยู รูวาใจมีอยู นี่รูแบบมีสติ อันที่
                        ๒๙
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง



สอง รแบบมีปญญา รวา กายนีใจนีเ้ กิดเพราะ
       ู            ู       ้
เหตุปจจัย เกิดมาแลวเปนของไมเทียง เปนทุกข
                                ่
เปนอนัตตา

            ขันแรกทีเ่ รามาฝกฝนคือฝกใหเกิดสติกอน
              ้                                   
เราฝกสติปฏฐานนี่ ฝกใหไดความรสองขัน ขันที่
                                      ู ้ ้
หนึ่ง ฝกใหเกิดสติ ตามดูกาย ตามดูเวทนา
ตามดูจต ตามดูธรรม เปนเหตุใหเกิดสติ เกิด
          ิ
สัมปชัญญะ เกิดความรตว ไมลมกาย ไมลมใจ
                              ู ั    ื          ื
พอไมลมกาย ไมลมใจนี่ จะเกิดสิกขาหรือเกิด
        ื                ื
การศึกษาขึนมาสองขันตอน คือเกิดศีล เกิด
                     ้     ้
สมาธิ ทีนกตามดูกายดูใจตอไปอีก เพือใหเกิด
                  ี้ ็                       ่
ปญญา เห็นความจริงของกายของใจ

                        ๓๐
ส ติ ป ญ ญ า

          ใหเราตามดูกายตามดูใจ การตามดู
เรียกวาอนุปสสนา การตามดูกายเรียกวา
กายานุปสสนา การตามดูเวทนาเรียกวา เวทนา
           
นุปสสนา การตามดูจตเรียกวา จิตตานุปสสนา
                     ิ                
การตามดูธรรมะคือกายกับใจนั่นแหละที่มัน
ไมเทียง เปนทุกข เปนอนัตตา เรียกวา ธัมมา
        ่
นุปสสนา
    

        การตามดู ก็หมายความวา เราไมได
ไปทำอะไรมัน เราดูมนทำ ตามดูเพือใหเกิดสติ
                    ั             ่
เกิดความรขนมาวา มันมีอยู มันเปนยังไงอยู
           ู ึ้
ตอนนี้ ไมลมมัน ไมมวแตใจลอย ไมมวแต
                ื      ั                  ั
เหม อ ไป กายมั น เป น ยั ง ไงตอนนี้ จิ ต มั น
เปนยังไงตอนนี้ ถาตามรบอยๆ มันก็ชน จิต
                           ู          ิ
ก็จำได ตอไปมีอะไรเกิดขึน ก็นกไดเอง ระลึก
                         ้      ึ
                      ๓๑
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

ไดเองมีอะไรเปลี่ยนแปลงในกายในใจก็ระลึก
ไดไว หลงไปคิดเรื่องนั้นเรื่องนี้ก็ไมหลงนาน
หลงไปก็ระลึกได อยางนีเ้ รียกวาคนมีสติ
        เมื่อมีสติบอยๆ เราทำอะไรก็จะรูตัว
กายกำลังเคลื่อนไหว กำลังเดิน กำลังนั่ง
กำลั ง ทำกิ ริ ย าอาการอย า งนี้ ใจกำลั ง คิ ด
กำลังนึก คิดอยางนีจงพูดอยางนี้ คิดอยางนี้
                      ้ึ
จึงทำอยางนี้ ก็รกเ็ ห็น อยางนีเ้ รียกวาคนมีสติ
                   ู
ถาเราทำอะไรแบบไมรูตัว ทำอะไรแบบคน
เหมอลอยไป ใจลอยไปอยแตกบเปาหมายเรียก
                          ู ั
วาคนขาดสติ
      ทีเ่ ราไปทำผิด ไปวาคนอืน ไปวิจารณ
                              ่
คนอืน ไปถกเถียงกันจนเปนทุกข เครียด วิตก
    ่
กังวล เพราะอะไร ก็เพราะขาดสติทั้งนั้น
                        ๓๒
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

กิเลสทั้งหลายมาจากการขาดสติ จะดับ
กิเลสนี่ ดับทีเ่ หตุนะ กิเลสมันมากับความมืด
มากับการขาดสติ เราก็มาฝกใหมสติ เมือมีสติ  ี          ่
ก็ไมตองไปพูดถึงวา กิเลสอยทไหน เพราะมัน
                                      ู ี่
ไมเกิด ความทุกขกไมมี เหมือนกับถนนมันมืด
                          ็
เราไมตองไปโทษถนนทีมนมืดนะ ไมตองไปฆา
                                ่ ั                 
ความมืด เดียวจะเหนือยเปลา จะตายเสียเปลา
              ๋               ่
เรามีไฟฉายก็สองไป มีไฟก็จดไฟ มันก็สวาง
                                       ุ
ความสวางเขามา ความมืดก็หายไป กิเลส
ก็เหมือนกันนะ เราไมตองไปตอสกบมัน ตอสู
                                             ูั
กั บ มั น เราก็ เ หนื่ อ ยเปล า ตายทิ้ ง เปล า ๆ
นั่นแหละ คำวา ตายทิ้งเปลาๆ คือไดเกิด
มาใหมเกิดมาใหมกตายเหมือนเดิม ก็ไดเกิดมา
                            ็
ใหมอยเู รือย ไดตายอยเู รือย อันนีมนเกิดมา
            ่                        ่           ้ ั
ตายเปลาๆ ไมไดรวธทจะไมตาย
                       ู ิ ี ี่
                         ๓๔
ส ติ ป ญ ญ า

            หนาทีของเราคือใสแสงสวางเขาไป
                     ่
เป ด ไฟฉาย จุ ด ไฟขึ้ น มา ให รู ให มี ส ติ
ให มี สั ม ปชั ญ ญะ กิ เ ลสมั น ก็ ไ ม มี ที่ อ ยู แ ล ว
เหมือนกับความมืดนันเอง เวลาเราเปดไฟขึนมา
                       ่                              ้
ความมืดไปไหนละ ไมตองไปถามแลว เพราะ
                           
มันสวางแลว เวลามีสติกไมตองไปถามหรอกวา
                             ็ 
กิเลสอยไหน การผิดศีลอยทไหน ความโลภ
            ู                   ู ี่
โกรธ หลงอยทไหน ไมตองถามนะ เพราะสติ
                 ู ่ี         
มันคือความสวาง เมื่อมันสวาง กิเลสก็ไมมี
สวางอยางสูงสุดก็เปนพระอรหันต เปนผมสติ        ู ี
สมบูรณ มีปญญาสมบูรณ วิชชาก็สมบูรณ
                   
ก็เทานันแหละ
          ้

       เราหลงเยอะ กิเลสก็เลยเยอะ ทุกข
ก็เลยเยอะ เมื่อหลงนอยลง กิเลสก็นอยลง
                           ๓๕
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

ทุกขกนอยลง สุขก็มากขึน มันก็มเี ทานันละ
        ็                  ้           ้
เวลาเราละกิเลส ก็ละทีสาเหตุของกิเลส สาเหตุ
                        ่
ทีกเิ ลสเกิดขึนก็เพราะเราขาดสติ เราตองมาฝก
  ่           ้
สตินะ เราฝกสติ นี่แหละคือการละกิเลส
เราไมไดไปละแบบกลัวมันหรือไปตอสูกับมัน
แบบนันไมไหว เราจะเหนือยตาย
         ้                ่

        อยาไปตอสูกับความมืด อยาไปโทษ
ความมืด มันไมเกิดประโยชน ความโกรธ
เกิดขึ้นมาแลว ราคะเกิดขึ้นมาแลว เราก็
ไมตองไปโทษมัน เราไมนาทำผิดเลย วิตก
กังวลไป จะไปนรกหรือเปลา ทำยังไงจะหาย
ไปทำอยางโนนอยางนี้ แบบนันเราก็ยงหลง
                              ้     ั
เหมือนเดิมนะ เรายังทำแบบหลงๆ ก็ยงตองมา
                                  ั
เกิดมาตายเหมือนเดิม
                        ๓๖
ส ติ ป ญ ญ า

        ถาจะไมใหเกิดอีก ไมใหตายอีก เรา
ตองทำแบบรู แบบมีสติ มีสมปชัญญะ ไมทำ
                              ั
แบบหลงๆ ฉะนัน เราทังหลายตองฝกฝนใหเกิด
                 ้     ้
ความรู อาศัยกายอาศัยใจ ใหเกิดความรู รวาู
กายใจมีอยู คือมีสติ รวา กายใจนีเ้ กิดเพราะ
                           ู
เหตุปจจัย เปนของไมเทียง เปนทุกขเปนอนัตตา
                        ่
มีแตของผานมาแลวผานไป มีแตของไมคงทน
มีแตของไมใชตวเรา ไมมใครเปนเจาของ มีแต
               ั            ี
ของบังคับบัญชาไมได คือมีปญญา  

       ในตอนแรก เรามาตามดูกายดูใจ ใหมน
                                      ั
เกิดสติ ปกติเราชอบหลงอยแลว หลงจนชิน
                          ู
เราจึงตองเตือนตัวเองบอยๆ คลายกับถาม
ตัวเองบอยๆ วา ตอนนีกายมันเปนอยางไร
                      ้
ใหมาตามดูกาย กายมีอะไรใหดบาง กายมัน
                            ู 
                    ๓๗
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง
หายใจเขาหายใจออก เราก็เตือนตัวเอง ใหมา
ดูกาย ตอนนีมนหายใจเขานะ ตอนนีมนหายใจ
                 ้ ั                        ้ ั
ออกนะ อิรยาบถใหญ ยืน เดิน นัง นอน
               ิ                                ่
เราดูวา นีมนยืน นีมนเดิน นีมนนัง นีมนนอน
          ่ ั                 ่ ั   ่ ั ่ ่ ั
ใหรสกถึงกายเฉยๆ ไปตองไปคิดมาก ไมตอง
    ู ึ                                            
ไปพูดมาก ใหรสกวา กายนอนมันเปนอยาง
                        ู ึ
นีนะ ราบลงกับพืน แคไมลมมันเทานันแหละ
  ้                          ้     ื              ้
หลงลืมไปก็ใหรไวๆ อยาลืมนาน อิรยาบถยอยๆ
                     ู                   ิ
กายเคลือนไหว เหยียดคู กำมือเขา แบมือออก
          ่
ผงกหนา กระพริบตา กลืนน้ำลาย เราเตือน
ตัวเอง ใหมารวา กายมันเปนอยางนี้ เรียกวา
                   ู
ตามดูกาย ตามดูกายใหเกิดสติ ตอไปจะได
ไมลมกาย
      ื
       ตอไป การตามดูเวทนา ตามรความรสก
                                ู     ูึ
ความรสกทางกายมี 2 อยาง รสกสบายทางกาย
      ูึ                   ูึ
                        ๓๘
ส ติ ป ญ ญ า


กับไมสบายทางกายสบายทางกายก็เวลานังที่  ่
นุมๆ ลมพัดเย็นสบาย กายไมเคล็ดขัดยอก
ไมสบายทางกายก็เจ็บปวด กระทบกับของแข็ง
เขาก็เจ็บ นังนานก็ปวดหลัง เดินนานก็ปวดขา
             ่
หรือบางคนปฏิบตธรรมไมถก เพงนานไปหนอย
                ั ิ        ู
ก็ปวดคอ ปวดไหล ถาเวทนาอันไหนชัดเราก็รู
สึกลงไปวา มันเปนอยางนั้น เวทนาทางใจ
มีความสุขทางใจเรียกวาโสมนัส ความทุกข
ทางใจเรียกวาโทมนัส แลวก็ไมสุขไมทุกข
เฉยๆ หรือมึนงงสงสัย ไมรูวาจะสุขหรือทุกข
ไมรวาจะดีใจหรือเสียใจ มันวนเวียน ดูไมออก
     ู 
เลย เฉยๆ นิ่งๆ ไป อยางนี้เรียกวาอทุกขม
สุขเวทนา เราก็ตามดูมนไป ตอนนีรสกอยาง
                       ั         ้ ู ึ
นี้ จะไดไมหลงไมลมตัวเอง
                    ื

                   ๓๙
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

       ตอไปก็ตามดูจิต จิตมีราคะก็รูวาจิต
มีราคะ เราตามดูไป สักหนอยจิตมีราคะ
มันหายไป ก็กลายเปนจิตไมมราคะ ก็ตามดูทง
                                   ี           ั้
2 อยางนะ จิตมีราคะก็รวาจิตมีราคะ จิตไมมี
                              ู 
ราคะก็รวาจิตไมมราคะ จิตมีโทสะ มีความโกรธ
       ู              ี
มีความไมพอใจ มีความเครียดเกิดขึน ก็รวาจิต
                                     ้ ู 
มีโทสะ พอดูไปแปบหนึง บางคนก็ยาวหนอย
                            ่
บางคนก็สั้น มันเกิดตามเหตุ มันก็หายไป
ตามเหตุ เราไมไดดใหมนหายนะ เราดูให
                          ู ั
มันเห็น ดูใหรวามันมีอยู ดูใหเห็นความจริง
                 ู 
ของมัน เห็นวามันเปนอยางนี้ นีมนโกรธนะ
                                      ่ ั
ความโกรธเปนอยางนี้ สักหนอยมันก็หายไป
กลายเปนจิตไมมโทสะ ถามันเกิดใหมอกก็ดอก
                      ี                   ี ูี
มันหายไปก็รวามันหายไป อยางนีเ้ รียกวาตาม
            ู 
ดูจต
   ิ
                        ๔๐
ส ติ ป ญ ญ า

           เมื่อจิตมีโมหะ จิตหลงไปคิดเรื่องนั้น
เรืองนี้ ยาวบางสันบาง ตัวเรานีหายไปจากโลก
   ่                   ้                 ้
มีแตเรืองทีเ่ ราคิดเปนจริงเปนจังขึนมา ก็ใหรวา
         ่                                 ้                  ู 
อาว .. เราหลงไปคิดแลวนี่ จะคิดนานหรือไมนาน
ก็ไมเปนไร หลงนานหรือไมนานก็ไมเปนไรจะ
คิดผิดหรือถูกก็ไมเปนไร แครูวา จิตมันคิด
มันหลงไป มันลืมตัวเองไป แคนกพอ พอรอยางนี้
                                      ้ี ็            ู
ความคิดนั้นก็จะดับไป พอมันดับจากเรื่องนี้
มันก็หลงไปคิดเรืองอืนอีก เราก็รอก มันหลง
                         ่ ่                   ู ี
บอยหลงทังวัน เราก็รบอยๆ มีสติบอยๆ เรือง
               ้             ู                           ่
ตางๆ ก็จะสันลง ทุกขกจะสันลง เราไมตองไป
                 ้                ็ ้                   
พยายามใหมนสันลง เพียงแตเรารมนก็สนแลว
                   ั ้                           ู ั ั้
ทีมเี รืองยาวๆ เปน 30 นาทีเปนชัวโมงนีเ่ พราะ
  ่ ่                                        ่
อะไร เพราะไมรู ขาดสติ ถาเรารแทรกขึนมา         ู       ้
มันก็หายไปแลว
                             ๔๑
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

         เราทังหลายก็ลองสังเกตดู มันคิดอยได
               ้                             ู
ไมนานหรอก คิดไปจนอิมตัวมันก็เลิก สมมติวา
                           ่                   
คิดถึงสามีทบาน เราก็คดไป เขาจะทำอะไรนะ
             ี่         ิ
ตอนนี้ พอมันอิมตัวแลวมันก็เลิก แลวก็ไปคิด
                  ่
เรืองอืนตอ วันหนึงๆ เราจึงรสกมีเรืองนันเรืองนี้
   ่ ่              ่        ูึ ่ ้ ่
เต็มไปหมด หยุดความคิดไมได หยุดไมเปน
บางเรืองไมอยากคิดก็คด ก็เลยเกิดความทุกข
       ่               ิ
ติดตามมาไมหยุดหยอน

         ที่ เ ราหลงคิ ด จนเป น เรื่ อ งนั้ น เรื่ อ งนี้
ขึนมา แสดงวาหลงไปนานแลว ตอไปฝกใหรู
  ้
เร็วๆ จนกระทังรวา จิตมันคิด คิดยังไมเปน
                  ่ ู
เรือง ไมรวามันไปคิดอะไร อยางนีดทสดนะ ทีเ่ รา
    ่     ู                      ้ ี ี่ ุ
เปนทุกขขนมา เพราะรเู รืองมากเกินไป ขาดสติ
               ึ้         ่
หลงนานไป ไปรเู รืองคนนันคนนี้ คิดเรืองโนน
                       ่    ้                  ่
                           ๔๒
ส ติ ป ญ ญ า

เรื่องนี้ เลยเปนทุกข ถาไมรูวาคิดเรื่องอะไร
ก็ไมรจะทุกขกบอะไร ใหรทนจิตทีมนหลงคิด
         ู       ั               ู ั          ่ ั
แวบไปแวบมานีบอยๆ เวลามันหลงไปก็ใหรู เวลา
                    ้ 
มั น รู ขึ้ น มา มั น ไม ห ลงก็ ใ ห รู อี ก เหมื อ นกั น
จิตมีโมหะก็ใหรูวาจิตมีโมหะ จิตไมมีโมหะก็
ใหรูวาจิตไมมีโมหะ

        จิตมีอาการเปนอยางไรก็ใหรู เครียด
วิตกกังวล ฟงซาน สงบก็ใหรู มีสมาธิกใหรู
               ุ                            ็
ไมมีสมาธิก็ใหรู บางคนเห็นจิตมันวุนวาย
เหลือเกิน วกวนไปเรืองโนนเรืองนี้ ไมมสมาธิ
                    ่          ่        ี
ซะที จะทำยังไง ไมตองทำยังไงหรอก ใหเรา
                      
รวา มันไมมสมาธิ มันวนเวียนไปมา พอรทน
  ู         ี                                ู ั
สภาวะนั้นดับไป ใจก็จะมีสมาธิตั้งมั่นขึ้นมา
พอจิตตั้งมั่นขึ้นมา ก็ใหรูวาตอนนี้จิตตั้งมั่น
                          ๔๓
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

สักหนอยมันก็ดับไป จิ ต มี ส มาธิ ก็ รู ว า จิ ต มี
สมาธิ จิตไมมีสมาธิก็ใหรูวาจิตไมมีสมาธิ

         บางทีเกิดความรสกวา มันหลุดพนจาก
                          ูึ
บางสิ่งบางอยาง หลุดจากความเขาใจผิดๆ
ในบางเรือง ตอนนีเ้ ขาใจแลว จิตมันหลุดพน
          ่
ขึนมาเปนครังคราวก็ใหรวาจิตหลุดพน จิตไม
  ้          ้            ู 
หลุด เขาไปยึดก็ใหรวาจิตไมหลุดพน ไมมกเิ ลส
                    ู                            ี
เปนครังๆ คราวๆ เกิดความเขาใจ เกิดความ
       ้
ปลาบปลื้มขึ้นมา จิตเขาฌานไปก็ใหรูวามัน
เปนอยางนี้ มันไมทง มันไปยึดอีก ก็ใหรวา
                       ิ้                             ู 
มันไปยึด จิ ต หลุ ด พ น ก็ ใ ห รู ว า จิ ต หลุ ด พ น
จิตไมหลุดพนก็ใหรูวาจิตไมหลุดพน เราก็รู
ไปเรือยๆ อยางนี้
     ่

                           ๔๔
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

         ในการปฏิบตนะ ตอนแรกยังไมเขาใจ
                           ั ิ
ก็ยึดนั่นยึดนี่ไปทั่ว พอเกิดความเขาใจก็จะ
ทิงไป พอทิงอันนีแลวก็ไปยึดอันอืน ก็ใหรวา
   ้             ้       ้                    ่        ู 
ไปอยางทีมนเปน ไมตองไปดีใจเมือมันหลุดพน
             ่ ั                           ่
ไมตองไปเสียใจเมือมันไปยึดอีก แตหากมีความ
                      ่
ดีใจเสียใจเกิดขึนก็ใหรทน พอใจก็ใหรวาพอใจ
                     ้         ู ั             ู 
สิ่งดีๆ ใครๆ ก็ชอบทั้งนั้นแหละ แตมันไมอยู
นานหรอก มันเปนของไมเที่ยง เหมือนเรา
มาเรียนธรรมะ พอไดเขาใจอะไรนิดหนอย ก็
ดีใจ เลยยึด ทิงอันเกามายึดอันใหม ยึดดีกไมดี
                   ้                                 ็
ยึดถูกก็ผดนะ ฉะนัน ใหเรารทนทุกๆ สภาวะ
               ิ             ้          ู ั
พนก็ใหรวาพน ยึดก็ใหรวายึด
          ู                      ู 

      เราตองมีสติ มีปญญาอยเู สมอ อาศัย
                      
กายกับใจใหเกิดความรูยิ่งๆ ขึ้น ใหมีสติ
                          ๔๖
ส ติ ป ญ ญ า

มากขึน ใหมปญญามากขึน จนกระทังเกิด
            ้         ี                       ้                    ่
ความรูวา ทุกสิ่งทุกอยางที่เกิดขึ้น ลวนแต
ดับไปทังหมด สิงใดสิงหนึงมีความเกิดขึนเปน
              ้           ่ ่ ่                                   ้
ธรรมดา สิงนันทังมวลลวนแตดบไปเปนธรรมดา
                 ่ ้ ้                           ั
ไมมสงไหนเปนทีพงจริงๆ ได เมือเกิดความรู
       ี ิ่                ่ ึ่                          ่
อยางนีจงจะไดทพง เปนผทมนคง คนทีมจตใจ
              ้ึ        ี่ ึ่          ู ี่ ั่                 ่ ีิ
มั่นคง ก็คือผูที่เห็นวา ไมมีสิ่งไหนมั่นคงเลย
ไมใชไปทำใหมนมันคงถาวร พวกทีชอบไปทำ
                     ั ่                                   ่
ใหมนมันคง พวกทีชอบบังคับสิงนันสิงนีไปทัว
      ั ่                        ่                   ่ ้ ่ ้ ่
เปนพวกไมมั่นคง พวกงอนแงน พวกขี้กลัว
ไปพยายามทำใหมนนิงๆ พวกนีจะกลัวความ
                                ั ่                    ้
เปลียนแปลง กลัวสิงทีไมควรกลัว ผทไดเห็น
    ่                              ่ ่                       ู ี่
ความไมมั่นคงบอยๆ มีแตของเกิดแลวดับ
ผานมาแลวผานไป ในโลกไมวาจะเปนมนุษย            
เทวดาหรือพรหม ไมมอะไรเปนทีพงได เปนผู
                                     ี                ่ ึ่
                              ๔๗
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

ที่เห็นความจริง รูวาไมมีอะไรจริงแทเลยซัก
อันเดียว ทีเ่ คยคิดวา อันนีนาจะจริง อันนีนา
                                    ้              ้ 
จะสุข ดูไปดูมา ไมจริงซะแลว ไมเทียงซะแลว่
แปรปรวนไปแลว ฉะนัน ไมตองไปหาของจริงแท
                       ้          
ถาวรอะไรนะ ศึกษาใหรวา มีแตของไมจริง
                           ู 
แลวจะไดของจริง จะไดยังไงก็คอยวากัน
ไมตองไปหาอะไรที่มันมั่นคง ศึกษาใหรูวา
ไมมอะไรมันคง แลวจะไดทพงอันมันคง ไดยงไง
     ี       ่                ี่ ึ่ ่             ั
ก็คอยวากัน ตอนนี้ใหรูสิ่งที่รูไดไปกอน รู
กายรใจอยางทีมนเปน ใหมสติทเี่ ปนสติปฏฐาน
       ู         ่ ั            ี             
ใหเกิดความรู เกิดสติมากขึน บอยขึน รวา
                                     ้       ้ ู
กายมีอยู ใจมีอยู รวากายนีใจนี้ ไมใชตวเรา
                      ู               ้        ั
เปนสิงทีเ่ กิดจากเหตุปจจัย เกิดมาแลวตกอยู
         ่               
ภายใตกฎไตรลักษณ เปนของไมเทียง เปนทุกข
                                         ่
เปนอนัตตา
                        ๔๘
ส ติ ป ญ ญ า

           ตอไป การตามดูธรรม ทังกาย ทังใจ     ้          ้
ทังรูป ทังนาม ทีเ่ ปนของเปลียนแปลงอยเู สมอ
  ้        ้                           ่
ทังกิเลส ทังกุศล กิเลสพวกนิวรณตางๆ ก็อยา
    ้         ้                                  
ไปรังเกียจ ใหตามดูมน มันเปนสภาวะอยางหนึง
                            ั                               ่
สภาวะดีๆ ที่เปนไปเพื่อการตรัสรู ที่เรียกวา
โพชฌงค ก็เปนสภาวะอยางหนึง สติกเ็ ปน      ่
สภาวธรรมอยางหนึง ถาเกิดขึนก็ใหรวาตอนนี้
                          ่              ้         ู 
จิตมีสติ สักหนอยก็หลงได มีปญญา มีความรู 
เกิดขึนก็ใหรวาจิตมีปญญา สักหนอยก็ดบไป
        ้       ู                                    ั
เกิดความงงขึนมาได มีปตกใหรวามี มีความ
                   ้               ิ ็ ู 
สงบระงับก็ใหรวามี มีสมาธิกใหรวามี มีอเุ บกขา
                     ู              ็ ู 
ก็ใหรวามี สักหนอยก็ดบไป
      ู                       ั

      ทังฝายดีและฝายไมดกเ็ ทาเทียมกัน เรา
          ้               ี
ศึกษาเพือปลอยวางทังดีทงไมดี แตจะปลอย
        ่           ้ ั้
                           ๔๙
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

วางได ตองรูจักความจริงของมัน อาศัยมัน
ใหเกิดความรกอน ใหเห็นโดยความเปนขันธ
             ู
โดยความเปนปรากฏการณทมนเกิดเปนครังๆ
                          ี่ ั       ้
เปนรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ โลกนี้
ก็เปนปรากฏการณ เราตายไปแลว ฉากเหลานี้
ก็หายไป

       รู ก ารทำงานของอายตนะ ตามอง
เห็นรูป อาศัยตากับรูปกระทบกันเกิดการ
มองเห็นขึ้น เกิดความรูสึกชอบใจไมชอบใจ
และเกิดกิเลสชนิดตางๆ ขึนมา เปนกระบวน
                        ้
การเกิดขึ้นของธรรมะ ทุกสิ่งมันอิงอาศัยกัน
และกันเกิดขึนตามหลักปฏิจจสมุปบาท ไมไดมี
              ้
ตัวตนถาวรที่ไหนเลย ที่เกิดความปวดหลัง
ขึ้นมานี่ เพราะนั่งนานไปหนอย อาศัยกาย
                       ๕๐
ส ติ ป ญ ญ า

กับสิ่งสัมผัสกระทบกัน เกิดการรับรูทางกาย
ทำใหเกิดเวทนาชนิดนี้ พอเกิดเวทนาชนิดนีขน     ้ ึ้
เราไมชอบมัน ก็ผลักไสมัน ทำอาการอยางนัน        ้
อยางนีเ้ พือแกมน ทุกอยางทีเ่ กิดลวนไมไดมตว
            ่      ั                           ีั
มีตนอะไร อาศัยผัสสะทีเ่ กิดขึนเปนคราวๆ เกิด
                                ้
เวทนาเปนคราวๆ และเกิดสภาวะอื่นตามมา
เปนสภาวะแตละอยางๆ เกิดแลวดับไป เมือเห็น่
ธรรมะอยางนีบอยๆ ความรกจะรวบยอดลงมา
               ้           ู็
เห็นอริยสัจ

         ขอใหทกทานพยายามฝกฝน แรกๆ ตอง
               ุ
อาศัยความพยายาม อดทน หัดเอา สังเกตเอา
ใหรตวบอยๆ อยาไปคาดหวังวาตองไดสติเยอะๆ
    ู ั
ถาทำแลวเครียด มึน ซึมกะทือ อยาไปทำนะ
บางคนทำซะจนออกมาทางกายก็มี ใจเครียด
                       ๕๑
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

ยังไมพอ บางคนก็จดจองมากตองเอาใหได
ทำจนกระทังคอแข็ง ขาแข็ง หลังแข็งไปหมด
             ่
อยาไปทำอยางนันนะ เราฝกใหเกิดสติ สติเปน
                 ้
กุศล ทำแลวเบาสบาย ปลอดโปรง ดูความโกรธ
ดูความไมพอใจ ดูความเครียด ความวิตกกังวล
ความกลั ว ก็ ดู แ บบสบายๆ ดู แ บบห า งๆ
ชำเลื อ งดู สติ ท่ี แ ท จ ริ ง ทำให จิ ต เบาสบาย
รูกายรูใจไดดี
        นีแหละ เปนวิธตามดูกายตามดูใจให
          ้             ี
เกิดสติ เมือเกิดสติ เกิดความรตวบอยๆ แลวก็
            ่                 ู ั
มาตามดูกายดูใจตอไปก็จะเกิดปญญาเห็นความ
จริงของกายของใจ เห็นไตรลักษณถอดถอน
ความเห็นผิด ถอดถอนความยึดมันถือมันในกาย
                                  ่ ่
ในใจได เวลามีสตินี่ จะปองกันกิเลสได กิเลส
ไมเกิดเพราะวามีสติ
                      ๕๒
ส ติ ป ญ ญ า

         หากกิเลสเกิดขึ้นแลวมีสติรูทัน กิเลส
ก็จะไมโต เวลาความโกรธเกิดขึน เรามองเห็นมัน
                             ้
ความโกรธก็ไมรนแรง ความโลภเกิดขึน เรามอง
                ุ                    ้
เห็นมัน ความโลภก็ไมรนแรง อยางนีเ้ รียกวา
                          ุ
การละกิเลสดวยสติ ละดวยการสังวร คือการ
ปองกันไมใหกิเลสเกิดขึ้น มันเกิดขึ้นมาแลว
ก็ไมใหตวโต พอตัวมันไมโต ก็ไมครอบงำใหเรา
         ั
ไปทำผิด เราไมใหอาหารมัน มันเกิดเองก็ดบ     ั
เองนะ แตถามันตัวโตเมือไร เราก็เรียบรอยทุกที
                       ่
ไปทำโนนทำนี่ ใหพลังงานกับมันเยอะเลย

       ขันแรกเราละกิเลสดวยสติ ดวยการสังวร
         ้
ดวยการปองกัน มีสติกละกิเลสไดระดับหนึง ทีนี้
                     ็                 ่
ตามดูกาย ตามดูใจก็จะเกิดปญญา ปญญาจะ
ถอดถอนกิเลสเกาๆ ความเขาใจผิดๆ ความ
                     ๕๓
สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง

หมายรผดๆ ทียงละไมได ความยึดมันเกาทีมี
         ูิ     ่ั               ่     ่
อยูก็ถูกถอนขึ้น สังวรก็ดวยสติ ถอดถอน
ก็ดวยปญญา นีแหละ เราอาศัยกายอาศัยใจ
                  ้
ใหเกิดสติปญญา ละกิเลสได
            

       สมควรแกเวลาแลว ก็ใหทานไปปฏิบติ
                                     ั
ตามอัธยาศัย ตามดูกาย ตามดูใจ อยาลืมกาย
อยาลืมใจ ขออนุโมทนาทุกทานครับ




                       ๕๔
ประวัติ อาจารยสุภีรส ทุมป ญ ญ า
                               ติ ทอง
วันเดือนปเกิด : วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๑๕
บานหนองฮะ ต.หนองฮะ อ.สำโรงทาบ จ.สุรินทร
การศึกษา : เปรียญธรรม ๔ ประโยค ประกาศ
  นียบัตรบาลีใหญ วัดทามะโอ จ.ลำปาง
- วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟา
  มหาวิทยาลัยขอนแกน
งานปจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๕๒)
- ผูจัดการฝายจัดซื้อ บริษัทบางกอกพร็อพเพอรตี้
  คอรปอเรชั่น จำกัด
  คณะกรรมการโครงการแปลพระไตรปฎกนิสสยะ
  และตรวจชำระคัมภีร
- อาจารยสอนพิเศษปริญญาตรีชั้นปที่ ๓ และ ๔
  วิชาพระอภิธรรมปฎก
- มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  วิทยาเขตบาลีศึกษาพุทธโฆส จ.นครปฐม
   บรรยายธรรมะตามสถานที่ตางๆทั้งในกรุงเทพฯ
  และตางจังหวัด
- เผยแผ ธ รรมะทางเว็ บ ไซด www.ajsupee.com
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3niralai
 
สาระธรรมนำชีวิต
สาระธรรมนำชีวิตสาระธรรมนำชีวิต
สาระธรรมนำชีวิตniralai
 
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่5
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่5บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่5
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่5niralai
 
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดาบทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดาniralai
 
บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่niralai
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองniralai
 
กลอนเทียนปัญญา
กลอนเทียนปัญญากลอนเทียนปัญญา
กลอนเทียนปัญญาniralai
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
5 youngawakening leader camps words
5 youngawakening leader camps words5 youngawakening leader camps words
5 youngawakening leader camps wordsAnurak Menrum
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2niralai
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมniralai
 
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวPanda Jing
 
ชีวิตใหม่
ชีวิตใหม่ชีวิตใหม่
ชีวิตใหม่Thamma Dlife
 
กลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการกลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการniralai
 
พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่Kiat Chaloemkiat
 

La actualidad más candente (20)

บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
 
สาระธรรมนำชีวิต
สาระธรรมนำชีวิตสาระธรรมนำชีวิต
สาระธรรมนำชีวิต
 
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่5
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่5บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่5
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่5
 
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดาบทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
 
บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทอง
 
กลอนเทียนปัญญา
กลอนเทียนปัญญากลอนเทียนปัญญา
กลอนเทียนปัญญา
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
5 youngawakening leader camps words
5 youngawakening leader camps words5 youngawakening leader camps words
5 youngawakening leader camps words
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
 
แหล่ลา
แหล่ลาแหล่ลา
แหล่ลา
 
ฮารีรายอ
ฮารีรายอฮารีรายอ
ฮารีรายอ
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
 
ก่อเจดีย์ทราย
ก่อเจดีย์ทรายก่อเจดีย์ทราย
ก่อเจดีย์ทราย
 
One Pointed Mind
One Pointed MindOne Pointed Mind
One Pointed Mind
 
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
 
ชีวิตใหม่
ชีวิตใหม่ชีวิตใหม่
ชีวิตใหม่
 
กลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการกลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการ
 
พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่พระคุณพ่อแม่
พระคุณพ่อแม่
 

Destacado

สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปดTongsamut vorasan
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานTongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14Tongsamut vorasan
 
สุภีร์ ทุมทอง วิถีแห่งพุทธะ
สุภีร์ ทุมทอง   วิถีแห่งพุทธะสุภีร์ ทุมทอง   วิถีแห่งพุทธะ
สุภีร์ ทุมทอง วิถีแห่งพุทธะTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช วิธีสร้างบุญบารมี
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   วิธีสร้างบุญบารมีสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   วิธีสร้างบุญบารมี
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช วิธีสร้างบุญบารมีTongsamut vorasan
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 12
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 12สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 12
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 12Tongsamut vorasan
 
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส จักรทีปนี
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส   จักรทีปนีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส   จักรทีปนี
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส จักรทีปนีTongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑Tongsamut vorasan
 
อุบาสิกาแก้ว เสียงล้ำ อริยสาวิกา
อุบาสิกาแก้ว เสียงล้ำ   อริยสาวิกาอุบาสิกาแก้ว เสียงล้ำ   อริยสาวิกา
อุบาสิกาแก้ว เสียงล้ำ อริยสาวิกาTongsamut vorasan
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddhaTongsamut vorasan
 
อานาปานทีปนี
อานาปานทีปนีอานาปานทีปนี
อานาปานทีปนีTongsamut vorasan
 
สุภีร์ ทุมทอง สัลเลขธรรม
สุภีร์ ทุมทอง   สัลเลขธรรมสุภีร์ ทุมทอง   สัลเลขธรรม
สุภีร์ ทุมทอง สัลเลขธรรมTongsamut vorasan
 
สุภีร์ ทุมทอง มหาสติปัฎฐานสูตร
สุภีร์ ทุมทอง   มหาสติปัฎฐานสูตรสุภีร์ ทุมทอง   มหาสติปัฎฐานสูตร
สุภีร์ ทุมทอง มหาสติปัฎฐานสูตรTongsamut vorasan
 
ปฏิทินวัดบุศย์ฯ ปี๕๔
ปฏิทินวัดบุศย์ฯ ปี๕๔ปฏิทินวัดบุศย์ฯ ปี๕๔
ปฏิทินวัดบุศย์ฯ ปี๕๔Tongsamut vorasan
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2Tongsamut vorasan
 

Destacado (18)

Book77
Book77Book77
Book77
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
 
-------------- --- 1
 -------------- --- 1 -------------- --- 1
-------------- --- 1
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 14
 
สุภีร์ ทุมทอง วิถีแห่งพุทธะ
สุภีร์ ทุมทอง   วิถีแห่งพุทธะสุภีร์ ทุมทอง   วิถีแห่งพุทธะ
สุภีร์ ทุมทอง วิถีแห่งพุทธะ
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช วิธีสร้างบุญบารมี
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   วิธีสร้างบุญบารมีสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   วิธีสร้างบุญบารมี
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช วิธีสร้างบุญบารมี
 
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 12
สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 12สนอง วรอุไร   สนทนาภาษาธรรม เล่ม 12
สนอง วรอุไร สนทนาภาษาธรรม เล่ม 12
 
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส จักรทีปนี
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส   จักรทีปนีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส   จักรทีปนี
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส จักรทีปนี
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
 
อุบาสิกาแก้ว เสียงล้ำ อริยสาวิกา
อุบาสิกาแก้ว เสียงล้ำ   อริยสาวิกาอุบาสิกาแก้ว เสียงล้ำ   อริยสาวิกา
อุบาสิกาแก้ว เสียงล้ำ อริยสาวิกา
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
 
อานาปานทีปนี
อานาปานทีปนีอานาปานทีปนี
อานาปานทีปนี
 
สุภีร์ ทุมทอง สัลเลขธรรม
สุภีร์ ทุมทอง   สัลเลขธรรมสุภีร์ ทุมทอง   สัลเลขธรรม
สุภีร์ ทุมทอง สัลเลขธรรม
 
สุภีร์ ทุมทอง มหาสติปัฎฐานสูตร
สุภีร์ ทุมทอง   มหาสติปัฎฐานสูตรสุภีร์ ทุมทอง   มหาสติปัฎฐานสูตร
สุภีร์ ทุมทอง มหาสติปัฎฐานสูตร
 
ปฏิทินวัดบุศย์ฯ ปี๕๔
ปฏิทินวัดบุศย์ฯ ปี๕๔ปฏิทินวัดบุศย์ฯ ปี๕๔
ปฏิทินวัดบุศย์ฯ ปี๕๔
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2
 

Similar a สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา

พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่niralai
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขniralai
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรniralai
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธniralai
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่านเสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่านkrutew Sudarat
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนPanda Jing
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมTongsamut vorasan
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์YajokZ
 
Dhamma core
Dhamma coreDhamma core
Dhamma coreYajokZ
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์guest3650b2
 
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์Nattapong Manlee
 

Similar a สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา (20)

พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
 
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 
Kamnamtham 5
Kamnamtham 5Kamnamtham 5
Kamnamtham 5
 
Lion
LionLion
Lion
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑
Tri91 22+มัชฌิมนิกาย+อุปริปัณณาสก์+เล่ม+๓+ภาค+๑
 
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่านเสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
 
เสียดาย....
เสียดาย....เสียดาย....
เสียดาย....
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 
Dhamma core
Dhamma coreDhamma core
Dhamma core
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์
 

Más de Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติTongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตTongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมTongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯTongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจTongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นTongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทTongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 

Más de Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา

  • 1. ส ติ ป ญ ญ า ส ติ ป ญ ญ า อ. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง
  • 2. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง ชมรมกัลยาณธรรม หนั ง สื อ ดี ลำดั บ ที่ ๘๗ สติปญญา อาจารย สุ ภี ร ทุ ม ทอง จั ด พิ ม พ เ พื่ อ แจกเป น ธรรมทาน นอมถวายเปนพุทธบูชาในงานแสดงธรรม เปนธรรมทาน ครั้งที่ ๑๕ อาทิตยที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ ณ หอประชุมใหญ-หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ครั้งที่ ๑ : จำนวน ๑๐,๐๐๐ ; กันยายน ๒๕๕๒ จัดพิมพโดย : ชมรมกัลยาณธรรม ๑๐๐ ถนนประโคนชัย ต.ปากน้ำ อ. เมือง จ.สมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท ๐๒-๗๐๒๗๓๕๓ และ ๐๒-๖๓๕๓๙๙๘ ภาพประกอบ : เคอ ซิ่ว เซียง ออกเเบบและ : บุญรอด แสงสินธุ จัดรูปเลม โทรศัพท ๐๘-๑๖๒๙-๔๙๐๓ แยกสี : Canna Graphic โทรศัพท ๐๘-๖๓๑๔-๓๖๕๑ จัดพิมพท่ี : บ.ขุมทองอุตสาหกรรมและการพิมพ จำกัด โทรศัพท ๐๒-๘๘๕๗๘๗๐-๓ สัพพทานัง ธัมมทานัง ชินาติ การใหธรรมะเปนทาน ยอมชนะการใหทั้งปวง w w w. k a n l a y a n a t a m. c o m
  • 3. ส ติ ป ญ ญ า คำนำ หนั ง สื อ “สติ ป ญ ญา” นี้ เรี ย บเรี ย งจากคำ บรรยายในจั ด ปฏิ บั ติ ธ รรมที่ อ าศรมมาตา อ.ป ก ธงชั ย จ.นครราชสีมา ระหวางวันที่ ๑ - ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๒ คำบรรยายเรื่องนี้บรรยายเมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ตอนเชา คุณชัญญาภัค พงศชยกร เปนผถอดเทปผบรรยาย ู ู ไดนำมาปรับปรุงเพิ่มเติมตามสมควร เนือหาทีบรรยายนันเกียวกับ ลักษณะของสติปญญา ้ ่ ้ ่  และอธิบายวิธการฝกใหเกิดขึน โดยอาศัยหลักสติปฏฐาน ให ี ้  เปนผมสติคอไมหลงลืมกายไมหลงลืมใจ และมีปญญาคือเขาใจ ู ี ื  ความจริงของกายของใจ อันเปนตนทางสการรแจงอริยสัจ ู ู ขออนุโมทนาผูที่เกี่ยวของในการทำหนังสือเลมนี้ และขอขอบคุ ณ ญาติ ธ รรมทั้ ง หลายที่ มี เ มตตาต อ ผู บ รรยาย เสมอมาหากมีความผิดพลาดประการใด อันเกิดจากความดอย สติ ป ญ ญาของผู บ รรยายก็ ข อขมาต อ พระรั ต นตรั ย และ ครูบาอาจารยทั้งหลาย และขออโหสิกรรมจากทานผูอานไว ณ ทีนดวย ่ ี้  สุภร ทุมทอง ี ผบรรยาย ู
  • 4. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง
  • 5. ส ติ ป ญ ญ า สติ ป ญ ญา บรรยายวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ เชา สวัสดีครับทานผสนใจในธรรมะทุกทาน ู เรามาปฏิบตธรรมก็เพือฝกฝนตนเอง เพือทีจะได ัิ ่ ่ ่ มีเครืองมือไปศึกษากายศึกษาใจใหเกิดปญญา ่ นี้ เ ป น หน า ที่ ข องเราที่ เ กิ ด มาเป น มนุ ษ ย น ะ เปนหนาทีทจำเปนสำหรับเราทังหลาย เพราะเรา ่ ี่ ้ ทั้งหลายนั้นเกิดมาจากความไมรู เรายังไมรู อริยสัจ รูยังไมครบถวน ยังรูไมแจมแจงคือ
  • 6. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง ยังไมเปนพระอรหันตนั่นเอง ก็เลยไดเกิดมา เพราะฉะนั้ น เกิ ด มาแล ว ก็ มี ห น า ที่ ที่ สำคัญก็คอมาทำใหเกิดความรขน มาอาศัย ื ู ึ้ โลกก็เพือเรียนรโลกใหมนแจมแจง ่ ู ั เราเกิดมานี้ไมมีอะไรเปนของเรานะ เกิ ด มาอาศั ย เฉยๆ บางคนมี สิ่ ง นั้ น สิ่ ง นี้ เยอะเหลือเกินที่มันมีเยอะเพราะวาเราเขาใจ ผิดไป บางคนเกิดมาในโลกก็บอกวาโลกของเรา ลื ม ไปว า คนอื่ น เขาก็ คิ ด อย า งนี้ เ หมื อ นกั น ไสเดือนกิงกือก็คดอยางนีเ้ ปน คิดวา โลกของเรา ้ ิ นี้มันเริ่มมาจากความเขาใจผิด หลงยึดมั่น ถือมัน วากายนีใจนีเ้ ปนตัวเราเปนของเรากอน ่ ้ ก็เลยพลอยยึดสิงอืน เปนบานของเรา ประเทศ ่ ่ ของเรา จนกระทังโลกของเรา แททจริงแลวมัน ่ ี่ ไมใชนะ ๖
  • 7. ส ติ ป ญ ญ า เราอาศัยรูปนามหรือวากายใจนีอยู เปน ้ ทีอาศัยชัวครังชัวคราวเทานันเอง สักหนอยก็ ่ ่ ้ ่ ้ จะทิงมันไป บานก็เหมือนกัน เราก็มาอาศัย ้ ประเทศก็เหมือนกัน ไมใชของเรา เรามาอาศัย อยู อาศัยชัวครังชัวคราวแลวก็จากไป โลกก็ ่ ้ ่ เหมือนกัน เรามาอาศัยอยู อยไมนานหรอกเดียว ู ๋ ก็ไปแลว ศาสนาก็เหมือนกัน แมแตพระพุทธ ศาสนาก็ไมใชของเรา เรามาอาศัยทาน อาศัย รมเงาทาน ถาเราไดอาศัยจริงๆ ไดรจกจริงๆ ู ั ก็รมเย็นสงบสุข แตไมใชของเรานะ  ถาบางพวกเขามีความเขาใจผิด หลงยึด มันถือมัน กายนีใจนีเ้ ปนของเรา แมแตศกษา ่ ่ ้ ึ ธรรมะ ก็ยดวาพุทธศาสนาของเรา ถาเกิดความ ึ เห็นในทำนองอยางนีขน ก็จะเกิดความยึดมัน ้ ึ้ ่ ๗
  • 8. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง ถือมัน ตองไปพยายามถกเถียงวา ฝายเราดี ่ ฝายเราถูก ฝายเขาดีเหมือนกันแตดไมเทาเรา ี อะไรก็วากันไป มันก็เกิดความทุกข เกิดความ  เครียด เกิดความบีบคั้นซึ่งกันและกัน ชีวิต ไมเคยประสบกับความสงบสุข ไมเคยประสบ กับความรมเย็น แมแตความคิดตางๆ ทีเ่ กิดขึนเปนครังๆ ้ ้ หากเห็นผิดคิดวา เปนความคิดของเรา นีกมี ่็ ปญหาแลว ความคิดของเราตองถูก ตองดี ก็ตองเหน็ดเหนื่อยในการที่จะพยายามพูดให คนอื่นเชื่อเรา เพราะฉะนั้น อยาพยายาม ไปทำอยางนั้นนะ มันไมใชของเราจริงหรอก ตองพยายามเขาใจความจริง ถาจะพูดให คนอืนฟงก็พดความจริง เขาจะเชือหรือไมเชือ ่ ู ่ ่ ๘
  • 9. ส ติ ป ญ ญ า ก็อกเรืองหนึง ความจริงไมจำเปนตองเชือนะ ี ่ ่ ่ เพราะความจริงก็เปนความจริงอยูวันยังค่ำ นันแหละ แตถามันไมจริง มันเปนความเห็น ่  ของเรา เราอยากจะใหเขาเชือนี่ ลำบากลำบน ่ หาเหตุผลใหเขาเชือเรา เขาเชือแปบเดียวเดียว ่ ่ ๋ เขาไปฟงคนอืน เขาก็ไมเชือเราแลว มันก็ลำบาก ่ ่ ใหศกษาเพือใหเขาใจความจริงนะ เรา ึ ่ มาอาศัยก็เพือศึกษาโลกใหเขาใจ อาศัยพระ ่ พุทธเจา เชือทานก็เพือจะเขาใจทาน อาศัย ่ ่ อาจารยก็เพื่อจะเขาใจสิ่งที่อาจารยไดสอน อาศัยเพือการศึกษา อยางมาทีอาศรมมาตานี้ ่ ่ ก็มาอาศัยเพือใหเกิดสติเกิดปญญา เกิดสิกขา ่ เกิดศีล เกิดสมาธิ เกิดปญญา อาศัยศาลา หลังนี้ก็เพื่ออยางนี้แหละ อาศัยพระพุทธรูป ๙
  • 10. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง กราบพระพุ ท ธรู ป ก็ เ พื่ อ ให เ กิ ด สติ ป ญ ญา เกิดสิกขา เพราะฉะนั้น อะไรที่เรามีข้ึนมา ก็เพือใหเกิดการศึกษา เปนทีอาศัยใหเกิดสติ ่ ่ ปญญา ใหเราอยรอดได ู ตังแตเด็กมา เราอาศัยพอแม ทีนมา ้ ี้ อาศัยพระพุทธเจา อาศัยพระธรรม ทายทีสด ุ่ ก็อาศัยครูบาอาจารย ก็เพือจะฝกฝน ใหเกิด ่ การศึกษา เพือจะใหเราอยรอด รอดพนจาก ่ ู ความทุกขทางใจ รอดพนจากความทุกขทตด ี่ ิ มากับความเกิด มนุษยเรานีมขอดอยเยอะ แตขอดอย ่ ี  ก็เปนขอดี คือมนุษยนี้มันชวยตัวเองไมได ถาไมไดฝกฝนนี่ จะชวยตัวเองไมไดสักอยาง ๑๐
  • 11. ส ติ ป ญ ญ า อยางทางดานรางกายเรานี้ เราเกิดมาแลวชวย ตัวเองไมไดซกเรืองเดียว เกิดมาแลวถาเขาเอา ั ่ ไปวางไว ตายเลย ชวยตัวเองไมได กินหญา ก็ไมเปน ดืมน้ำก็ไมเปน ทำอะไรก็ไมเปน ไม ่ เหมือนวัวเหมือนควายนะ คลอดมาแลว เดียว ๋ เดียว เดินตามแมกนหญาไดสบาย ถามองกัน ิ แงนี้ มนุษยนี้มันมีขอดอย ดอยกวาวัวนะ แตมนุษยดตรงทีวา เราสามารถฝกได ฝกแลว ี ่ มันจะรอดได อยางดานรางกายเรานี้ ถาเราไมไดฝก  ไมรอดแนๆ เอาไปวางไวตายลูกเดียว ตองฝก แมแตการถายอุจจาระปสสาวะนี่ก็ทำไมเปน ไปถายรดแมไมรกรอบกวาจะถายเปนทีเ่ ปนทาง ู ี่ ทำไมเปน หมาแมวมันยังทำเปนกวาเรา เรานี่ ๑๑
  • 12. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง หัดตังนานกวาจะเปน แมดาแลวดาอีกวาอยามา ้  ถายตรงนี้ กวาจะทำเปน กวาจะเขาหองนําเปน ้ ก็ตองฝกกันนาน กินขาวก็ไมเปนนะ ตองฝก  เดินก็ไมเปน กวาจะเดินเปนก็นานเลย พูด อะไรก็ไมรูเรื่อง จะสื่ออะไรออกมาก็ไมเปน ความรสกนะมี อยากไดนนอยากไดนี่ จะสือ ูึ ั่ ่ สารอะไรก็ไมเปน พูดกับใครก็ไมเปน ถาไมได ดังใจก็แหกปากอยางเดียว พวกจะเอาใจก็ไมรู จะเอาใจยังไง มันพูดไมเปน กวาจะพูดกัน รเู รืองก็นานมาก ไมเหมือนสัตว ไมเหมือนวัว ่ ไมเหมือนควาย มันไมไดยงยากอยางนี้ เกิด ุ มาปบเดี๋ยวสักหนอยก็เดินเปนแลว กินหญา เปนแลว ไมตองทำอะไรแลว รอวันตาย  ๑๒
  • 13. ส ติ ป ญ ญ า มนุษยเรานี่ มีขอจำกัด มีขอดอยเยอะ   ขอดอยคือมันชวยตัวเองไมได แตก็มีจุดแข็ง ทีสด จุดออนคือชวยตัวเองไมได จุดแข็งคือ ่ ุ สามารถฝกได ดานรางกายนี้ เราก็ฝกกันมา จนเป น คนอยู ทุ ก วั น นี้ พอช ว ยตั ว เองได กวาจะทำงานชวยตัวเองไดหลายปมากนะ วัว ไมตองเขาโรงเรียน มันก็หากินหญาไดสบาย  เรานีกวาจะหากินเปน เขาโรงเรียน ผานครูบา ้ อาจารยมาไมรูก่ีคนตอกี่คน ฉะนั้น เราจึง ตองมานึกถึง ไหวพอแม ครูบาอาจารย ไหวผู  มีพระคุณระลึกถึงคุณทานวา ทานทำใหเรา นี้อยูรอดได เพราะเรานั้นมันอยูดวยตัวเอง ไมได อยูไมรอด มันเปนขอดอยของมนุษย แตในขอดอยก็มขอเดนคือสามารถฝกได ดาน ี รางกายก็ฝกได ทำใหมีชีวิตรอดได แตมัน ๑๓
  • 14. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง มี ข อ จำกั ด ทางสรี ร ะร า งกายของแต ล ะคน บางคนก็เลนกีฬาชนิดนันเกง ชนิดนีเ้ กง อยที่ ้ ู สรีระรางกายดวย อยูที่การฝกฝนดวย เรา ทังหลายก็ทำนองเดียวกันนะ เราก็ฝกได ออก ้  กำลังกายได แตมนก็มขอจำกัดดานสรีระ ั ี ทีนี้ ดานจิตใจก็ทำนองเดียวกัน ถาเรา ไมฝกฝนก็จะพึงตนเองไมได ไมสามารถ  ่ เป น ที่ พึ่ ง ของตนเองได ตายเหมือนกัน ดานรางกายไมไดฝกฝนก็ตาย ดานจิตใจไมได  ฝกฝนก็ตาย รางกายเปนมนุษยแหละ แตใจนี้ มันไมเปนมนุษย นีเ่ รียกวาตายเรียบรอยแลว ถาหมดกรรมนีแลวก็ไปอบาย จิตใจเราถาไม ้ ได ฝ ก นะมั น ก็ ต ายเลย ไม ไ ด เ ป น มนุ ษ ย อีกแลว กายอาจจะเปนมนุษยอยูเพราะวา ๑๔
  • 15. ส ติ ป ญ ญ า กรรมเกายังทำใหเปนอยูอยางนี้ แตใจอาจ เปนอยางอืนไปแลว ตายจากมนุษยไปแลว ่ เราทังหลายเปนมนุษยแลว ทางกายก็ ้ ตองฝกจึงจะอยรอดได ทางใจก็ตองฝกจึงจะ ู  อยูรอดได อยูรอดโดยสามารถเปนมนุษย ตอไปอีก หรือวายิงขึนไปอีกรอดจากความเกิด ่ ้ ความแก ความเจ็บ ความตาย รอดพนจาก ความทุกขทงปวง ั้ เรามีความเกิดเปนธรรมดา มีความ แกเปนธรรมดา มีความเจ็บเปนธรรมดา มีความตายเปนธรรมดา แตเรามาฝกฝน เพือทีจะไมเกิด ไมแก ไมเจ็บ ไมตาย ่ ่ มันตองฝกฝน พวกสัตวทั้งหลายนั้นมันอยู ๑๕
  • 16. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง รอดได ไมตองฝกฝนอะไรมาก นันเปนขอเดน  ่ ของมัน แตก็เปนขอดอยของมันนะ มันฝก ไมได เกิดมารับผลของกรรมอยางเดียว สัตว ทั้งหลายใชชีวิตตามสัญชาตญาณไป ไมได ฝกฝน หมดกรรมแลวมาเกิดเปนมนุษย คอยดู กันอีกทีวาไดฝกไหม ไมไดฝกก็ลงไปใหม ใชชวต    ีิ รับผลของกรรมตามสัญชาตญาณไป หมดกรรม ก็ขึ้นมาใหม ขึ้นมาแลวก็ดูวาไดฝกฝนไหม ไมไดฝกฝนก็ลงไปใหม วนเวียนไปมาอยอยางนี้  ู เราทังหลายก็ผานความเปนอยางนันมา ้  ้ เยอะแลว เราก็คอยๆ พิจารณา จะไดมกำลังใจ  ี ในการฝกฝนวา โอ ... เราไดเปนมนุษย มันก็ยาก แสนยาก การจะไดเจอคำสอนของพระพุทธเจา ก็ยากแสนยาก จะไดฟงวิธการปฏิบตวปสสนา  ี ัิิ  ๑๖
  • 17. ส ติ ป ญ ญ า ก็ยากแสนยาก การจะทำความเขาใจ ก็ยาก แสนยาก ตองรีบฝกฝนเพื่อจะใหชีวิตเรานี้ มันรอดปลอดภัย พนจากความเกิด แก เจ็บ ตาย จะไดมีกำลังใจ ขั้นแรก เราก็ฝกฝน เพื่อใหรอดจากอบายเสียกอน ถาจะเกิดอีก ก็ไปเกิดในสุคติโลกสวรรค ถาจะใหดยงขึนไป ี ิ่ ้ กวานั้น คือไมตองเกิดอีกเลย มันก็รอดเปน ขันๆ ไป ้ การที่เราทั้งหลายมาฝกตน ใหมีสติ สัมปชัญญะนี่ เปนสิ่งสำคัญที่สุดในชีวิตเรา แลวนะ สิงสำคัญทีสดของมนุษยเราก็คอสิงนี้ ่ ุ่ ื ่ นั่นเอง ตัวเราจะมีครอบครัว ทำงานเปนครู อาจารย เปนพนักงานเอกชน เปนขาราชการ อะไรก็เปนไป มีลกก็เลียงลูก มีสามีกดแลสามี ู ้ ็ู ๑๗
  • 18. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง มีภรรยาก็ดแลภรรยา มีพอแมกดแลไป แตสง ู  ็ู ิ่ ที่ ต อ งฝ ก ฝนอยู เ สมอคื อ สติ สั ม ปชั ญ ญะ มีความรูตัวอยูเสมอ เพื่อที่จะไดศึกษาโลก ใหเขาใจ เรามาอาศัยโลก เพือทีจะเขาใจโลก ่ ่ แลวก็ทิ้งมันไป กายนี้ใจนี้ก็ทำนองเดียวกัน เรามาอาศัยกายอาศัยใจ ก็เพื่อใหเกิดการ ศึกษา ใหเกิดศีล เกิดสมาธิ เกิดปญญา เมื่อมีปญญาแลวก็ทิ้งมันไป คืนโลกเขาไปก็ เทานีแหละ ้ เราเกิดมาในโลกนี้ ไมไดมาเพือเอาอะไร ่ เพราะเอาไปไมได โลกนี้มันไมใชที่พึ่งถาวร มันไมมสงใดเทียง กายใจนีกทำนองเดียวกัน ี ิ่ ่ ้็ บานก็ทำนองเดียวกัน ลาภยศสรรเสริญก็ ทำนองเดียวกัน ทุกอยางนั่นแหละ เรามา ๑๘
  • 19. ส ติ ป ญ ญ า เรียนรใหเขาใจวา ไมมสงไหนเปนทีพงไดเลย ู ี ิ่ ่ ึ่ สักอยางเดียว เราก็จะไดที่พ่ึงอันแทจริงเรา ไมไดมาหาอะไรที่มันถาวร ไมไดมาหาอะไร ที่ ห ยิ บ ฉวยเอาได แต ม าศึ ก ษาเรี ย นรู เ พื่ อ ใหเห็นวา มันไมมอะไรเปนทีพงได ไมมอะไร ี ่ ึ่ ี ทีมนเทียง ่ ั ่ โดยสวนใหญเราทั้งหลายนี้ เวลาพูด ถึงการปฏิบตธรรมก็จะมักจะคิดวา เรามาหา ั ิ อะไรทีมนเทียง มาหาอะไรทีเ่ ปนทีพงได มาหา ่ ั ่ ่ ึ่ อะไรที่เราจะยึดเอาได ความจริงมันตรงขาม กับทีเ่ ราคิด คือเรามาศึกษาเพือใหรวา ในโลก ่ ู  มันไมมีสิ่งไหนเที่ยง ไมมีสิ่งไหนเปนที่พึ่งได ไมมีสิ่งไหนที่พอจะยึดเอาไวได มีแตสิ่งที่มา หลอกเราใหหลงยึดเทานั้นเอง ถาเราไมโดน หลอก ก็ไมยดมันแลว เรามาศึกษาใหรอยางนีวา ึ ู ้ ๑๙
  • 20. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง โลกมันไมมีอะไรนายึด มีแตสิ่งที่หลอก ใหเราหลงยึด เรามาปฏิบัติธรรม ไมยึดหรอกตอนนี้ ปฏิบตไปปฏิบตมา มีสภาวะอันนีดจง สงบดีจง ัิ ัิ ้ีั ั มันหลอกเราใหไปหลงยึดอีกแลว ใหศกษามันไป ึ ความสงบเกิดขึนก็รู คิดวาดีจง มันนาจะเปน ้ ั ทีพงได เราคิดอยางนีกใหรวาคิด ชีวตมันเปน ่ ึ่ ้ ็ ู  ิ อยางนี้ มีแตของหลอกลวงใหเราไปยึด ทาน เรียกวามันเปนมายา เปนปรากฏการณ เปนขันธ ขันธก็คือปรากฏการณของทุกขที่มันเกิดขึ้น เปนครังๆ เกิดแลวก็ดบไป มันคอยหลอกเรา ้ ั ใหเราหลง ใหเรายึดอยอยางนัน ยึดไปยึดมา ู ้ ยึดสิงนันสิงนี้ เปลียนเรืองยึดไปเรือย บางคน ่ ้ ่ ่ ่ ่ ยึดตั้งแตเกิดไปจนตาย ตายแลวจะไดโนน จะไดนี่ ยึดแมแตสงทีมองไมเห็นอีก ิ่ ่ ๒๐
  • 21.
  • 22. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง ในการปฏิบตธรรมนัน เราไมไดมาหา ั ิ ้ สิงทีมนเทียงแทถาวร เรามาศึกษาเรียนรเู พือ ่ ่ ั ่ ่ ใหเกิดปญญาเห็นวา ไมมีสิ่งไหนที่มันเที่ยง แทถาวร ไมมีสิ่งไหนอยูกับเราไดนาน สิ่งที่ จะอยกบเราตลอดไปก็คออนิจจัง ไมมสงไหน ูั ื ี ิ่ มันเทียง อยามาหาวาสิงไหนจะอยกบเราไดนาน ่ ่ ูั เรามาศึกษาเพือใหรวา ไมมสงไหนอยกบเรา ่ ู  ี ิ่ ู ั ไดนาน ผานมาแลวก็ผานไปทังหมด บางคน  ้ บอกวา ผูชายคนนี้คงจะอยูกับเราไดนาน แตงงานกับเขาซะเถอะ เปนสามีเราแลว ผหญิง ู คนนี้ ค งจะอยู กั บ เราได น าน แต ง งานกั น เปนภรรยาเราแลว ลูกคงจะอยกบเราไดนาน ูั เราจะไดพงเขาเวลาแกตวลง หวังลมๆ แลงๆ ึ่ ั ไปนะ แททจริงจิตใจเราเองมันก็ยงอยกบเรา ี่ ั ูั ไมไดนานเลย เมือกีนมนมีสขแปบเดียวก็ไปแลว ่ ้ ี้ ั ุ ๒๒
  • 23. ส ติ ป ญ ญ า มันทุกข คิดดีๆแปบเดียวมันก็ไปแลว ในโลก ไมมสงไหนเปนทีพงจริง ถาเราไดความรอนนี้ ี ิ่ ่ ึ่ ูั นะ เราจะไดทพงอันแทจริง รวา โลกทังหมดโลก ี่ ึ่ ู ้ มนุษยก็ไมมีที่พึ่งที่แทจริง ถึงจะไปสวรรค ก็ไมเทียงเหมือนกัน แมจะไปพรหมโลก ก็เปน ่ ทีพงจริงไมได ความสงบนิงยาวนาน มันก็ดี ่ ึ่ ่ อยหรอก แตมนก็ดบไปอยดี ถึงจะนังนิงอยู ู ั ั ู ่ ่ ตั้งแตหัวค่ำจนสวาง พอลุกขึ้นสักหนอยมัน ก็หายไปอยดี มันเปนทีพงแทจริงไมได เปน ู ่ ึ่ พรหมก็มอายุยาวนานมาก สงบยาวนานมาก ี ก็ยงเปนทีพงจริงๆ ไมได โลกทังหมดเปนเหมือน ั ่ ึ่ ้ กับถูกไฟไหมอยู มันมีแตของเกิดดับ ไฟเผา อยเู สมอ ไฟ คือ ชาติ ชรา มรณะ และไฟคือ กิเลส มีราคะเปนตน ๒๓
  • 24. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง เราไดเกิดมาในโลก เกิดมาเพราะยังไมรู อริยสัจ ยังรอริยสัจไมแจมแจง ไมเกิดปญญา ู ไมเขาใจความจริง ยังไมมวชชา หนาทีของเรา ีิ ่ คื อ มาอาศั ย เพื่ อ ศึ ก ษาให เ ข า ใจความจริ ง กายใจนีเ้ ราไดมาเพราะยังไมรู ยังไมแจมแจง ในอริยสัจ ไดมาแลว เราอาศัยมัน อาศัยกาย อาศัยใจ เปนฐานทีตงใหเกิดสติปญญา เกิด ่ ั้  ความรู เกิดวิชชา นีแหละทีพระพุทธเจาทานเรียก ้ ่ วาสติปฏฐาน เปนทางเดียว เปนทางเอก สติปฏฐานนันเอากายกับใจเปนฐานที่  ้ ตังใหเกิดความรู ใหเกิดสติปญญา ใหเกิดศีล ้  เกิดสมาธิ เกิดปญญา จนกระทั่งรอดได ไมตองมาเวียนเกิดเวียนตายอีกตอไป รอดตาย  คือไมตองมาตายแลว การที่จะไมตองตาย  ๒๔
  • 25. ส ติ ป ญ ญ า มีวธเดียวเทานัน คือ ตองไมเกิด ถามาเกิด ิี ้ แลวก็ตองตาย มันเปนของคกนอยู  ูั ในโลกนี้ มันมีแตของเปนคกน มันเปน ูั ธรรมดา มันเปนธรรมชาติของมันอยางนัน เรา ้ ตองศึกษาของคใหเขาใจวา ของคทงหมดเปน ู ู ั้ ของไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา เทากัน หมดเลย เกิดก็ไมเทียง จึงมีแก แกกไมเทียง ่ ็ ่ จึงมีตาย ตายก็ไมเทียง จึงมีเกิด ไดมาแลวก็ ่ ตองเสียไป มีแลวก็ตองหมดไป พบกันแลวก็  ตองจากกันไป สุขแลวก็ไมเทียง เปลียนเปน ่ ่ ทุกขได ทุกขแลวไมเทียง เปนสุขไดเหมือนกัน ่ สงบแลวไมเทียง ฟงซานอีกได ฟงซานไมเทียง ่ ุ ุ ่ เดียวก็สงบใหมไดเหมือนกัน อยางนี้ ๋ ๒๕
  • 26. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง เราอาศัยกาย อาศัยใจ เปนทีตงใหเกิด ่ ั้ ความรู เปนที่ตั้งของการศึกษา จึงเรียกวา สติปฏฐาน ทางรอดมีทางเดียว คงเคยไดยน  ิ กันแลวนะ เอกายนมรรค ทางที่ทำใหเกิด ความรู ใหเกิดสติ เกิดปญญา กายกับใจนี้ เราไดมาแลว ก็ใชมนเปนเครืองศึกษา อาศัย ั ่ ใหเกิดสติปญญา ความรทจะเกิดจากการอาศัย  ู ี่ กายอาศัยใจนี้ จะมีอยสองอยางหลักๆ ู ความรอนทีหนีง เรียกวา ความรทเกิด ูั ่ ่ ู ี่ จากการมีสติ รวากายเปนอยางนี้ รวาใจเปน ู ู อยางนี้ ไมลมกายไมลมใจ นีเ้ รียกวา รแบบมีสติ ื ื ู ขันแรก เราอาศัยกายอาศัยใจ ใหเกิดสติ ไมหลง ้ ลืมมันไป ไมหลงไปตามโลก ถาหลงไปตามโลก ก็ไมเกิดการศึกษา ไมเกิดการเรียนรู บางคน ๒๖
  • 27. ส ติ ป ญ ญ า หลงออกไปจากกายจากใจของตัวเองมากหลง ไปเรื่องนั้น หลงไปเรื่องนี้ คิดเรื่องนั้น คิด เรืองนีเ้ ยอะแยะเหลือเกิน ทังๆ ทีเ่ ราอาศัยกาย ่ ้ อาศัยใจในการทำสิงตางๆ แตไมไดศกษามัน ่ ึ เลยนะ ไปศึกษาแตเรืองทีอน เรียนคณิตศาสตร ่ ่ ื่ เรียนฟสกส เรียนชีววิทยา เรียนเรืองการทำงาน ิ ่ เราเรียนเรืองเหลานันก็ดแลว จะไดทำงานหาเงิน ่ ้ ี เลี้ยงชีวิตได ชวยใหเรารอดอยูในโลกไดโดย ไมลำบากนัก แตที่จะดียิ่งขึ้นไปกวานั้น ก็คือเรียน เรืองกาย เรียนเรืองใจของตนเอง เพือทีเ่ ราจะ ่ ่ ่ อยรอด รอดจากความทุกข รอดจากความตาย ู ไมตองมาตายอีก ถาเกิดมาแลว ยังไงก็ไม รอดนะ ตายแนนอน ทุกทานนี่แหละ ผม ๒๗
  • 28. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง พยากรณไดเลย ตายแน ไมตายตอนกลางวัน ก็ตายตอนกลางคืน ผมเปนหมอดูทแมนมาก ี่ เกิ ด มาแล ว ก็ ต ายทุ ก คน พบกั น แล ว ก็ ต อ ง จากกันทุกคน มีสามีแลวก็ตองเสียสามีแนนอน  ไมทางใดก็ทางหนึง ไมเสียตอนดีๆ ก็เสียตอน ่ ตายจากไป ไมตองไปหาหมอดูเลย ใหผมดูนี่  ถูกหมดทุกคน มันเปนธรรมดาอยางนีของมัน ้ เราไดกายไดใจมาแลว ไดมาเพราะ ความไมรู ก็ใชมน อาศัยมัน เพือใหเกิดความรู ั ่ ความรอนทีหนึงทีเ่ ราจะไดคอรแบบสติ อาศัย ูั ่ ่ ื ู กาย อาศัยใจ ใหเกิดสติ รวากายมีอยู ใจมีอยู ู กายเปนอยางนี้ ใจเปนอยางนี้ กายมันนั่ง กายมันยืน มันเดิน มันนอน เหยียด คู หายใจเขา หายใจออก กระพริบตา กินอาหาร ถายอุจจาระ ๒๘
  • 29. ส ติ ป ญ ญ า ถายปสสาวะ นีเ้ รียกวามีสติ ไมหลงลืมกาย ใจมั น เป น อย า งนี้ ใจมั น สุ ข ใจมั น ทุ ก ข ใจมันเครียด ใจมันวิตกกังวล ใจมันหลงไปคิด เรื่องนั้นเรื่องนี้ ใจมันสบาย ใจมันไมสบาย มั น พอใจ มั น ไม พ อใจ นี้ เ รี ย กว า มี ส ติ ไมหลงลืมใจ ตอไปเปนความรอกอันหนึง รูแบบมี ูี ่ ปญญา คือรวา กายนีใจนี้ ไมใชตวเรา มันเปน ู ้ ั สิ่งที่เกิดเพราะเหตุเพราะปจจัย เกิดมาแลว ก็ตกอยภายใตกฎไตรลักษณ เปนของไมเทียง ู ่ เปนทุกข เปนอนัตตา อาศัยกายอาศัยใจไดความรมาสองอันู รูวากายมีอยู รูวาใจมีอยู นี่รูแบบมีสติ อันที่ ๒๙
  • 30. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง สอง รแบบมีปญญา รวา กายนีใจนีเ้ กิดเพราะ ู  ู ้ เหตุปจจัย เกิดมาแลวเปนของไมเทียง เปนทุกข  ่ เปนอนัตตา ขันแรกทีเ่ รามาฝกฝนคือฝกใหเกิดสติกอน ้  เราฝกสติปฏฐานนี่ ฝกใหไดความรสองขัน ขันที่  ู ้ ้ หนึ่ง ฝกใหเกิดสติ ตามดูกาย ตามดูเวทนา ตามดูจต ตามดูธรรม เปนเหตุใหเกิดสติ เกิด ิ สัมปชัญญะ เกิดความรตว ไมลมกาย ไมลมใจ ู ั ื ื พอไมลมกาย ไมลมใจนี่ จะเกิดสิกขาหรือเกิด ื ื การศึกษาขึนมาสองขันตอน คือเกิดศีล เกิด ้ ้ สมาธิ ทีนกตามดูกายดูใจตอไปอีก เพือใหเกิด ี้ ็ ่ ปญญา เห็นความจริงของกายของใจ ๓๐
  • 31. ส ติ ป ญ ญ า ใหเราตามดูกายตามดูใจ การตามดู เรียกวาอนุปสสนา การตามดูกายเรียกวา กายานุปสสนา การตามดูเวทนาเรียกวา เวทนา  นุปสสนา การตามดูจตเรียกวา จิตตานุปสสนา  ิ  การตามดูธรรมะคือกายกับใจนั่นแหละที่มัน ไมเทียง เปนทุกข เปนอนัตตา เรียกวา ธัมมา ่ นุปสสนา  การตามดู ก็หมายความวา เราไมได ไปทำอะไรมัน เราดูมนทำ ตามดูเพือใหเกิดสติ ั ่ เกิดความรขนมาวา มันมีอยู มันเปนยังไงอยู ู ึ้ ตอนนี้ ไมลมมัน ไมมวแตใจลอย ไมมวแต ื ั ั เหม อ ไป กายมั น เป น ยั ง ไงตอนนี้ จิ ต มั น เปนยังไงตอนนี้ ถาตามรบอยๆ มันก็ชน จิต ู  ิ ก็จำได ตอไปมีอะไรเกิดขึน ก็นกไดเอง ระลึก ้ ึ ๓๑
  • 32. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง ไดเองมีอะไรเปลี่ยนแปลงในกายในใจก็ระลึก ไดไว หลงไปคิดเรื่องนั้นเรื่องนี้ก็ไมหลงนาน หลงไปก็ระลึกได อยางนีเ้ รียกวาคนมีสติ เมื่อมีสติบอยๆ เราทำอะไรก็จะรูตัว กายกำลังเคลื่อนไหว กำลังเดิน กำลังนั่ง กำลั ง ทำกิ ริ ย าอาการอย า งนี้ ใจกำลั ง คิ ด กำลังนึก คิดอยางนีจงพูดอยางนี้ คิดอยางนี้ ้ึ จึงทำอยางนี้ ก็รกเ็ ห็น อยางนีเ้ รียกวาคนมีสติ ู ถาเราทำอะไรแบบไมรูตัว ทำอะไรแบบคน เหมอลอยไป ใจลอยไปอยแตกบเปาหมายเรียก ู ั วาคนขาดสติ ทีเ่ ราไปทำผิด ไปวาคนอืน ไปวิจารณ ่ คนอืน ไปถกเถียงกันจนเปนทุกข เครียด วิตก ่ กังวล เพราะอะไร ก็เพราะขาดสติทั้งนั้น ๓๒
  • 33.
  • 34. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง กิเลสทั้งหลายมาจากการขาดสติ จะดับ กิเลสนี่ ดับทีเ่ หตุนะ กิเลสมันมากับความมืด มากับการขาดสติ เราก็มาฝกใหมสติ เมือมีสติ ี ่ ก็ไมตองไปพูดถึงวา กิเลสอยทไหน เพราะมัน  ู ี่ ไมเกิด ความทุกขกไมมี เหมือนกับถนนมันมืด ็ เราไมตองไปโทษถนนทีมนมืดนะ ไมตองไปฆา  ่ ั  ความมืด เดียวจะเหนือยเปลา จะตายเสียเปลา ๋ ่ เรามีไฟฉายก็สองไป มีไฟก็จดไฟ มันก็สวาง  ุ ความสวางเขามา ความมืดก็หายไป กิเลส ก็เหมือนกันนะ เราไมตองไปตอสกบมัน ตอสู  ูั กั บ มั น เราก็ เ หนื่ อ ยเปล า ตายทิ้ ง เปล า ๆ นั่นแหละ คำวา ตายทิ้งเปลาๆ คือไดเกิด มาใหมเกิดมาใหมกตายเหมือนเดิม ก็ไดเกิดมา ็ ใหมอยเู รือย ไดตายอยเู รือย อันนีมนเกิดมา ่ ่ ้ ั ตายเปลาๆ ไมไดรวธทจะไมตาย ู ิ ี ี่ ๓๔
  • 35. ส ติ ป ญ ญ า หนาทีของเราคือใสแสงสวางเขาไป ่ เป ด ไฟฉาย จุ ด ไฟขึ้ น มา ให รู ให มี ส ติ ให มี สั ม ปชั ญ ญะ กิ เ ลสมั น ก็ ไ ม มี ที่ อ ยู แ ล ว เหมือนกับความมืดนันเอง เวลาเราเปดไฟขึนมา ่ ้ ความมืดไปไหนละ ไมตองไปถามแลว เพราะ  มันสวางแลว เวลามีสติกไมตองไปถามหรอกวา ็  กิเลสอยไหน การผิดศีลอยทไหน ความโลภ ู ู ี่ โกรธ หลงอยทไหน ไมตองถามนะ เพราะสติ ู ่ี  มันคือความสวาง เมื่อมันสวาง กิเลสก็ไมมี สวางอยางสูงสุดก็เปนพระอรหันต เปนผมสติ ู ี สมบูรณ มีปญญาสมบูรณ วิชชาก็สมบูรณ  ก็เทานันแหละ ้ เราหลงเยอะ กิเลสก็เลยเยอะ ทุกข ก็เลยเยอะ เมื่อหลงนอยลง กิเลสก็นอยลง ๓๕
  • 36. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง ทุกขกนอยลง สุขก็มากขึน มันก็มเี ทานันละ ็  ้ ้ เวลาเราละกิเลส ก็ละทีสาเหตุของกิเลส สาเหตุ ่ ทีกเิ ลสเกิดขึนก็เพราะเราขาดสติ เราตองมาฝก ่ ้ สตินะ เราฝกสติ นี่แหละคือการละกิเลส เราไมไดไปละแบบกลัวมันหรือไปตอสูกับมัน แบบนันไมไหว เราจะเหนือยตาย ้ ่ อยาไปตอสูกับความมืด อยาไปโทษ ความมืด มันไมเกิดประโยชน ความโกรธ เกิดขึ้นมาแลว ราคะเกิดขึ้นมาแลว เราก็ ไมตองไปโทษมัน เราไมนาทำผิดเลย วิตก กังวลไป จะไปนรกหรือเปลา ทำยังไงจะหาย ไปทำอยางโนนอยางนี้ แบบนันเราก็ยงหลง ้ ั เหมือนเดิมนะ เรายังทำแบบหลงๆ ก็ยงตองมา ั เกิดมาตายเหมือนเดิม ๓๖
  • 37. ส ติ ป ญ ญ า ถาจะไมใหเกิดอีก ไมใหตายอีก เรา ตองทำแบบรู แบบมีสติ มีสมปชัญญะ ไมทำ ั แบบหลงๆ ฉะนัน เราทังหลายตองฝกฝนใหเกิด ้ ้ ความรู อาศัยกายอาศัยใจ ใหเกิดความรู รวาู กายใจมีอยู คือมีสติ รวา กายใจนีเ้ กิดเพราะ ู เหตุปจจัย เปนของไมเทียง เปนทุกขเปนอนัตตา  ่ มีแตของผานมาแลวผานไป มีแตของไมคงทน มีแตของไมใชตวเรา ไมมใครเปนเจาของ มีแต ั ี ของบังคับบัญชาไมได คือมีปญญา  ในตอนแรก เรามาตามดูกายดูใจ ใหมน ั เกิดสติ ปกติเราชอบหลงอยแลว หลงจนชิน ู เราจึงตองเตือนตัวเองบอยๆ คลายกับถาม ตัวเองบอยๆ วา ตอนนีกายมันเปนอยางไร ้ ใหมาตามดูกาย กายมีอะไรใหดบาง กายมัน ู  ๓๗
  • 38. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง หายใจเขาหายใจออก เราก็เตือนตัวเอง ใหมา ดูกาย ตอนนีมนหายใจเขานะ ตอนนีมนหายใจ ้ ั ้ ั ออกนะ อิรยาบถใหญ ยืน เดิน นัง นอน ิ ่ เราดูวา นีมนยืน นีมนเดิน นีมนนัง นีมนนอน  ่ ั ่ ั ่ ั ่ ่ ั ใหรสกถึงกายเฉยๆ ไปตองไปคิดมาก ไมตอง ู ึ  ไปพูดมาก ใหรสกวา กายนอนมันเปนอยาง ู ึ นีนะ ราบลงกับพืน แคไมลมมันเทานันแหละ ้ ้ ื ้ หลงลืมไปก็ใหรไวๆ อยาลืมนาน อิรยาบถยอยๆ ู ิ กายเคลือนไหว เหยียดคู กำมือเขา แบมือออก ่ ผงกหนา กระพริบตา กลืนน้ำลาย เราเตือน ตัวเอง ใหมารวา กายมันเปนอยางนี้ เรียกวา ู ตามดูกาย ตามดูกายใหเกิดสติ ตอไปจะได ไมลมกาย ื ตอไป การตามดูเวทนา ตามรความรสก ู ูึ ความรสกทางกายมี 2 อยาง รสกสบายทางกาย ูึ ูึ ๓๘
  • 39. ส ติ ป ญ ญ า กับไมสบายทางกายสบายทางกายก็เวลานังที่ ่ นุมๆ ลมพัดเย็นสบาย กายไมเคล็ดขัดยอก ไมสบายทางกายก็เจ็บปวด กระทบกับของแข็ง เขาก็เจ็บ นังนานก็ปวดหลัง เดินนานก็ปวดขา ่ หรือบางคนปฏิบตธรรมไมถก เพงนานไปหนอย ั ิ ู ก็ปวดคอ ปวดไหล ถาเวทนาอันไหนชัดเราก็รู สึกลงไปวา มันเปนอยางนั้น เวทนาทางใจ มีความสุขทางใจเรียกวาโสมนัส ความทุกข ทางใจเรียกวาโทมนัส แลวก็ไมสุขไมทุกข เฉยๆ หรือมึนงงสงสัย ไมรูวาจะสุขหรือทุกข ไมรวาจะดีใจหรือเสียใจ มันวนเวียน ดูไมออก ู  เลย เฉยๆ นิ่งๆ ไป อยางนี้เรียกวาอทุกขม สุขเวทนา เราก็ตามดูมนไป ตอนนีรสกอยาง ั ้ ู ึ นี้ จะไดไมหลงไมลมตัวเอง ื ๓๙
  • 40. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง ตอไปก็ตามดูจิต จิตมีราคะก็รูวาจิต มีราคะ เราตามดูไป สักหนอยจิตมีราคะ มันหายไป ก็กลายเปนจิตไมมราคะ ก็ตามดูทง ี ั้ 2 อยางนะ จิตมีราคะก็รวาจิตมีราคะ จิตไมมี ู  ราคะก็รวาจิตไมมราคะ จิตมีโทสะ มีความโกรธ ู  ี มีความไมพอใจ มีความเครียดเกิดขึน ก็รวาจิต ้ ู  มีโทสะ พอดูไปแปบหนึง บางคนก็ยาวหนอย ่ บางคนก็สั้น มันเกิดตามเหตุ มันก็หายไป ตามเหตุ เราไมไดดใหมนหายนะ เราดูให ู ั มันเห็น ดูใหรวามันมีอยู ดูใหเห็นความจริง ู  ของมัน เห็นวามันเปนอยางนี้ นีมนโกรธนะ ่ ั ความโกรธเปนอยางนี้ สักหนอยมันก็หายไป กลายเปนจิตไมมโทสะ ถามันเกิดใหมอกก็ดอก ี ี ูี มันหายไปก็รวามันหายไป อยางนีเ้ รียกวาตาม ู  ดูจต ิ ๔๐
  • 41. ส ติ ป ญ ญ า เมื่อจิตมีโมหะ จิตหลงไปคิดเรื่องนั้น เรืองนี้ ยาวบางสันบาง ตัวเรานีหายไปจากโลก ่ ้ ้ มีแตเรืองทีเ่ ราคิดเปนจริงเปนจังขึนมา ก็ใหรวา ่ ้ ู  อาว .. เราหลงไปคิดแลวนี่ จะคิดนานหรือไมนาน ก็ไมเปนไร หลงนานหรือไมนานก็ไมเปนไรจะ คิดผิดหรือถูกก็ไมเปนไร แครูวา จิตมันคิด มันหลงไป มันลืมตัวเองไป แคนกพอ พอรอยางนี้ ้ี ็ ู ความคิดนั้นก็จะดับไป พอมันดับจากเรื่องนี้ มันก็หลงไปคิดเรืองอืนอีก เราก็รอก มันหลง ่ ่ ู ี บอยหลงทังวัน เราก็รบอยๆ มีสติบอยๆ เรือง ้ ู   ่ ตางๆ ก็จะสันลง ทุกขกจะสันลง เราไมตองไป ้ ็ ้  พยายามใหมนสันลง เพียงแตเรารมนก็สนแลว ั ้ ู ั ั้ ทีมเี รืองยาวๆ เปน 30 นาทีเปนชัวโมงนีเ่ พราะ ่ ่ ่ อะไร เพราะไมรู ขาดสติ ถาเรารแทรกขึนมา ู ้ มันก็หายไปแลว ๔๑
  • 42. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง เราทังหลายก็ลองสังเกตดู มันคิดอยได ้ ู ไมนานหรอก คิดไปจนอิมตัวมันก็เลิก สมมติวา ่  คิดถึงสามีทบาน เราก็คดไป เขาจะทำอะไรนะ ี่  ิ ตอนนี้ พอมันอิมตัวแลวมันก็เลิก แลวก็ไปคิด ่ เรืองอืนตอ วันหนึงๆ เราจึงรสกมีเรืองนันเรืองนี้ ่ ่ ่ ูึ ่ ้ ่ เต็มไปหมด หยุดความคิดไมได หยุดไมเปน บางเรืองไมอยากคิดก็คด ก็เลยเกิดความทุกข ่ ิ ติดตามมาไมหยุดหยอน ที่ เ ราหลงคิ ด จนเป น เรื่ อ งนั้ น เรื่ อ งนี้ ขึนมา แสดงวาหลงไปนานแลว ตอไปฝกใหรู ้ เร็วๆ จนกระทังรวา จิตมันคิด คิดยังไมเปน ่ ู เรือง ไมรวามันไปคิดอะไร อยางนีดทสดนะ ทีเ่ รา ่ ู  ้ ี ี่ ุ เปนทุกขขนมา เพราะรเู รืองมากเกินไป ขาดสติ ึ้ ่ หลงนานไป ไปรเู รืองคนนันคนนี้ คิดเรืองโนน ่ ้ ่ ๔๒
  • 43. ส ติ ป ญ ญ า เรื่องนี้ เลยเปนทุกข ถาไมรูวาคิดเรื่องอะไร ก็ไมรจะทุกขกบอะไร ใหรทนจิตทีมนหลงคิด ู ั ู ั ่ ั แวบไปแวบมานีบอยๆ เวลามันหลงไปก็ใหรู เวลา ้  มั น รู ขึ้ น มา มั น ไม ห ลงก็ ใ ห รู อี ก เหมื อ นกั น จิตมีโมหะก็ใหรูวาจิตมีโมหะ จิตไมมีโมหะก็ ใหรูวาจิตไมมีโมหะ จิตมีอาการเปนอยางไรก็ใหรู เครียด วิตกกังวล ฟงซาน สงบก็ใหรู มีสมาธิกใหรู ุ ็ ไมมีสมาธิก็ใหรู บางคนเห็นจิตมันวุนวาย เหลือเกิน วกวนไปเรืองโนนเรืองนี้ ไมมสมาธิ ่ ่ ี ซะที จะทำยังไง ไมตองทำยังไงหรอก ใหเรา  รวา มันไมมสมาธิ มันวนเวียนไปมา พอรทน ู ี ู ั สภาวะนั้นดับไป ใจก็จะมีสมาธิตั้งมั่นขึ้นมา พอจิตตั้งมั่นขึ้นมา ก็ใหรูวาตอนนี้จิตตั้งมั่น ๔๓
  • 44. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง สักหนอยมันก็ดับไป จิ ต มี ส มาธิ ก็ รู ว า จิ ต มี สมาธิ จิตไมมีสมาธิก็ใหรูวาจิตไมมีสมาธิ บางทีเกิดความรสกวา มันหลุดพนจาก ูึ บางสิ่งบางอยาง หลุดจากความเขาใจผิดๆ ในบางเรือง ตอนนีเ้ ขาใจแลว จิตมันหลุดพน ่ ขึนมาเปนครังคราวก็ใหรวาจิตหลุดพน จิตไม ้ ้ ู  หลุด เขาไปยึดก็ใหรวาจิตไมหลุดพน ไมมกเิ ลส ู  ี เปนครังๆ คราวๆ เกิดความเขาใจ เกิดความ ้ ปลาบปลื้มขึ้นมา จิตเขาฌานไปก็ใหรูวามัน เปนอยางนี้ มันไมทง มันไปยึดอีก ก็ใหรวา ิ้ ู  มันไปยึด จิ ต หลุ ด พ น ก็ ใ ห รู ว า จิ ต หลุ ด พ น จิตไมหลุดพนก็ใหรูวาจิตไมหลุดพน เราก็รู ไปเรือยๆ อยางนี้ ่ ๔๔
  • 45.
  • 46. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง ในการปฏิบตนะ ตอนแรกยังไมเขาใจ ั ิ ก็ยึดนั่นยึดนี่ไปทั่ว พอเกิดความเขาใจก็จะ ทิงไป พอทิงอันนีแลวก็ไปยึดอันอืน ก็ใหรวา ้ ้ ้ ่ ู  ไปอยางทีมนเปน ไมตองไปดีใจเมือมันหลุดพน ่ ั  ่ ไมตองไปเสียใจเมือมันไปยึดอีก แตหากมีความ  ่ ดีใจเสียใจเกิดขึนก็ใหรทน พอใจก็ใหรวาพอใจ ้ ู ั ู  สิ่งดีๆ ใครๆ ก็ชอบทั้งนั้นแหละ แตมันไมอยู นานหรอก มันเปนของไมเที่ยง เหมือนเรา มาเรียนธรรมะ พอไดเขาใจอะไรนิดหนอย ก็ ดีใจ เลยยึด ทิงอันเกามายึดอันใหม ยึดดีกไมดี ้ ็ ยึดถูกก็ผดนะ ฉะนัน ใหเรารทนทุกๆ สภาวะ ิ ้ ู ั พนก็ใหรวาพน ยึดก็ใหรวายึด ู  ู  เราตองมีสติ มีปญญาอยเู สมอ อาศัย  กายกับใจใหเกิดความรูยิ่งๆ ขึ้น ใหมีสติ ๔๖
  • 47. ส ติ ป ญ ญ า มากขึน ใหมปญญามากขึน จนกระทังเกิด ้ ี  ้ ่ ความรูวา ทุกสิ่งทุกอยางที่เกิดขึ้น ลวนแต ดับไปทังหมด สิงใดสิงหนึงมีความเกิดขึนเปน ้ ่ ่ ่ ้ ธรรมดา สิงนันทังมวลลวนแตดบไปเปนธรรมดา ่ ้ ้ ั ไมมสงไหนเปนทีพงจริงๆ ได เมือเกิดความรู ี ิ่ ่ ึ่ ่ อยางนีจงจะไดทพง เปนผทมนคง คนทีมจตใจ ้ึ ี่ ึ่ ู ี่ ั่ ่ ีิ มั่นคง ก็คือผูที่เห็นวา ไมมีสิ่งไหนมั่นคงเลย ไมใชไปทำใหมนมันคงถาวร พวกทีชอบไปทำ ั ่ ่ ใหมนมันคง พวกทีชอบบังคับสิงนันสิงนีไปทัว ั ่ ่ ่ ้ ่ ้ ่ เปนพวกไมมั่นคง พวกงอนแงน พวกขี้กลัว ไปพยายามทำใหมนนิงๆ พวกนีจะกลัวความ ั ่ ้ เปลียนแปลง กลัวสิงทีไมควรกลัว ผทไดเห็น ่ ่ ่ ู ี่ ความไมมั่นคงบอยๆ มีแตของเกิดแลวดับ ผานมาแลวผานไป ในโลกไมวาจะเปนมนุษย  เทวดาหรือพรหม ไมมอะไรเปนทีพงได เปนผู ี ่ ึ่ ๔๗
  • 48. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง ที่เห็นความจริง รูวาไมมีอะไรจริงแทเลยซัก อันเดียว ทีเ่ คยคิดวา อันนีนาจะจริง อันนีนา ้  ้  จะสุข ดูไปดูมา ไมจริงซะแลว ไมเทียงซะแลว่ แปรปรวนไปแลว ฉะนัน ไมตองไปหาของจริงแท ้  ถาวรอะไรนะ ศึกษาใหรวา มีแตของไมจริง ู  แลวจะไดของจริง จะไดยังไงก็คอยวากัน ไมตองไปหาอะไรที่มันมั่นคง ศึกษาใหรูวา ไมมอะไรมันคง แลวจะไดทพงอันมันคง ไดยงไง ี ่ ี่ ึ่ ่ ั ก็คอยวากัน ตอนนี้ใหรูสิ่งที่รูไดไปกอน รู กายรใจอยางทีมนเปน ใหมสติทเี่ ปนสติปฏฐาน ู ่ ั ี  ใหเกิดความรู เกิดสติมากขึน บอยขึน รวา ้ ้ ู กายมีอยู ใจมีอยู รวากายนีใจนี้ ไมใชตวเรา ู ้ ั เปนสิงทีเ่ กิดจากเหตุปจจัย เกิดมาแลวตกอยู ่  ภายใตกฎไตรลักษณ เปนของไมเทียง เปนทุกข ่ เปนอนัตตา ๔๘
  • 49. ส ติ ป ญ ญ า ตอไป การตามดูธรรม ทังกาย ทังใจ ้ ้ ทังรูป ทังนาม ทีเ่ ปนของเปลียนแปลงอยเู สมอ ้ ้ ่ ทังกิเลส ทังกุศล กิเลสพวกนิวรณตางๆ ก็อยา ้ ้  ไปรังเกียจ ใหตามดูมน มันเปนสภาวะอยางหนึง ั ่ สภาวะดีๆ ที่เปนไปเพื่อการตรัสรู ที่เรียกวา โพชฌงค ก็เปนสภาวะอยางหนึง สติกเ็ ปน ่ สภาวธรรมอยางหนึง ถาเกิดขึนก็ใหรวาตอนนี้ ่ ้ ู  จิตมีสติ สักหนอยก็หลงได มีปญญา มีความรู  เกิดขึนก็ใหรวาจิตมีปญญา สักหนอยก็ดบไป ้ ู   ั เกิดความงงขึนมาได มีปตกใหรวามี มีความ ้  ิ ็ ู  สงบระงับก็ใหรวามี มีสมาธิกใหรวามี มีอเุ บกขา ู  ็ ู  ก็ใหรวามี สักหนอยก็ดบไป ู  ั ทังฝายดีและฝายไมดกเ็ ทาเทียมกัน เรา ้ ี ศึกษาเพือปลอยวางทังดีทงไมดี แตจะปลอย ่ ้ ั้ ๔๙
  • 50. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง วางได ตองรูจักความจริงของมัน อาศัยมัน ใหเกิดความรกอน ใหเห็นโดยความเปนขันธ ู โดยความเปนปรากฏการณทมนเกิดเปนครังๆ ี่ ั ้ เปนรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ โลกนี้ ก็เปนปรากฏการณ เราตายไปแลว ฉากเหลานี้ ก็หายไป รู ก ารทำงานของอายตนะ ตามอง เห็นรูป อาศัยตากับรูปกระทบกันเกิดการ มองเห็นขึ้น เกิดความรูสึกชอบใจไมชอบใจ และเกิดกิเลสชนิดตางๆ ขึนมา เปนกระบวน ้ การเกิดขึ้นของธรรมะ ทุกสิ่งมันอิงอาศัยกัน และกันเกิดขึนตามหลักปฏิจจสมุปบาท ไมไดมี ้ ตัวตนถาวรที่ไหนเลย ที่เกิดความปวดหลัง ขึ้นมานี่ เพราะนั่งนานไปหนอย อาศัยกาย ๕๐
  • 51. ส ติ ป ญ ญ า กับสิ่งสัมผัสกระทบกัน เกิดการรับรูทางกาย ทำใหเกิดเวทนาชนิดนี้ พอเกิดเวทนาชนิดนีขน ้ ึ้ เราไมชอบมัน ก็ผลักไสมัน ทำอาการอยางนัน ้ อยางนีเ้ พือแกมน ทุกอยางทีเ่ กิดลวนไมไดมตว ่ ั ีั มีตนอะไร อาศัยผัสสะทีเ่ กิดขึนเปนคราวๆ เกิด ้ เวทนาเปนคราวๆ และเกิดสภาวะอื่นตามมา เปนสภาวะแตละอยางๆ เกิดแลวดับไป เมือเห็น่ ธรรมะอยางนีบอยๆ ความรกจะรวบยอดลงมา ้  ู็ เห็นอริยสัจ ขอใหทกทานพยายามฝกฝน แรกๆ ตอง ุ อาศัยความพยายาม อดทน หัดเอา สังเกตเอา ใหรตวบอยๆ อยาไปคาดหวังวาตองไดสติเยอะๆ ู ั ถาทำแลวเครียด มึน ซึมกะทือ อยาไปทำนะ บางคนทำซะจนออกมาทางกายก็มี ใจเครียด ๕๑
  • 52. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง ยังไมพอ บางคนก็จดจองมากตองเอาใหได ทำจนกระทังคอแข็ง ขาแข็ง หลังแข็งไปหมด ่ อยาไปทำอยางนันนะ เราฝกใหเกิดสติ สติเปน ้ กุศล ทำแลวเบาสบาย ปลอดโปรง ดูความโกรธ ดูความไมพอใจ ดูความเครียด ความวิตกกังวล ความกลั ว ก็ ดู แ บบสบายๆ ดู แ บบห า งๆ ชำเลื อ งดู สติ ท่ี แ ท จ ริ ง ทำให จิ ต เบาสบาย รูกายรูใจไดดี นีแหละ เปนวิธตามดูกายตามดูใจให ้ ี เกิดสติ เมือเกิดสติ เกิดความรตวบอยๆ แลวก็ ่ ู ั มาตามดูกายดูใจตอไปก็จะเกิดปญญาเห็นความ จริงของกายของใจ เห็นไตรลักษณถอดถอน ความเห็นผิด ถอดถอนความยึดมันถือมันในกาย ่ ่ ในใจได เวลามีสตินี่ จะปองกันกิเลสได กิเลส ไมเกิดเพราะวามีสติ ๕๒
  • 53. ส ติ ป ญ ญ า หากกิเลสเกิดขึ้นแลวมีสติรูทัน กิเลส ก็จะไมโต เวลาความโกรธเกิดขึน เรามองเห็นมัน ้ ความโกรธก็ไมรนแรง ความโลภเกิดขึน เรามอง ุ ้ เห็นมัน ความโลภก็ไมรนแรง อยางนีเ้ รียกวา ุ การละกิเลสดวยสติ ละดวยการสังวร คือการ ปองกันไมใหกิเลสเกิดขึ้น มันเกิดขึ้นมาแลว ก็ไมใหตวโต พอตัวมันไมโต ก็ไมครอบงำใหเรา ั ไปทำผิด เราไมใหอาหารมัน มันเกิดเองก็ดบ ั เองนะ แตถามันตัวโตเมือไร เราก็เรียบรอยทุกที  ่ ไปทำโนนทำนี่ ใหพลังงานกับมันเยอะเลย ขันแรกเราละกิเลสดวยสติ ดวยการสังวร ้ ดวยการปองกัน มีสติกละกิเลสไดระดับหนึง ทีนี้ ็ ่ ตามดูกาย ตามดูใจก็จะเกิดปญญา ปญญาจะ ถอดถอนกิเลสเกาๆ ความเขาใจผิดๆ ความ ๕๓
  • 54. สุ ภี ร ทุ ม ท อ ง หมายรผดๆ ทียงละไมได ความยึดมันเกาทีมี ูิ ่ั ่ ่ อยูก็ถูกถอนขึ้น สังวรก็ดวยสติ ถอดถอน ก็ดวยปญญา นีแหละ เราอาศัยกายอาศัยใจ  ้ ใหเกิดสติปญญา ละกิเลสได  สมควรแกเวลาแลว ก็ใหทานไปปฏิบติ  ั ตามอัธยาศัย ตามดูกาย ตามดูใจ อยาลืมกาย อยาลืมใจ ขออนุโมทนาทุกทานครับ ๕๔
  • 55. ประวัติ อาจารยสุภีรส ทุมป ญ ญ า  ติ ทอง วันเดือนปเกิด : วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๑๕ บานหนองฮะ ต.หนองฮะ อ.สำโรงทาบ จ.สุรินทร การศึกษา : เปรียญธรรม ๔ ประโยค ประกาศ นียบัตรบาลีใหญ วัดทามะโอ จ.ลำปาง - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยขอนแกน งานปจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๕๒) - ผูจัดการฝายจัดซื้อ บริษัทบางกอกพร็อพเพอรตี้ คอรปอเรชั่น จำกัด คณะกรรมการโครงการแปลพระไตรปฎกนิสสยะ และตรวจชำระคัมภีร - อาจารยสอนพิเศษปริญญาตรีชั้นปที่ ๓ และ ๔ วิชาพระอภิธรรมปฎก - มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาลีศึกษาพุทธโฆส จ.นครปฐม บรรยายธรรมะตามสถานที่ตางๆทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด - เผยแผ ธ รรมะทางเว็ บ ไซด www.ajsupee.com