SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 58
Descargar para leer sin conexión
สารบัญ
	                                                        หน้า
หลักธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๑	                   ๑
หลักธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๒	                   ๕
หลักธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๓	                   ๙
หลักธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๔	                   ๑๓
หลักธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๕	                   ๑๗
ภัยต่อพุทธศาสนา	
	  ba ตอน ๑ เข้าใจให้ถูกทาง	                             ๒๘
	 ba ตอน ๒ เหตุแห่งความเสื่อม	                           ๓๐
	 ba ตอน ๓ ความทะยานอยากเป็นที่ตั้ง	                     ๓๒
	 ba ตอน ๔ มนุษย์กับการรักษาศีล (๑)	                     ๓๕
	 ba ตอน ๕ มนุษย์กับการรักษาศีล (๒)	                     ๓๙
	 ba ตอน ๖ มนุษย์กับการรักษาศีล (๓)	                     ๔๒
	 ba ตอน ๗ มนุษย์กับการรักษาศีล (จบ)	                    ๔๕
แนวทางการปฏิบัติโดยวิธีเดินจงกรม	                        ๔๙
และนั่งสมาธิด้วยตนเอง	                                   	

            พิมพ์เผยแพร่เนื่องในงานทอดกฐินประจำ�ปี
         ณ สถานปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน จังหวัดกาญจนบุรี
                       พุทธศักราช ๒๕๕๓
คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
               หลักธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๑
    	 ก่อนที่หลวงตาจะกล่าวถึงเรื่องภัยต่อพุทธศาสนา หลวงตา
    จะน�ำเอาหลักในการปฏิบัติที่ง่ายที่สุดส�ำหรับความเป็นมนุษย์
    ด้วยการก�ำหนดกาย วาจา ใจหรือจิตของเราในการท�ำกิจต่างๆ
    โดยมี ศี ล ห้ า เป็ น เครื่ อ งควบคุ ม และมี ห ลั ก ธรรมเก้ า ประการ
    เป็นเครื่องตรวจสอบยกขึ้นมาเป็นอารัมภบท
    	 หลั ก ธรรมก็ คื อ หลั ก แห่ ง ธรรมชาติ นั่ น เอง การท� ำ ตั ว เรา
    ให้เข้าใจในธรรมชาติต่างๆ รอบตัวเรา การสร้างกรรมต่างๆ ที่จะ
    เกิดจากตัวเราไปสู่ธรรมชาติ โดยรู้จักธรรมชาติรอบตัวเราอย่าง
    ถองแทมาเปนแบบอยาง เรากจะสรางกรรมโดยมความผดไปจาก
     ่      ้ ็         ่       ็ ้                   ี    ิ
    ธรรมชาติน้อยที่สุด
    	 ตนไมหนงตน เรามองดวยการพจารณาตงแตไมนนเรมเจรญ
             ้ ้ ึ่ ้            ้     ิ       ั้ ่ ้ ั้ ิ่ ิ
    ขึนมา เราไม่รดอกว่าต้นไม้นนจะเป็นอย่างไรต่อไป เราได้แต่เฝ้ามอง
      ้            ู้         ั้
    ต้นไม้นั้นเติบใหญ่ วันเวลาผ่านไปจนเช้าวันหนึ่งเราสังเกตเห็น
    ความเปลี่ยนแปลงใหม่เกิดขึ้น กิ่งก้านที่เคยมีใบปกคลุม ใบเริ่ม
    ร่วงลงสู่ดินเป็นจ�ำนวนมาก แต่ยังคงมีเหลือใบที่อ่อนอยู่ แล้วมี
    ธรรมชาติใหม่แทรกขึ้นมาให้ความสวยงามและกลิ่นโชยหอม
    ในระหวางทตนไมนนกำลงผลดอก กมธรรมชาตอนเขามาเกยวของ
              ่ ี่ ้ ้ ั้ � ั ิ      ็ ี         ิ ื่ ้     ี่ ้
    จ�ำนวนมากหน้าหลายเผ่าพันธุ์ เราได้เห็นธรรมชาติที่มาใหม่
    เหลานนเกาะทดอกหนงแลวไปทอกดอกหนง แลวกไปทอกดอกหนง
        ่ ั้          ี่  ึ่ ้ ี่ ี         ึ่ ้ ็ ี่ ี          ึ่
๑   คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
เป็นอย่างนี้อยู่หลายวัน ในที่สุดเมื่อถึงกาลเวลาอันควร กลีบดอก
เหล่านั้นก็ร่วงหล่นหลุดออกจากต้นไม้นั้น แต่เราได้เห็นอีกสิ่งหนึ่ง
เกดขน ในการรวงหลนนนยงมทไมรวงหลนกมากมาย เกดเปนตม
    ิ ึ้         ่ ่ ั้ ั ี ี่ ่ ่ ่ ็                    ิ ็ ุ่
เล็กๆ ขึ้นมาภายใต้ช่อดอกนั้นๆ เราเฝ้ามองการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ
ต่อไปเรือยๆ ทีสดเราก็เห็นการเจริญเติบโตของธรรมชาตินนมากขึน
         ่      ุ่                                     ั้              ้
ทกวน มธรรมชาตอนมาเกยวของอก คบคลานมาบาง เดนมาบาง
   ุ ั ี             ิ ื่       ี่ ้ ี ื           ้ ิ               ้
บินมาบ้าง มีมากหน้าหลายตาเช่นกัน แต่ไม่เหมือนในครั้งแรก
เมื่อครั้งแรกนั้นธรรมชาติเล็กบ้างใหญ่บ้างมาแล้วก็ไป ไม่ได้ทิ้ง
ความเสียหายไว้ให้เราเห็น แต่ธรรมชาติใหม่ที่มานี้ทิ้งร่องรอย
ความเสียหายไว้ให้เราเห็น ลมมา ฝนมา ต้นไม้นั้นก็สะบัดพลิ้ว
ไปตามลมและฝน เมื่อฝนและลมหมดแล้ว เราจึงสังเกตเห็นถึง
ความเสียหาย ช่อผลทีอยูภายใต้การบดบังของหมูใบทีปกคลุมหนา
                            ่ ่                  ่ ่
ได้รับความเสียหายน้อย ช่อใหม่ที่เพิ่งจะเริ่มแตกออกมา บ้างก็
เสียหายมาก บ้างก็เสียหายน้อย แล้วเช้าวันรุงขึนเราก็เห็นใบอ่อน
                                             ่ ้
แตกออกมากมาย คอยๆ เจรญขนปกคลมกงกานชอผลทยงคงอยู่
                          ่       ิ ึ้   ุ ิ่ ้ ่          ี่ ั
เหล่านั้นไว้อย่างแนบเนียน แต่ก็ยังไม่รอดพ้นไปจากสายตาของ
ธรรมชาติใหม่ที่มา ธรรมชาติใหม่เหล่านั้นได้น�ำเอาผลที่สุกได้ที่
พอกับความต้องการของธรรมชาติใหม่ที่เคลื่อนมาในรูปแบบ
ต่างกันติดตัวเอาไปบ้าง ทิ้งให้ตกร่วงลงสู่ดินโดยรอบบ้าง เราเอง
ก็ได้ทดลองปลิดเอาผลเหล่านั้นมาทดลองรสบ้าง เราก็ได้รู้จักว่า
ลักษณะใดมีรสเช่นไร และลักษณะใดมีรสที่พอดีกับความรู้สึก
ของเรา เราได้ศึกษาธรรมชาติของต้นไม้นั้นแล้วอยู่หลายครั้ง
มันก็เป็นเช่นนี้ร�่ำไป ต้นเก่าล้มไป ต้นใหม่ก็เจริญขึ้นมาทดแทน
จำนวนมากขน ตางกแยงชงกน ทไดแดดอดมดกเ็ จรญไว ทสไมไหว
 �            ึ้ ่ ็ ่ ิ ั ี่ ้           ุ ี ิ              ี่ ู้ ่
                                                  สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน   ๒
ถูกบดบังก็ต่อสู้ดิ้นรนเอาตัวรอดด้วยการยื่นกิ่งก้านออกไปใน
    ทศทางใหมทจะสามารถหาแดดได้ ทสไมไหวกลมตายไป เปนเชนนี้
       ิ        ่ ี่                   ี่ ู้ ่ ็ ้           ็ ่
    เช่นนี้ เราได้เห็นและได้ศึกษาเรียนรู้ธรรมชาติของต้นไม้ต่างๆ
    รอบตวอยางแจมแจงแทงตลอด จนวนหนงเราไดออกไปสโลกกวาง
             ั ่ ่ ้                  ั ึ่          ้     ู่        ้
    ได้พบต้นไม้นานาชนิดมากมายเหลือคณานับ เฝ้าดูไปก็จะเห็น
    การเปลี่ยนแปลงของหมู่ไม้นั้นเปลี่ยนแปลงไปในรูปแบบเดียวกัน
    ชาบาง เรวบาง หรอนานจนไมอาจรอคอย เราอาจจะประมาณไดวา
     ้ ้ ็ ้ ื                 ่                                    ้่
    มนคงตองใชเวลานานเปนระยะประมาณเทาใด แลวคอยหวนคน
         ั    ้ ้           ็                  ่      ้ ่             ื
    กลับมาศึกษามันอีกในโอกาสหน้า เดินทางไปศึกษาไปได้พบเห็น
    สิ่งที่เหมือนและแตกต่างมากมาย ที่ว่าจะต้องหวนคืนไปก็ได้
    พบเห็นในระหว่างทาง จึงได้เข้าใจว่าธรรมชาติทั้งหลายเหล่านั้น
    เปนเชนเดยวกน ตางกนกแตเ่ วลาของความเจรญเตบใหญ่ ทสดก็
           ็ ่ ี ั ่ ั ็                           ิ ิ         ี่ ุ
    เข้าใจในธรรมชาติของต้นไม้ทั้งหลายว่ามันเป็นเช่นนี้เอง
    	 นี้คือที่มาของค�ำว่า “รู้ต้นไม้หนึ่งต้น ย่อมรู้ต้นไม้ทั้งป่า”
    ไม่ว่าจะเป็นกิ่งก้าน ใบ ดอก ผล เปลือก เนื้อที่มีทั้งอ่อนและแข็ง
    มีสะเก็ด กระพี้ มีแก่นบ้าง ไม่มีแก่นบ้าง และทั้งหมดก็เริ่มต้น
    มาจากต้นก�ำเนิดที่เป็นรากเหง้าเผ่าพันธุ์
    	 โดยหลักการทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน ค�ำพูดนี้อาจถูก
    คัดค้านว่ารู้แค่นี้ใช้การอะไรไม่ได้ดอก ยังมีเรื่องที่ต้องเรียนรู้
    อกมากมายเพอทจะเรงการขยายพนธ์ุ ปรบปรงพนธ์ุ เปลยนแปลง
      ี             ื่ ี่ ่            ั    ั ุ ั          ี่
    พันธุกรรม เพื่อความอยู่ดีมีสุขของมนุษย์โลก อาจจริงหรือไม่จริง
    เวลายอมเปนเครองพสจน์ แตอยาใหถงขนทำลายเผาพนธ์ุ เพราะวา
           ่ ็ ื่ ิ ู            ่ ่ ้ ึ ั้ �        ่ ั          ่
    นั่นจะท�ำให้สิ้นชาติพันธุ์ แล้วเราจะทราบได้อย่างไรว่ารากเหง้า
    เผ่าเดิมนั้นเป็นเช่นไร
๓   คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
การเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ที่เข้าไปแทรกแซงการด�ำรงอยู่
ของธรรมชาติแต่เดิมนั้นย่อมเป็นเรื่องไม่บังควร ควรที่จะเป็น
การศึกษาและช่วยเหลือธรรมชาติในส่วนทีขาดก็นาจะเพียงพอแล้ว
                                       ่       ่
อย่าแทรกแซงธรรมชาติดวยความทะยานอยากของกิเลส เพราะนัน
                       ้                                           ่
เทากบการทำลายลางเผาพนธดวยอวชชา เพราะ “รเพยงแคกำมอ”
  ่ ั       �      ้ ่ ั ์ุ ้ ิ                  ู้ ี      ่ � ื
ก็พอเพียงแล้วที่จะเอาตัวรอดพ้นจากทุกข์ภัยได้ ถ้าทุกรูปทุกนาม
เข้ า ใจตรงกั น ธรรมชาติย ่อมแบ่งปันที่พ อเพี ย งส� ำ หรั บทุ ก รู ป
ทุกนาม แต่เพราะความทะยานอยากด้วยกิเลส จึงอยากที่จะมี
มากกวา ใชอบายตางๆ ดวยโยนโสผดธรรม ทสดกเ็ ปนการทำลาย
        ่ ุ้        ่    ้    ิ ิ         ี่ ุ ็             �
ความสมดุลแห่งธรรมชาติ นี่ก็เพราะอวิชชา
	 อวิชชา นี้แหละเป็นหัวหน้าแห่งความพรั่งพร้อมด้วย
	 อกุศลธรรมทั้งหลาย						
	 ความไม่ละอายใจ ความไม่เกรงกลัวต่อบาปย่อมตามหลังมา
	 เพราะความแก่กล้าแห่ง อวิชชา ด้วย มิจฉาทิฏฐิ เป็นเพราะ
ยกตนวาเปนผรในศาสตรวทยาการในแขนงนนๆ ไมถองแทในธรรม
          ่ ็ ู้ ู้             ์ิ               ั้       ่่ ้
ไม่เข้าถึงในธรรมชาติแห่งศาสตร์ที่ศึกษา เปรียบประดุจหนึ่งดั่ง
เมลดขาวสารทไมนอนราบตามธรรมชาตทควรเปน กลบตงตวขน
      ็ ้           ี่ ่                    ิ ี่         ็ ั ั้ ั ึ้
ไม่พิจารณาด้วย วิชชา อันเป็น สัมมาทิฏฐิ คือความรอบรู้ใน
ธรรมชาตทศกษาอยาถองแท้ ประกอบพรอมไปดวยการวนจฉยดวย
            ิ ี่ ึ         ่ ่            ้          ้        ิ ิ ั ้
ปัสสัทธิ คือมีความสงบระงับ แล้วรวบรวมประมวลมาซึงองค์ความรู้ ่
ทไดศกษาผานมา นำมาวเิ คราะห์ วจย วนจฉยดวยความไมประมาท
  ี่ ้ ึ        ่        �          ิั ิ ิ ั ้                   ่
ในทุกๆ ด้าน ท�ำการพัฒนาให้เป็นองค์รู้ใหม่ที่สมบูรณ์ ไม่ท�ำร้าย
ทำลายความเปนของเดม แตสงเสรมเฉพาะสวนทขาด ไมมากเกน
    �                 ็        ิ ่่ ิ               ่ ี่           ่  ิ
                                                  สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน   ๔
จนสามารถท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่ประสงค์ของ
    ธรรมชาติแห่งศาสตร์วิทยานั้นๆ เพราะว่า
    	 วชชา อนประกอบดวยสมมาทฏฐิ นแหละเปนหวหนาแหง
       ิ    ั          ้ ั     ิ ี้      ็ ั ้ ่
    	 ความพรั่งพร้อมด้วยกุศลธรรมทั้งหลาย				
    	 ความละอายใจ ความเกรงกลัวต่อบาปย่อมตามหลังมา
    	 ความละอายและเกรงกลวตอบาปยอมเปนธงนำใหปญญานน
                                    ั ่       ่ ็ � ้ ั         ั้
    ตั้งอยู่ในความไม่ประมาท ด�ำเนินเสริมสร้างความคิดไปในทางที่
    ไม่ผดธรรม น้อมน�ำให้จตตรงเข้าสูวปสสนาญาณ คือปัญญาอันยิง
         ิ                  ิ           ่ิ ั                       ่
    และดิ่งตรงสู่องค์รู้อย่างแท้จริง จึงจะรู้แจ้งแทงตลอดในธรรมชาติ
    นั้นๆ เข้าสู่หนทางแห่ง มรรคแปด ก่อให้เกิดปัญญาไม่รู้จบ
    	 เพราะมรรคแปดเป็นธรรมของโลก มิใช่ธรรมของศาสดาใด
    ศาสดาหนงโดยเฉพาะ บคคลผเู้ ปน ปจเจก ยอมสามารถพาตนเอง
              ึ่          ุ      ็ ั       ่
    เข้าสูมรรคแปดได้โดยไม่ยาก หากตังมันอยูในองค์ศล มีสมมาทิฏฐิ
          ่                        ้ ่ ่         ี ั
    เป็นหัวหน้า พิจารณาธรรมทังหลายโดยมีหลักแห่งธรรมเก้าประการ
                             ้
    เป็นหางเสือ ย่อมสามารถน�ำเรือนาวาชีวิตนี้สู่ความส�ำเร็จได้
    สมปรารถนาในที่สุด

               หลักธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๒
    	 คราวทแลวหลวงตาไดกลาวถงธรรมชาตของความเปนจรงคอ
               ี่ ้            ้ ่ ึ          ิ          ็ ิ ื
    สัจจะ หรือ อริยสัจจ์ ที่ถูกน�ำมาเปรียบเทียบเพื่อเป็นหลักธรรม
    ค�ำสอน ทุกสรรพสิ่งย่อมด�ำเนินไปอย่างมีรูปแบบ จะแตกต่างกัน
    ก็แต่ทรายละเอียดของสรรพสิงทังหลาย สิงแวดล้อม และการด�ำรง
          ี่                     ่ ้       ่
๕   คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
คงอยูของเผ่าพันธุ์ ท�ำให้รปแบบเปลียนไปบ้าง แต่โดยหลักใหญ่แล้ว
     ่                    ู       ่
ยงคงรปแบบไวเ้ หมอนเดม จตและธรรม กเ็ ชนกน จะเปลยนแปลง
  ั ู               ื ิ ิ                 ่ ั        ี่
รายละเอียดไปบ้างก็ขึ้นกับสิ่งแวดล้อมและยุคสมัย แต่ก็ยังคง
รูปแบบเหมือนเดิมไม่เปลี่ยนแปลง
	 และไดกลาวถง วชชา อนมสมมาทฏฐิ คอความเปนผศกษา
              ้ ่ ึ ิ       ั ี ั      ิ ื         ็ ู้ ึ
เรียนรู้วิทยามาก ด้วยหลักแห่ง ปั ส สั ท ธิ คือมีการวิเคราะห์
วิจัย วินิจฉัย และพัฒนา ผลของการศึกษาเรียนรู้มากที่ผ่านมา
แล้วประมวลรวบรวมเป็นองค์รู้ เพื่อสอนตนเองเป็นอันดับแรก
ด้วยการตั้งมั่นอยู่ในองค์แห่งศีลห้า มีธรรมเก้าประการเป็นตัว
คดกรอง ประกอบพรอมดวยมความละอายและเกรงบาปเปนหางเสอ
  ั                 ้ ้ ี                           ็     ื
	 ส่วน อวิชชา นั้นก็เป็นตรงกันข้าม คือเป็นผู้ไม่ใฝ่เรียน
ไม่ใฝ่ศึกษาวิทยาการต่างๆ ตัดสินเรื่องราวที่เห็นด้วยกิเลสฝ่ายต�่ำ
เอาความไม่รของตนเป็นทีตง กล่าวโทษผูอนโดยไม่เห็นความผิดตน
            ู้         ่ ั้           ้ ื่
ด้วยความไม่ถ่องแท้ ประกอบพร้อมไปด้วยความไม่ละอายและ
ไม่เกรงบาปเป็นที่ตั้ง
	 บัณฑิต คือผู้ประกอบตนด้วยมรรคแปด มีความรอบรู้ใน
ศาสตร์วทยาทังหลายอย่างถ่องแท้ (Perfect Knowing) ถ้าเรามองที่
           ิ      ้
คุณธรรม อันมนุษย์และเทวดาทั้งหลายต่างก็เรียกร้องรอคอย
มานานก่อนพระพุทธเจ้าจะตรัสรูธรรมอันยิง จวบจนเข้าสูพรรษาที่
                                      ้        ่           ่
สิบสาม เทวดาผู้ปราดเปรื่องตนหนึ่งจึงได้น�ำความเข้าทูลถามต่อ
พระอินทร์ผู้ทรงธรรมพิทักษ์เหล่าเทวดาและมนุษย์ เมื่อล่วงรู้ว่า
เรื่องนี้เกิดขึ้นที่โลกมนุษย์ ที่ซึ่งมีพระพุทธเจ้าทรงเป็นใหญ่ จึงให้
                                                สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน   ๖
เทวดาตนนันไปทูลถามแก่พระพุทธองค์ เมือพระพุทธองค์ทรงรับฟัง
              ้                          ่
    ความนั้นแล้ว จึงได้ตรัสตอบไปว่า “อเสวนาจะพาลานัง.........”
    และมีความตอนหนึ่งว่า “พหุสัจจัญจะ สิบปัญจะ วินะโย จะ
    สสกขโต สภาษตา จะ ยาวาจา เอดมมงคะละมตตะมง” ตรงนี้
      ุ ิ ิ ุ ิ                      ั ั       ุ     ั
    เป็นส่วนที่น�ำไปขยายบอกเราว่าที่พระพุทธองค์ทรงกล่าวถึง
    มรรคแปดแต่ต้นนั้น มาจากการศึกษาวินิจฉัยอย่างไรเมื่อครั้งที่
    พระพุทธองค์ทรงตรัสรู้ธรรมอันยิ่ง
    	 อริยสัจสี่ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค (ว่าโดยเต็มคือ ทุกข์
    ทกขสมทย ทกขนโรธ และทกขนโรธคามนปฏปทา) การทจะเขาใจ
      ุ     ุ ั ุ ิ               ุ ิ       ิ ี ิ            ี่ ้
    ในอริสัจสี่ได้นั้น ต้องมีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงธรรมชาติ
    ของทุกข์ ธรรมทังหลายเป็นทุกข์ ทีเ่ ป็นทุกข์เพราะมีการเกิด การแก่
                         ้
    คือใช้เวลายาวนานกว่าจะถึงที่หมาย การเจ็บเพราะการใช้เวลา
    ยาวนาน ทำใหตองผจญกบภยตางๆ แลวกตองลมตายลง จะดวย
                 � ้ ้           ั ั ่       ้ ็ ้ ้                 ้
    หมดอายหรอยงไมหมด เหตเุ พราะเจอะเจอกบวบากกรรมเสยกอน
               ุ ื ั ่                             ั ิ          ี ่
    ย่ อ มเป็ น เช่ น นี้เหมือนกันหมด ไม่ว่าจะเป็ น คน สั ต ว์ สิ่ งของ
    หรอธรรมชาตใดๆ ตนไม้ ภเู ขา แมนำ ลำธาร สงกอสราง หรอแมกระทง
        ื            ิ ้             ่ �้ �     ิ่ ่ ้ ื ้ ั่
    โลกและจักรวาล
    	 ทกข์ จงมไดอยโดดเดยว แตวามองคประกอบ องคประกอบ
             ุ ึ ิ ้ ู่       ี่      ่่ ี ์               ์
    ของทุกข์จะมีสณฐานเป็นอย่างไรนัน ไม่เทียง ภูเขาจะถล่มทลายได้นน
                  ั                 ้     ่                     ั้
    มิได้ขนกับการถูกน�ำเซาะส่วนทียงอ่อนท�ำให้มการไหลเลือน แต่เมือ
          ึ้          ้          ่ั             ี        ่         ่
    น�ำหนักมาก ฐานรับน�ำหนักไม่ไหว ก็ตองถล่มทลายลง สัตว์และมนุษย์
      ้                 ้              ้
    ก็มีส่วนเข้าไปท�ำลายภูเขาได้เช่นกัน ภัยธรรมชาติรูปแบบต่างๆ

๗   คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
กทำใหภเู ขาทวาเปนหนผาแขงแรง กละลายกลายเปนลาวา ผานไป
 ็ � ้       ี่ ่ ็ ิ           ็     ็             ็         ่
ที่ไหนก็ท�ำลายที่นั่น นี่จึงเรียกว่าธรรมชาตินั้นมีความไม่เที่ยงเป็น
ธรรมดา
	 สัณฐานของทุกข์ ที่มีรูปแบบต่างๆ ย่อมประกอบให้เกิด
อารมณ์ได้มากมาย อารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ย่อมปรุงแต่งจิต
เปนธรรมดา จตเมอถกปรงแตงดวยอารมณ์ ยอมมความแกวงไหว
   ็           ิ ื่ ู ุ ่ ้               ่ ี           ่
ไปตามอารมณ์นนๆ อารมณ์ทแกว่งไหวนีแหละทีเราจะต้องน�ำมา
                  ั้           ี่      ้      ่
วินิจฉัยว่าเป็นเพราะเหตุใด มีสัญญา หรือวิบาก หรือกรรมอันใด
เข้ามาประกอบ จึง ท�ำให้อารมณ์นั้นไม่เที่ยง เปลี่ยนรูปไปตาม
สภาวะธรรมทั้งหลายที่มีอยู่แล้วและที่สร้างขึ้นมาใหม่ ทั้งหมด
เกิดขึ้นในจิตของตัวเจ้าของเอง ถ้าเจ้าของไม่ศึกษา ไม่วิเคราะห์
วิจัย ย่อมไม่เข้าใจในจิตตน ฉะนั้นการศึกษาจึงเอาเพียงแค่ก�ำมือ
ก็พอแล้ว คือรู้และเป็นผู้เข้าใจและฉลาดในจิตตนเองก็พอแล้ว
	 สมมาทฏฐิ จึงมิได้หมายเพียงแค่อริยสัจสี่ แต่เป็นการหมายเอา
       ั     ิ
การศึกษาในอริยสัจสี่นี้เป็นเหตุ ผู้ที่จะศึกษาได้ทั้งทางกว้างและ
ทางลึก ย่อมต้องเป็นผูมความรอบรูทเี่ รียกว่าพหูสต ฉะนัน พหุสจจะ
                     ้ ี         ้             ู      ้     ั
คือความเป็นผู้ศึกษาเรียนรู้มาก จึงเป็นมงคล
	 เพราะเหตุแห่งการศึกษามาก เรียนรูมาก จึงเป็นผูมวทยามาก
                                     ้             ้ ีิ
การมีวิทยามากย่อมท�ำให้เห็นช่องทางมาก ท�ำให้วินิจฉัยได้อย่าง
กว้างขวาง และสามารถตีกรอบล้อมวงเข้าสู่การประมวลธรรมได้
โดยไมยาก จงจะเรยกไดวาเปนผมศลปวทยาในการนำเอาความรู้
        ่  ึ    ี ้ ่ ็ ู้ ี ิ ิ                 �
ทมอยมาใชใหเ้ กดประโยชนไดมากทสด นคอความหมายของคำวา
 ี่ ี ู่ ้ ิ            ์ ้     ี่ ุ ี้ ื               � ่
                                               สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน   ๘
สิบปัญ เพราะ สิบปัญ คือผู้ที่สามารถรวบรวมความรู้ที่ตนมีอยู่
    ในหลายสาขามากแขนงวชามาเปนองคประกอบในการคด วนจฉย
                        ิ         ็ ์               ิ ิ ิ ั
    แกไขปญหาตางๆ ดวยมมมองทกวางไกล ทำใหไดหลกการทถกตอง
       ้ ั      ่ ้ ุ          ี่ ้      � ้ ้ ั        ี่ ู ้
    จึงเป็นมงคล
    	 มาถึงตรงนี้เราคงจะได้เห็นแล้วว่ามรรคแปดนั้นส�ำคัญยิ่ง
    ในการที่จะเป็นผู้ส�ำเร็จในการกิจที่ปรารถนา เพราะมรรคแปด
    ประกอบไปด้วยองค์ความรู้ ปัญญาอันยิ่ง พระพุทธองค์จึงได้ทรง
    ตรัสไว้ว่า “สัมมาทิฏฐิเป็นเหตุต้นของมรรคแปด ถ้าขาดเสียซึ่ง
    สัมมาทิฏฐิแล้ว ธรรมอันประเสริฐทั้งหลายที่จะตามมาย่อมไม่มี “

               หลักธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๓
    	 เมื่อตอนที่แล้วหลวงตาได้กล่าวถึง มรรคแปด ในหัวข้อ
    มรรคองคทหนงคอ สมมาทฏฐิ โดยหลวงตาไดใหทศนะของหลวงตา
              ์ ี่ ึ่ ื ั       ิ                ้ ้ ั
    ไว้ว่า สัมมาทิฏฐิหมายถึงความรอบรู้ในสรรพศาสตร์ เพื่อที่จะ
    ได้ท�ำให้เราคิดเป็น ไม่ใช่ว่าคนเราคิดไม่เป็น แต่เพราะความรอบรู้
    ในสรรพศาสตร์ที่เรียกว่า พหูสูต นั้น ท�ำให้ผู้รู้มีมุมมองกว้างไกล
    และสามารถรวบรวมความรจากศาสตรแขนงตางๆ มาประกอบใน
                                  ู้       ์        ่
    การคดวนจฉย เพอใหเ้ กดเปน สมมาสงกปปะ (Perfect Thought)
          ิ ิ ิ ั ื่        ิ ็ ั         ั ั
    ความดำรชอบ ดำรชอบในอะไร ทานวาดำรชอบในการออกจากทกข์
            � ิ       � ิ            ่ ่ � ิ                      ุ
    	 ก็ถ้าใครๆ ในที่ไหนๆ ไม่มีความรู้ในเรื่องทุกข์อย่างถ่องแท้
    แล้วจะมีความคิดที่แยบยลแยบคายในการเอาตัวออกจากทุกข์
    ได้หรือ ที่ว่า มรรคแปด นี้เป็นธรรมของโลก ก็เพราะว่าใครๆ ในที่
๙   คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
ไหนๆ ในโลกนี้ต่างก็ต้องศึกษาเรียนรู้ที่จะหลีกหนีความทุกข์
ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น ไม่มีใครๆ ในที่ไหนๆ จะยอมตนอยู่ใน
ความทกข์ นอกจากผทไมสามารถทำความเขาใจในทกขทเี่ จาของ
        ุ                 ู้ ี่ ่       �     ้      ุ ์ ้
กำลงเผชญอยู่ ถาลองไดศกษาทำความเขาใจในสณฐานของทกข์
  � ั ิ            ้            ้ ึ �      ้      ั           ุ
คือองค์ประกอบทั้งหลายของทุกข์ที่เกิดขึ้นมา และสังขารก็คือ
การปรุงแต่งอารมณ์ขององค์ประกอบทั้งหลายเหล่านั้นของทุกข์
เขาย่อมสามารถน�ำตัวเจ้าของออกจากทุกข์ได้ ก็ด้วยเหตุเพราะ
สัมมาทิฏฐิ นีเ่ อง ฉะนันถ้าขาดเสียซึงองค์มรรคทีหนึงคือ สัมมาทิฏฐิ
                        ้             ่         ่ ่
เป็นประธานแล้ว องค์มรรคทั้งหลายต่อๆ มาย่อมเกิดขึ้นไม่ได้
นี่จึงจะเรียกว่าตั้งไว้ได้ถูกต้องแล้วด้วยพระปัญญาอันยิ่ง
	 และเมอมองยอนกลบไปที่ มงคลสามสบแปด ถาไมแยกตว
              ื่          ้      ั             ิ       ้ ่         ั
ออกจากคนพาล ไม่คบหาบัณฑิต (คือผู้รู้ ผู้ตั้งอยู่ในศีลธรรม
อนดงาม) ไมรจกนำเอาผทเี่ ปนแบบอยางอนดงามมาเปนตนแบบ
 ั ี             ่ ู้ ั �   ู้ ็           ่ ั ี        ็ ้
แล้วล่ะก็ ไม่ว่าใครๆ ในที่ไหนๆ ย่อมไม่สามารถตั้งตนไว้ในที่
อนชอบได้เมอไมสามารถตงตนไวในทอนชอบได้กไมสามารถรกษาศล
  ั         ื่ ่              ั้   ้ ี่ ั        ็ ่        ั    ี
อันดีงามเพียงแค่ห้าข้อได้ เมื่อรักษาศีลไม่ได้ จะเป็นผู้ใฝ่เรียนใฝ่รู้
ไดอยางไร ยอมตองเปนคนพาล คดแบบคนพาล กลาวแบบคนพาล
    ้ ่    ่ ้ ็                    ิ                ่
กระท�ำแบบคนพาล แสวงหาอาชีพแบบคนพาล อยู่อย่างคนพาล
ขวนขวายมากแบบคนพาล แล้วก็มงมันกระท�ำการต่างๆ อย่างคนพาล
                                      ุ่ ่
	 ฉะนั้นเริ่มต้นแห่งชีวิตเมื่อเยาว์วัย จึงต้องศึกษาให้เข้าใจใน
มงคลสามสบแปด เหตเุ พราะ มงคลสามสบแปด นประกอบพรอม
            ิ                            ิ        ี้        ้
ไปดวยธรรมอนงามทจะนำตวเจาของใหพนจากทกขภย สามารถ
     ้         ั      ี่ � ั ้         ้ ้       ุ ์ ั
ตั้งตนไว้ในที่ชอบได้ เพียงแค่ไม่คบคนพาล คบหาบัณฑิต ยกย่อง
                                                สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน   ๑๐
เทดทน นำเอาบคคลทมศลสมปทามาเปนแบบอยาง เขาเหลานน
         ิ ู �         ุ     ี่ ี ี ั           ็              ่        ่ ั้
     ย่อมตั้งตนไว้ในที่ชอบได้ ย่อมเป็นผู้มีศีลสัมปทา ย่อมใฝ่เรียนใฝ่รู้
     ที่จะน�ำตนออกจากทุกข์ ย่อมเป็นพหูสูต ด�ำรงตนไว้ในสัมมาทิฏฐิ
     ยอมเปนผมสมมาสงกปปะ คอเปนผมความคดอนงามแยบยลและ
      ่ ็ ู้ ี ั         ั ั         ื ็ ู้ ี         ิ ั
     แยบคาย ไมเ่ ปนผหลงงมงาย เหตเุ พราะเปนผรู้ ผตนจากความเขลา
                    ็ ู้                          ็ ู้ ู้ ื่
     เป็นผู้เบิกบานด้วยปัญญาอันปราศจากมลทิน ย่อมกล่าววาจา
     อันบัณฑิตยกย่อง ย่อมก่อกรรมต่างๆ ที่ไม่ประกอบด้วยอบาย
     ย่อมหาเลี้ยงชีพอย่างผู้ทรงคุณธรรมอันงาม ย่อมมีความเป็นอยู่
     อย่างพอเพียง ย่อมเป็นผู้ขวนขวายมากในการที่จะเกื้อกูลมาก
     ต่อตนเอง ต่อหมู่ญาติ ต่อผู้อื่น และต่อหมู่สัตว์ทั้งในที่สูงและที่ต�่ำ 
     และที่สุดย่อมมีความมุ่งมั่นในการกิจต่างๆ เยี่ยงบัณฑิตทั้งหลาย
     พึงกระท�ำ  ทั้งหลายเหล่านี้ย่อมน�ำให้ตัวเจ้าของเป็นผู้ประกอบ
     พรอมดวย สัมมาปัญญา อนจะนำสวงมรรคแปดทสงยงๆ ขนไปใน
          ้ ้                      ั    � ู่                 ี่ ู ิ่ ึ้
     ชวตตน นบไมรจบจนกวาจะพบทางแหงพระนพพาน คอความพนไป
      ีิ        ั ่ ู้         ่              ่     ิ            ื       ้
     จากโลกธรรมแปด ไม่กระทบแล้วจากอุปกิเลสที่จรมา เพราะเป็น
     ธรรมดาของจิต
     	 “จิตนี้ผ่องใส ก็แต่ว่าจิตนั้นแล ย่อมเศร้าหมองได้เพราะ
     	 อุปกิเลสที่จรมา”							
     	 “จิตนีผองใส ก็แต่วาจิตนันแล ย่อมหลุดพ้นได้จากอุปกิเลส
             ้ ่         ่      ้
     	 ที่จรมา”
     	 เมื่อนั้นจิตย่อมไม่มีความเศร้าหมอง ปราศจากธุลีคือราคะ
     มีความเบิกบานสุขเกษม พ้นจากความยึดมั่นทั้งปวง

๑๑   คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
จากนี้ไปหลวงตาจะได้น�ำท่านทั้งหลายเข้าสู่เส้นทางแห่ง
มรรคแปดอยางรวบรด ตดความยนยอเอาแตเ่ พยงพอเขาใจ เชอวา
                 ่           ั ั       ่ ่           ี           ้      ื่ ่
ท่านทั้งหลายย่อมเป็นผู้รู้คงแก่ปัญญา สามารถท�ำความเข้าใจได้
โดยไม่ยาก เป็นธรรมดาของชาวเหมืองผูปรารถนาจะได้ไม้ไปท�ำฟืน
                                             ้
ยอมตองคดหาไมดทไมเ่ ปราะผุ ผเู้ ปนครผสอนศษยกเ็ ชนกน ยอมตอง
 ่ ้ ั               ้ ี ี่             ็ ู ู้      ิ ์ ่ ั ่ ้
คัดหาศิษย์ที่ดีมีคุณค่าแก่การถ่ายทอดสอนสั่ง คนไร้คุณภาพ
ก็เปรียบดั่งไม้ผุที่รังแต่จะท�ำให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งรอบข้าง
ได้ ง ่ า ย เหตุ เ พราะควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ไ ด้ ย าก ไม้ ดี ย ่ อ มมี พ ลั ง ที่
สม�่ำเสมอควบคุมได้ง่าย ไม้ผุนั้นลุกเร็วและมอดเร็ว จะให้เป็นเชื้อ
กทำไดยาก คนทเี่ ปรยบดงไมผอยทใดกรงแตจะสรางความฉบหาย
  ็ � ้                     ี ั่ ้ ุ ู่ ี่ ็ ั ่ ้                    ิ
ให้แก่ที่นั้นๆ คนดีเปรียบดั่งเพชรงามน�้ำดี ย่อมมีราคาควรค่าแก่
การรักษา ทั้ ง ที่ เ พชรและถ่ า นต่ า งก็ ม าจากไม้ เ หมื อ นกั น
ไม้ที่ถูกเผาจนกลายเป็นถ่าน ไม้ที่ผุก็กลายเป็นเถ้า ไม้ดี
ก็เป็นถ่าน ผ่านกาลเวลาที่ยาวนาน รับแรงกดดันต่างๆ
จากสภาพแวดล้อมมากมาย จึงได้กลายเป็นเพชร
	 ผู้ศึกษาก็เช่นกัน โดนเผาเพียงนิดก็หมดสภาพ เปรียบได้แค่
ไมผทผานแรงกดดนไดเ้ พยงเลกนอย เปรยบไดแคถานทรบแรงกดดน
   ้ ุ ี่ ่      ั   ี ็ ้        ี ้ ่ ่ ี่ ั        ั
เพียงแค่เตาเผา เป็นคนต้องไม่ท้อ ถ้าเกิดท้อก็จงอย่าถอย
ถ้าท้อแล้วถอยก็เปรียบได้เพียงแค่ถ่าน ถ้าผ่านด่านต่างๆ
ก็เปรียบได้ดั่งเพชร




                                                        สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน   ๑๒
หลักธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๔
     	 เมื่อตอนที่แล้วหลวงตาได้น�ำเอาคุณธรรมข้อมรรคแปด
     มาแสดงพอเปนสงเขป มใจความสรปไดวามรรคแปดเปนคณธรรม
                     ็ ั      ี       ุ ้่        ็ ุ
     ของโลกทนำใครๆ ในทไหนๆ ทวทงโลกนใหพนจากทกขได้ คราวนี้
              ี่ �         ี่   ั่ ั้    ี้ ้ ้ ุ ์
     หลวงตาจะไดมากลาวถงเรองของคณธรรมสามประการทเี่ รยกวา
                   ้     ่ ึ ื่        ุ              ี ่
     โอวาทะปาฏิโมกข์ หรือ ปฐมเทศนา ซึ่งเป็นหัวใจของค�ำสอน
     ทั้งปวงขององค์พระพุทธศาสดา

     	 สพพะปาปสสะ อะกะระณง : บาปหรืออกุศลทังหลาย ไม่ใช่กจ
          ั        ั          ั                ้             ิ
     	 ที่ควรท�ำอีกแล้ว	 	      	     	     	       	      	
     	 กุสะลัสสูปะสัมปะทา : จงสร้างกุศลให้สมบูรณ์พูนพร้อม		
     	 สะจตตะปะรโยทะปะนง : ชำระจตใหผองแผว ผองใส ไรธลี
            ิ        ิ     ั � ิ ้่ ้ ่                 ุ้

     	 จากคุณธรรมอันงามยิ่งที่องค์พุทธศาสดาได้ตรัสรู้ธรรม
     ทั้งปวงแจ้งโลกแล้ว พระพุทธองค์จึงได้รวบรวมความรู้ทั้งปวง
     ทตรสรแลว แจงแลว วนจฉยและรวบรวมประมวลความรเู้ หลานน
       ี่ ั ู้ ้ ้ ้ ิ ิ ั                                  ่ ั้
     เรยบเรยงเปนเรองราวความรู้ เรยงลำดบเนอความตรงทศทางและ
         ี ี ็ ื่                ี � ั ื้             ิ
     หลักไวยากรณ์ เพื่ออบรมสั่งสอนตนเองเป็นอันดับแรก ทรงเปล่ง
     พระอุทานถึงหัวใจแก่นของความรู้เหล่านั้นถึงสามครั้ง จึงเสวย
     บรมสขอยภายใตวชชาเหลานนรวมเจดสปดาห์ เมอสนสสบเกาวน
            ุ ู่    ้ิ     ่ ั้      ็ ั        ื่ ิ้ ี่ ิ ้ ั
     หลังจากตกลงพระทัยว่าตามค�ำทูลร้องขอของเหล่าเทวดา อินทร์
     พรหม พระพุทธองค์จึงได้เพ่งพระญาณไปยังหมู่สัตว์ ทรงแยก
     สัตว์ทั้งหลายออกไปตามกรรม โดยเปรียบกับบัวสี่เหล่า เพ่งค้น
๑๓   คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
ผู้มีบุญญาธิการที่ยังมีชีวิตอยู่ จึงได้เร่งด�ำเนินไปสู่ที่พ�ำนักของ
ปัญจวัคคีย์ ทรงแสดงปฐมเทศนา ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
ใกล้เมืองพาราณสี
	 ธรรมดาของนักบวช การละเว้นไม่ท�ำสิ่งชั่วทั้งหลายที่เป็น
บาปอกุศลเป็นกิจที่ต้องบ�ำเพ็ญเพียรอยู่แล้ว การเจริญภาวนา
ขัดเกลาอบรมบ่มนิสัยอันเป็นธรรมดาของปุถุชน ก็เป็นกิจที่ต้อง
บ�ำเพ็ญเพียรอยู่ทุกลมหายใจอยู่แล้ว ทั้งสองเรื่องที่พระพุทธองค์
ทรงแสดง ปญจวคคยคอนกบวชทงหานนเขาใจและบำเพญเพยร
            ั ั ี์ ื ั         ั้ ้ ั้ ้            � ็ ี
อยแลว แตทวา สะจตตะปะรโยทะปะนง นสเิ ปนเชนไร ปญจวคคย์
    ู่ ้ ่ ี่ ่    ิ      ิ          ั ี้ ็ ่         ั ั ี
ทลถาม พระพทธองคจงอธบายความวาปกตของปถชนคนชาวบาน
  ู             ุ    ์ึ ิ          ่     ิ ุุ              ้
ย่อมหมกมุ่นอยู่ในกามคุณห้า นี้ไม่ใช่ทางเดินของอริยบุคคล
การทรมานตนอย่างที่ผ่านมาของพระองค์และนักบวชทั้งหลาย
ก็ไม่ใช่ทางเดินของอริยบุคคล
	 หนทางที่ถูกต้องคือ ทางสายกลาง ทางสายกลางที่ว่านี้
คือหนทางที่จะน�ำปุถุชนคนธรรมดาที่ปรารถนาจะหลุดพ้นจาก
พนธนาการทงปวงของโลกยวสย ออกบวชเพอแสวงหาโมกขธรรม
  ั        ั้            ี์ิ ั       ื่           ์
ควรปฏบติ ทางสายกลางคออะไรเลา ทางสายกลางทวานประกอบ
      ิ ั              ื       ่          ี่ ่ ี้
ไปด้วยคุณธรรมแปดประการ
	 คุณธรรมแปดประการนี้เป็นหนทาง เป็นประตูชัยมุ่งไปสู่
ความส�ำเร็จ นอกจากการละเว้นไม่ท�ำบาปอกุศล หลีกหนีหนทาง
เศราหมองอนเกดแตกามคณ บำเพญบญอยางยงยวด โดยไมทรมาน
   ้       ั ิ ่     ุ � ็ ุ ่ ิ่                   ่
ตนเอง ย่อมท�ำให้จิตใจผ่องใส มีก�ำลังกาย ก�ำลังจิต เพื่อที่จะ
                                               สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน   ๑๔
ได้ศึกษาธรรมทั้งหลายอย่างถ่องแท้ ธรรมใดที่เกิดขึ้นในตน ไม่ว่า
     จะทางกาย ทางวาจา ทางจต ตองไมเ่ หนเปนเรองไรสาระ ตองนำมา
                                    ิ ้     ็ ็ ื่ ้                ้ �
     พิจารณาว่ามันเกิดขึ้นมาได้อย่างไร มีอะไรเป็นเครื่องปรุงแต่ง
     อารมณ์ในขณะนั้นเป็นเช่นไร หวั่นไหวมากน้อยเพียงใด หวั่นไหว
     ก็ต้องรู้ สงบนิ่งก็ต้องรู้ รู้ในทุกขณะจิตของธรรมทั้งมวลที่เกิดขึ้น
     ศกษาอยางนใหเ้ ขาใจ เขาถง จงจะคนพบตนเหตแหงธรรมเหลานน
         ึ        ่ ี้ ้         ้ ึ ึ ้         ้ ุ ่                  ่ ั้
     พึงท�ำความรู้ความเข้าใจในธรรมทั้งหลายเหล่านั้นว่านี้คือทุกข์
     เมอไดศกษาธรรมทงหลายทเี่ รยกวาทกขแลว เขาถงแลว เขาใจแลว
           ื่ ้ ึ          ั้          ี ่ ุ ์ ้ ้ ึ ้ ้                     ้
     ย่ อ มเห็ น เหตุ คือสมุฏ ฐานของทุก ข์เหล่า นั้ น เมื่ อ เห็ น เหตุ แ ล้ ว
     ยอมศกษาเรยนรเู้ หตเุ หลานน วนจฉย วจย และพฒนาหาหนทางทจะ
      ่ ึ            ี          ่ ั้ ิ ิ ั ิ ั       ั                    ี่
     ดบเหตเุ หลานน เมอศกษาแลว มองคความรทงมวลทไดศกษาผานมา
       ั           ่ ั้ ื่ ึ         ้ ี ์     ู้ ั้    ี่ ้ ึ        ่
     ประกอบเป็นธรรมอันงามที่จะน�ำมาเป็นหนทางในการดับทุกข์
     เหล่านั้นให้สิ้นไป
     	 ที่กล่าวมาทั้งหมดนั้นก็จะเห็นถึงองค์อริยสัจจะคือ ทุกข์
     ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ และ ทุกขนิโรธคามินี ปฏิปทา หรือโดยย่อ
     ทเี่ ขาใจกนทวไปวา ทกข์ สมทย นโรธ มรรค นนเอง ทงนการจะไดมา
           ้ ั ั่ ่ ุ                  ุ ั ิ        ั่         ั้ ี้        ้
     ซึ่งองค์รู้นี้ก็ต้องอาศัยความรู้รอบในสรรพสิ่งทั้งหลายที่ประกอบ
     โดยรอบตวเจาของทงภายนอกและภายในอยางถองแท้ จงจะเปน
                  ั ้         ั้                         ่ ่            ึ      ็
     องคมรรคทหนงคอ สมมาทฏฐิ เมอมองคมรรคทหนงแลว ดงไดกลาว
            ์       ี่ ึ่ ื ั         ิ ื่ ี ์            ี่ ึ่ ้ ั่ ้ ่
     ไว้แต่ต้นเมื่อตอนก่อนๆ เพราะอาศัยธรรมต่างๆ ซึ่งกันและกันเป็น
     ปัจยาการ คือ ปฏิจสมุปบาทธรรม นั่นเอง จึงเกิดองค์มรรคที่สอง
     เพราะธรรมทงหลายทประกอบมานน อยในขอบเขตแหงศลอนดงาม
                       ั้        ี่           ั้ ู่                 ่ ี ั ี
     เปนทตง จงเกดเปนองคมรรคทสาม และองคมรรคตอๆ ไปดงทได้
          ็ ี่ ั้ ึ ิ ็             ์      ี่          ์          ่       ั ี่
     กล่าวมาแล้ว
๑๕   คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
ฉะนั้นเมื่อเห็นทางสายกลางคือ มรรคแปด แล้ว เราก็พอจะ
เขาใจในคณธรรมขอทสามทวา สะจตตะปรโยทะปะนง การทำจต
  ้       ุ       ้ ี่   ี่ ่  ิ    ิ       ั      � ิ
ให้ผ่องแผ้วปราศจากธุลีแล้วล่ะนะ แล้ว มรรคแปด นี้ยังมิใช่
เปนเพยงแคหนทางในการดบทกขของนกบวชเทานน แมในปถชน
    ็ ี ่               ั ุ ์ ั         ่ ั้ ้ ุ ุ
คนธรรมดาที่เข้าใจในมรรคแปด ก็สามารถน�ำเอามรรคแปดนี้
มาประยกตใชกบชวตเพอใหนำสความสำเรจในกจทปรารถนาได้
         ุ ์ ้ ั ี ิ ื่ ้ � ู่    � ็ ิ ี่
อย่างวิเศษยิ่ง
	 ในองค์ ม รรคแปดนี้ ก อปรไปด้ ว ยคุ ณ ธรรมค� ำ สอนของ
องค์พระพุทธศาสดาอีกมากมาย ดังจะเห็นได้ว่าพระพุทธศาสดา
หลังจากแสดงปฐมเทศนาแล้ว ได้ทรงสั่งสอนเวไนยสัตว์ทั้งหลาย
ในที่มากมายหลายสถาน ต่างกาล ต่างสมัย ซึ่งสมัยที่พระพุทธ
ศาสดาแสดงปฐมเทศนานี้ ในพระสูตรแสดงไว้วา “สมยหนง พระผมี
                                       ่ ั ึ่         ู้
พระภาคเจา เสดจอยู่ ณ ปาอสปตนมฤคทายวน ใกลกรงพาราณส.ี ..”
          ้ ็           ่ ิิ         ั    ้ ุ
พระสูตรนี้คือ ธัมมจักกัปปวัตตนสุตต
	 ในครั้งนี้หลวงตาขอจบคุณธรรมสามประการ อันเกิดแต่
ปฐมเทศนา คือ ธัมมจักกัปปวัตตนสุคต ในตอนต่อไปหลวงตา
จะน�ำค�ำสอนของพระพุทธศาสดามาแสดงในทัศนะของหลวงตา
ก็คงต้องกล่าวในที่นี้อีกครั้งว่านี่เป็นทัศนะของหลวงตาที่รวบรวม
คำสอนขององคพระพทธศาสดามาสอนตวเอง ไมไดอยในสอใดๆ
    �            ์     ุ                     ั     ่ ้ ู่ ื่
เป็นการศึกษาแล้วรวบรวมประมวลมา แล้ววินิจฉัย วิจัยไปตาม
ความรู้ที่มีเพียงน้อยนิด เอาไว้สอนตนเอง สอนตัวเจ้าของให้
ตงอยในความไมประมาท มไดมเจตนานำมาสอน แตมาเลาใหได้
  ั้ ู่            ่         ิ ้ ี         �          ่ ่ ้
นำไปเปนขอคดอกสวนหนง ไมไดมงหมายใหเ้ ชอ เพยงเปนสวนเลกๆ
      � ็ ้ ิ ี ่        ึ่ ่ ้ ุ่             ื่ ี ็ ่ ็
                                           สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน   ๑๖
ของธุลีที่รองอยู่ใต้พระบาทขององค์พระพุทธศาสดา หนานับชั้น
     ไม่ถวน ขอเพียงมีส่วนได้น�ำเอาค�ำสอนขององค์พระพุทธศาสดา
          ้
     มาศึกษาวินิจฉัย แล้วน�ำให้ตัวเจ้าของเป็นสุขได้โดยไม่ยากนัก
     ก็เพียงพอแล้ว ขอบุญจงรักษาท่านทังหลายผูบำเพ็ญบุญ เพือบูชา
                                      ้      ้ �          ่
     พระคุณแห่งพระพุทธศาสดา

                หลักธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๕
     	 เมื่อตอนที่แล้วหลวงตาได้น�ำเอามรรคแปดที่ประกอบอยู่ใน
     คณธรรมสาม อนเกดแตปฐมเทศนามาขยายความในอกรปแบบหนง
      ุ              ั ิ ่                        ี ู       ึ่
     ครั้งนี้ก็จะขอน�ำเอามงคลสามสิบแปดที่เคยกล่าวถึงมากล่าวไว้
     ให้ได้สดับกันในรูปแบบของหลวงตา
     	 ถ้าเราแบ่งวัยของเราออกเป็นสามวัย คือปฐมวัย มัชฌิมวัย
     และปัจฉิมวัย แล้วลองเอาค�ำสอนขององค์พระพุทธศาสดาเข้าไป
     ประกอบในวัยทั้งสาม แล้วน�ำเอาชีวิตจริงของเราๆ ทั้งหลายมา
     ตีคลี่ออกดูว่าเราจะเห็นอะไร
     	 ต่อไปนี้เป็นทัศนะของหลวงตาที่ได้น�ำวัยทั้งสามมากล่าว
     ประกอบกบพระธรรมเทศนามงคลสามสบแปด อนเปนคำสอนของ
                 ั                        ิ     ั ็ �
     องค์พระพุทธศาสดา แล้วได้เห็นการด�ำเนินไปอย่างถูกต้องและ
     ไม่ถูกต้อง ท�ำให้หวนคิดไปในอดีตที่ผ่านมา แล้วก็ต้องอุทานว่า
     “รู้อย่างนี้ไม่ท�ำเสียดีกว่า”
     	 เรมตนประกอบมงคลสามสบแปดเขากบชวต อนทจรงมงคล
           ิ่ ้             ิ       ้ ั ี ิ ั ี่ ิ
     สามสบแปดนสามารถนำมาประกอบเขากบปฐมวยทงสามสบแปด
         ิ      ี้   �          ้ ั       ั ั้     ิ
๑๗   คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
ประการเลยก็ได้ แต่ในที่นี้หลวงตาจะแสดงการประกอบเข้ากับ
วยทงสามโดยรวม โดยในชวงแรกนเี้ ปนการประกอบเขากบ ปฐมวย
 ั ั้                  ่        ็          ้ ั       ั
     “ อะเสวะนา จะ พาลานัง บัณฑิตานัญจะ เสวนา
      ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ”
	 ก่ อ นอื่ น ต้ อ งขออธิ บ ายความก่ อ นว่ า มงคลทั้ ง สามข้ อ นี้
ถ้าปฏิบตเิ พียงแค่ขอหนึงข้อใด ทีถกก็เป็นมงคล ทีผดก็เป็นอวมงคล
       ั           ้ ่          ู่             ่ิ
แต่ถ้าปฏิบัติตามได้ทั้งสามข้อ ก็เป็นมงคลอันสูงสุด
	 ในเรื่องของการเริ่มต้นคัดเลือกคบหาเสวนากับบุคคลอื่น
ถาแมนวาเราอยในครอบครวทไมใชพาลแลวไซร้ พอแมผปกครอง
 ้ ้ ่          ู่        ั ี่ ่ ่         ้       ่ ่ ู้
ย่อมต้องสอนสั่งไม่ให้ไปคบหาเล่นหัวกับคนเกเร นี้เป็นธรรมดา
แตทจะสอนใหคบบณฑตคอคนมคณธรรมนน เมออยในชวงเยาววย
    ่ ี่      ้ ั ิ ื           ีุ       ั้ ื่ ู่ ่           ์ั
ยังเล็กอยู่ การคิดพิจารณาที่คัดเลือกคนที่จะคบด้วยตนเองย่อม
ยงไมมหรอมอยนอย เนองจากยงขาดประสบการณและสตปญญา
  ั ่ ี ื ี ู่ ้      ื่      ั                  ์        ิ ั
ท�ำให้คดเลือกแยกไม่ออก ยิงทีจะสอนให้เอาคนดีมคณธรรมมาเป็น
         ั               ่ ่                   ี ุ
ตวอยางแลวละกนาจะหาไดยาก กถาแมนวาพอแมผปกครองเปน
   ั ่ ้ ่ ็ ่             ้       ็ ้ ้ ่ ่ ่ ู้              ็
คนดีมีศีลธรรม ผ่านการอบรมด้วยมงคลข้อนี้มาแล้ว เป็นบัณฑิต
ย่อมสอนมงคลนี้แก่บุตรธิดาได้ไม่ยาก
   “ ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา
     อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ”
	 เช่นเดียวกันมงคลสามสิบแปดนี้ พระพุทธศาสดาได้แบ่งไว้
เปนชด ในชดนกมอยดวยกนสามขอ การจะเปนมงคลอนสงสดได้
  ็ ุ    ุ ี้ ็ ี ู่ ้ ั  ้         ็     ั ู ุ
                                              สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน   ๑๘
จะต้องปฏิบัติให้ส�ำเร็จเป็นชุด ไม่เลือกเพียงบางข้อ และยิ่งถ้า
     ปฏบตไดอยางตอเนองทงสามสบแปดขอ กจะสมฤทธผลอนสงสด
        ิ ั ิ ้ ่ ่ ื่ ั้          ิ       ้ ็ ั       ิ ั ู ุ
     ดังจะแสดงไว้ในตอนท้าย
     	 ในเมอไดปฏบตตนอยในกรอบของมงคลอนสงสดสามขอแรก
                   ื่ ้ ิ ั ิ      ู่                ั ู ุ      ้
     ย่อมเป็นผู้มีบุญ “ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา” หมายความว่า
     เป็นผู้ได้สั่งสมบุญมาแต่กาลก่อน ย่อมต้องมีโอกาสดี ได้ย้าย
     ถิ่นฐานไปในที่เจริญยิ่งขึ้น คือได้ไปเล่าเรียนอ่านเขียนในโรงเรียน
     ทีมการเรียนการสอนทีเ่ จริญก้าวหน้า “ปะฏิรปะเทสะวาโส” ประเทศ
        ่ ี                                       ู
     หรือสถานที่ที่ปฏิรูปแล้ว คือเจริญแล้ว และเมื่อได้ย้ายถิ่นฐาน
     หรือได้เดินทางไปอยู่ในที่ดีแล้ว (หมายถึงการศึกษาในปฐมวัย)
     มความเจรญกาวหนาทางวชาการ สรางภมปญญาไดมาก กจะตอง
         ี        ิ ้ ้          ิ         ้ ู ิ ั        ้   ็ ้
     ไม่ประมาท ด�ำรงตนเองไว้ในที่ตั้งอันถูกต้อง คือไม่ลืมที่จะรักษา
     ประพฤตปฏบตตนตามมงคลสามขอแรกทผานมา กระทำไดเ้ ยยงนี้
               ิ ิ ั ิ                   ้      ี่ ่        �     ี่
     จึงจะถือได้ว่าเป็นมงคลอันสูงสุดในล�ำดับที่สอง
              “ พหุสัจจัญจะ สิบปัญจะ วินะโย จะ สุสิกขิโต
             สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ”
     	 ในมงคลชดนมขอปฏบตรวมอยสขอ เชนกน ตองปฏบตตาม
                    ุ ี้ ี ้ ิ ั ิ ู่ ี่ ้ ่ ั ้ ิ ั ิ
     ให้ครบ จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด
     	 ในเมื่อได้มาอยู่ในถิ่นฐานที่เจริญ ย่อมมีวิชาการความรู้
     มากมายให้ศึกษา เหตุเพราะเป็นผู้ตั้งตนเองไว้ในที่ชอบแล้ว
     จึงมีสติปัญญาในการที่จะคัดเลือกแต่สิ่งดีงาม ศึกษาให้ถ่องแท้

๑๙   คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
ให้เข้าใจถึงแก่นแท้ของวิชาการที่ตนศึกษา เพื่อที่จะได้ก่อเกิด
ปญญาในการนำเอาวชาการทไดศกษานน มาสรางคณประโยชน์
   ั            �      ิ       ี่ ้ ึ     ั้     ้ ุ
ให้แก่ชีวิตตน หรือเพื่อการศึกษาที่เจริญยิ่งๆ ขึ้นไป มีศิลปะ
ในการน�ำความรู้นั้นมาใช้ให้เกิดประโยชน์อันสูงสุด ในการด�ำรง
ชีวิตอยู่ท่ามกลางความเจริญ ย่อมต้องมีสิ่งฟุ้งเฟ้อล่อตาล่อใจ
เปนธรรมดา ตนเองตองมวนยอนดดวย จดระเบยบชวตการศกษา
     ็                ้ ีิ ั ั ี ้ ั            ี ีิ        ึ
ให้สมกับเป็นกุลบุตรกุลธิดา ฝึกฝนท่องบ่น อ่านเขียน เรียนพูด
ใหเ้ ขากบสงคมอนดงาม ไมกลาวสงใดเลยเถดเกนวย รจกเดกรจก
       ้ ั ั      ั ี      ่ ่ ิ่            ิ ิ ั ู้ ั ็ ู้ ั
ผู้ใหญ่ ไม่กล่าววาจาเล่นหัวเป็นที่น่ารังเกียจ วาจาที่กล่าวออกไป
ก็ต้องถนอมน�้ำใจผู้รับฟังด้วย เช่นนี้จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด
      “ มาตาปิตุอุปัฏฐานัง ปุตตะธารัสสะ สังคะโห
     อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ”
	 มงคลชุดนี้ก็มีข้อปฏิบัติอยู่สี่ข้อเช่นกัน ต้องปฏิบัติตาม
ให้ครบ จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด
	 เมอผานการฝกฝนรำเรยนวทยามามากแลว ยามเมอกลบมา
            ื่ ่        ึ �่ ี ิ               ้       ื่ ั
ถึงบ้านก็ต้องช่วยเหลือการงานของมารดาบิดา เมื่อยังเยาว์วัย
กเ็ พยงชวยงานในบาน ทำความสะอาด รดนำตนไม้ ใหอาหารสตว์
        ี ่            ้ �               �้ ้      ้         ั
เก็บพืชผลต่างๆ ทีสมควรจะเก็บได้แล้ว หรือเก็บกวาดข้าวของทีทง
                     ่                                         ่ ิ้
ระเกะระกะใหดสะอาดงามตา ใครไปใครมากจะไมวากลาวตำหนเิ อา
                  ู้                    ็ ่่ ่ �
ตวยงเยาววยยงไมมบตรภรยาใหตองสงเคราะหดแล ขอนกใหดแล
   ั ั         ์ั ั ่ ี ุ ิ ้ ้               ์ ู ้ ี้ ็ ้ ู
พีนอง ช่วยสอนการบ้านให้นอง ช่วยท�ำงานบ้านแทนพีทยงไม่เสร็จ
    ่ ้                      ้                    ่ ี่ ั
ธุระเพราะอาจจะมีการบ้านจากที่เล่าเรียนมามาก และการบ้าน
                                               สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน   ๒๐
การงานกิจต่างๆ ของตนก็ต้องไม่คั่งค้าง ไม่อ้างเหตุผู้อื่นมาแก้ตัว
     ถาเปนผมครอบครวกทำหนาทตนโดยไมละทงหนาทของบตรธดา
      ้ ็ ู้ ี           ั ็ � ้ ี่          ่ ิ้ ้ ี่        ุ ิ
     ที่ดีด้วย ท�ำได้อย่างนี้จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด
        “ ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห
           อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ”
     	 มงคลชุดนี้มีด้วยกันสี่ข้อ ต้องปฏิบัติตามให้ครบ จึงจะเป็น
     มงคลอันสูงสุด
     	 ในเมอชวตดำเนนมาถงวยอนสมควร รจกขวนขวายทำการงาน
                   ื่ ี ิ � ิ      ึ ั ั                 ู้ ั              �
     หรื อ กิ จ กรรมใดๆ ที่ ดี ง าม ไม่ เ ป็ น ที่ ต� ำ หนิ ติ ติ ง ของสั ง คมและ
     หมบณฑต ควรจะเปนเรองของการชวยเหลอสงคม หมบาน ตำบล
          ู่ ั ิ            ็ ื่              ่            ื ั         ู่ ้ �
     อ�ำเภอ หรือจังหวัด หรือถ้าใครมีโอกาสมากก็อาจจะถึงระดับชาติ
     แตกตองตงอยในเรองทดงาม ไมเ่ ปนทตำหนิ ถอวากจกรรมเหลานี้
         ่ ็ ้ ั้ ู่ ื่ ี่ ี                 ็ ี่ �             ื ่ ิ          ่
     ก็เป็นการให้ทานอย่างหนึ่ง หรือจะท�ำทานด้วยวิธีใดๆ มีมากมาย
     หลายวธี เพยงเนนในเรองการทำทาน เพราะวาจะเปนการเสรมสราง
               ิ ี ้          ื่      �                     ่       ็        ิ ้
     บารมีสั่งสมเอาไว้ในภายภาคหน้า เหตุเพราะผลของทานนั้นมี
     ประกอบกับการรู้จักประพฤติปฏิบัติธรรมในทางที่ถูกต้อง ศึกษา
     เรียนรู้ขนบธรรมเนียมประเพณี และศีลธรรมอันดีงามจากผู้รู้ ครู
     อาจารย์ นี้ก็เป็นการเสริมสร้างพอกพูนบารมี และเมื่อผลของ
     บุญบารมีประกอบกับผลของทานสนองต่อตัวเจ้าของแล้ว ย่อมมี
     ผลมากชนิดที่อาจจะคาดคิดไม่ถึงก็มี ในขณะเดียวกันเมื่อเข้าสู่
     สงคมแลวกตองไมหลงสงคมจนลมหมญาติ ทงทใกลชดสนทสนม
       ั         ้ ็ ้ ่         ั        ื ู่                ั้ ี่ ้ ิ ิ

๒๑   คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
และทนานครงจะไดพบเจอ เมอไดพบเจอในสงคมกตองขวนขวาย
     ี่    ั้  ้       ื่ ้         ั   ็ ้
ชวยเหลอไมเกยงงอน ไมอางเหตุ อยางนจงจะเปนมงคลอนสงสด
 ่      ื ่ ี่     ่้        ่ ี้ ึ   ็     ั ู ุ
      “ อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม
      อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ”
	 มงคลชุดนี้มีด้วยกันสามข้อ เช่นเดียวกันต้องปฏิบัติให้ครบ
จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด
	 เมือก้าวสู่ มัชฌิมวัย คนในวัยกลางคนนีเ้ ป็นทีปรารถนานักของ
                ่                                               ่
หญงแพศยา ยอมมสงคมมาก ยอมตองมการดมกน เลยงสงสรรค์
       ิ                 ่ ี ั               ่ ้ ี ื่ ิ ี้ ั
กันมาก ความประมาทในธรรมทั้งหลายย่อมเกิดขึ้นได้ง่าย ฉะนั้น
การจะรกษาตนใหตงอยในศลธรรมอนดงาม กตองอาศยการฝกฝน
              ั                ้ ั้ ู่ ี              ั ี    ็้          ั     ึ
มาดในมงคลทผานมา ศลและธรรมทศกษาผานมายอมตองนำมาใช้
         ี             ี่ ่          ี              ี่ ึ   ่      ่ ้ �
เพอหกหามจตใจตนมใหตกไปอยในความประมาททงปวง เมอไม่
   ื่ ั ้ ิ                         ิ ้        ู่                     ั้         ื่
ประมาทแลว การกจตางๆ ยอมไมหลงไปในทางบาปชว การเขาสงคม
                  ้           ิ ่ ่ ่                              ั่        ้ ั
ก็จะรูจกประมาณตน ไม่ตกเป็นทาสน�ำเมา กินเหล้าแต่อย่าให้เหล้ากิน
           ้ั                                     ้
สุรานั้นมีคุณอนันต์และก็มีโทษมหันต์ด้วย ในข้อนี้จะเห็นได้ว่า
พระพทธศาสดานนเขาใจชวตอยางถองแท้ จงมไดหามอยางเดดขาด
            ุ               ั้ ้ ี ิ ่ ่                  ึ ิ ้้ ่ ็
แตจะสอนสงใหไมประมาท มสตตงมนรประมาณในตน ทำไดอยางนี้
     ่              ั่ ้ ่               ี ิ ั้ ั่ ู้                      � ้ ่
จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด
      “ คาระโว จะ นิวาโต จะ สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา
      กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ”

	      มงคลชดนมหาขอ ตองปฏบตใหครบ จงจะเปนมงคลอนสงสด
            ุ ี้ ี ้ ้ ้ ิ ั ิ ้  ึ    ็     ั ู ุ
                                                          สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน   ๒๒
ในเมอมสงคมมาก เขาสงคมมาก ยอมตองพบปะผคนมากหนา
                    ื่ ี ั        ้ ั       ่ ้           ู้      ้
     หลายตา ทั้งรุ่นราวคราวเดียวกัน ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ การอ่อนน้อม
     ถ่อมตน มีสมมาคารวะ สงบเสงียม รูกตัญญูในคุณของผูทเี่ คยอุปถัมภ์
                  ั                   ่ ้               ้
     คำจน ยอมเปนทนบหนาถอตาในสงคม เปนทเี่ คารพนบนอบสำหรบ
        �้ ุ ่ ็ ี่ ั ้ ื                 ั  ็                � ั
     ผู้ที่ด้อยกว่า ผู้ใหญ่ก็เรียกหา การศึกษาฟังธรรมค�ำสอนอันดีงาม
     จากบัณฑิตผู้เป็นครูอาจารย์ย่อมจ�ำเป็นอย่างยิ่ง ท�ำได้อย่างนี้
     จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด
          “ ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง
           กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ”
     	 มงคลชุดนี้มีด้วยกันสี่ข้อ เช่นเดียวกับชุดอื่นๆ ต้องประพฤติ
     ปฏิบัติให้ครบ จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด
     	 วัยกลางคนนี้เป็นวัยที่มีความเจริญก้าวหน้าทั้งในหน้าที่
     การงาน รบราชการกมความเปนใหญ่ ยอมตองมความหยงผยองบาง
                ั       ็ ี      ็              ่ ้ ี              ิ่      ้
     เป็นธรรมดา ในคนที่ไม่อบรมตนมาดีก็จะล�้ำหน้ามากเกินไป
     จนนารงเกยจ ใชอำนาจหนาททำรายทำลายผอนไดงาย เหตเุ พราะ
           ่ ั ี    ้�         ้ ี่ � ้ �                ู้ ื่ ้ ่
     ขาดขนตอดทนตอแรงกระทบ จงสมควรทจะตองสละเวลาอนมมาก
            ั ิ     ่               ึ               ี่ ้              ั ี
     ศกษาพระธรรมคำสอนจากสมณสงฆ์ ผมศลธรรมอนงาม ผานกาล
        ึ             �                          ู้ ี ี        ั       ่
     เวลาอบรมบมตนมามากมาย เปนผทมความสงบระงบแลว เพอทจะ
                  ่                   ็ ู้ ี่ ี                  ั ้ ื่ ี่
     ได้มีความอดทนขันติ รู้จักเคารพในความคิดเห็นของผู้อื่น รับฟัง
     ความเห็นของผู้อื่นด้วยความสงบ ไม่ใช้อ�ำนาจ ประดุจหนึ่งเป็น
     ผู้ว่านอนสอนง่าย ท�ำได้เช่นนี้จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด

๒๓   คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
“ ตะโป จะ พรัหมะจะริยัญจะ อะริยะสัจจานะทัสสะนัง
    นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ”
	 มงคลชดนมดวยกนสขอ ตองประพฤตปฏบตใหครบ จงจะเปน
           ุ ี้ ี ้ ั ี่ ้ ้ ิ ิ ัิ ้  ึ    ็
มงคลอันสูงสุด
	 ในเมื่อวัยกลางคนที่รุ่งเรืองผ่านไป วัยชราหรือ ปัจฉิมวัย
ก็เข้ามาเยือน หน้าที่การงานที่ผ่านมาก็ท�ำได้ส�ำเร็จดี ครอบครัว
ลูกหลานก็มีความมั่นคง ไม่น่าจะมีอะไรน่าเป็นห่วงแล้ว ก็ควร
หันหน้าเข้าหากิจทางธรรมอย่างจริงจัง เพียรเพ่งเร่งเผากิเลส
ทสงสมมานาน จะมาจากหนาทการงานหรอสวนตนสวนตวกตาม
   ี่ ั่                   ้ ี่         ื ่         ่ ั ็
ตั้งมั่นรักษาพรหมจรรย์ ศึกษาอริยสัจอย่างจริงจัง ตั้งมั่นที่จะท�ำ
พระนิพพานให้แจ้ง เยี่ยงนี้แหละจึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด
   “ ผุฏฐัสสะ โลกะธรรมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ
     อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ”
	 มงคลชุดนี้มีด้วยกันสี่ข้อ ประพฤติปฏิบัติได้ครบ ย่อมเป็น
มงคลอันสูงสุดอย่างยิ่งในชีวิต
	 เมื่ อ หมดห่ ว ง ตั้ ง มั่ น ประพฤติ ธ รรม รั ก ษาพรหมจรรย์
ความเพียรเพ่งเร่งเผากิเลสด้วยปัญญา อันเป็นธรรมดาในกิจการ
ทีผานชีวตมา เมือน�ำมาอุปมาอุปมัยให้เข้ากับพระธรรมค�ำสอนของ
  ่่ ิ         ่
องค์พระพุทธศาสดา ปัญญาอันบริสุทธิ์ย่อมเกิดขึ้นได้โดยไม่ยาก
ธรรมอันเป็นธรรมดาโลก คือโลกธรรมแปดนั้น ย่อมมองเห็นว่า
เป็นเรื่องธรรมดา ไม่หวั่นไหวแล้วเมื่อถูกกระทบ จิตที่ฝึกฝนมาดี
                                             สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน   ๒๔
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tongsamut vorasan
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
Chavalit Deeudomwongsa
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
อุษณีษ์ ศรีสม
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
Tongsamut vorasan
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
Anchalee BuddhaBucha
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
Punya Benja
 

La actualidad más candente (17)

บทสวดมนต์
บทสวดมนต์บทสวดมนต์
บทสวดมนต์
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนีภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
 
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
 
คู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัทคู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัท
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียน
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
 
พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603
 
กิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธงกิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธง
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
 

Destacado

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   แก่นแท้ของพระพุทธศาสนาพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา
Tongsamut vorasan
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
Tongsamut vorasan
 
สุภีร์ ทุมทอง สัลเลขธรรม
สุภีร์ ทุมทอง   สัลเลขธรรมสุภีร์ ทุมทอง   สัลเลขธรรม
สุภีร์ ทุมทอง สัลเลขธรรม
Tongsamut vorasan
 
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
Tongsamut vorasan
 
สุรีย์ มีผลกิจ พุทธกิจ 45 พรรษา
สุรีย์ มีผลกิจ   พุทธกิจ 45 พรรษาสุรีย์ มีผลกิจ   พุทธกิจ 45 พรรษา
สุรีย์ มีผลกิจ พุทธกิจ 45 พรรษา
Tongsamut vorasan
 
สุภีร์ ทุมทอง สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพานสุภีร์ ทุมทอง   สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพาน
Tongsamut vorasan
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
Tongsamut vorasan
 
กลอนประวัติหลวงพ่อยอด
กลอนประวัติหลวงพ่อยอดกลอนประวัติหลวงพ่อยอด
กลอนประวัติหลวงพ่อยอด
Tongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) การศึกษาของคณะสงฆ์ ปัญหาที่รอทางออก
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   การศึกษาของคณะสงฆ์ ปัญหาที่รอทางออกพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   การศึกษาของคณะสงฆ์ ปัญหาที่รอทางออก
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) การศึกษาของคณะสงฆ์ ปัญหาที่รอทางออก
Tongsamut vorasan
 
ธรรมบท โดย อาจารย์เสฐียรพงษ์ วรรณปก ไฟล์ Pdf
ธรรมบท โดย อาจารย์เสฐียรพงษ์ วรรณปก ไฟล์ Pdfธรรมบท โดย อาจารย์เสฐียรพงษ์ วรรณปก ไฟล์ Pdf
ธรรมบท โดย อาจารย์เสฐียรพงษ์ วรรณปก ไฟล์ Pdf
Tongsamut vorasan
 
ความรู้ทางพุทธศาสนา
ความรู้ทางพุทธศาสนาความรู้ทางพุทธศาสนา
ความรู้ทางพุทธศาสนา
Tongsamut vorasan
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
Tongsamut vorasan
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
Tongsamut vorasan
 
5 44++มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๓
5 44++มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๓5 44++มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๓
5 44++มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๓
Tongsamut vorasan
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
Tongsamut vorasan
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
Tongsamut vorasan
 
เอกสารการสร้างวัดไทยในอเมริกา
เอกสารการสร้างวัดไทยในอเมริกาเอกสารการสร้างวัดไทยในอเมริกา
เอกสารการสร้างวัดไทยในอเมริกา
Tongsamut vorasan
 

Destacado (20)

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   แก่นแท้ของพระพุทธศาสนาพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา
 
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
1 11+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามกิตก์+และกิริยากิตก์
 
สุภีร์ ทุมทอง สัลเลขธรรม
สุภีร์ ทุมทอง   สัลเลขธรรมสุภีร์ ทุมทอง   สัลเลขธรรม
สุภีร์ ทุมทอง สัลเลขธรรม
 
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
6 47+สมนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
 
สุรีย์ มีผลกิจ พุทธกิจ 45 พรรษา
สุรีย์ มีผลกิจ   พุทธกิจ 45 พรรษาสุรีย์ มีผลกิจ   พุทธกิจ 45 พรรษา
สุรีย์ มีผลกิจ พุทธกิจ 45 พรรษา
 
สุภีร์ ทุมทอง สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพานสุภีร์ ทุมทอง   สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สัมมาทิฏฐิ พาไปสู่นิพพาน
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
กลอนประวัติหลวงพ่อยอด
กลอนประวัติหลวงพ่อยอดกลอนประวัติหลวงพ่อยอด
กลอนประวัติหลวงพ่อยอด
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) การศึกษาของคณะสงฆ์ ปัญหาที่รอทางออก
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   การศึกษาของคณะสงฆ์ ปัญหาที่รอทางออกพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   การศึกษาของคณะสงฆ์ ปัญหาที่รอทางออก
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) การศึกษาของคณะสงฆ์ ปัญหาที่รอทางออก
 
ธรรมบท โดย อาจารย์เสฐียรพงษ์ วรรณปก ไฟล์ Pdf
ธรรมบท โดย อาจารย์เสฐียรพงษ์ วรรณปก ไฟล์ Pdfธรรมบท โดย อาจารย์เสฐียรพงษ์ วรรณปก ไฟล์ Pdf
ธรรมบท โดย อาจารย์เสฐียรพงษ์ วรรณปก ไฟล์ Pdf
 
ธรรมบทย่อ 01
ธรรมบทย่อ 01ธรรมบทย่อ 01
ธรรมบทย่อ 01
 
ความรู้ทางพุทธศาสนา
ความรู้ทางพุทธศาสนาความรู้ทางพุทธศาสนา
ความรู้ทางพุทธศาสนา
 
แม่สวยในใจลูกเสมอ
แม่สวยในใจลูกเสมอแม่สวยในใจลูกเสมอ
แม่สวยในใจลูกเสมอ
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
5 44++มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๓
5 44++มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๓5 44++มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๓
5 44++มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๓
 
ปทวิจาร
ปทวิจารปทวิจาร
ปทวิจาร
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
เอกสารการสร้างวัดไทยในอเมริกา
เอกสารการสร้างวัดไทยในอเมริกาเอกสารการสร้างวัดไทยในอเมริกา
เอกสารการสร้างวัดไทยในอเมริกา
 

Similar a สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด

หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
guestf16531
 
Dhamma core
Dhamma coreDhamma core
Dhamma core
YajokZ
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
Tongsamut vorasan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
Tongsamut vorasan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
thnaporn999
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
Panda Jing
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
Tongsamut vorasan
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
Panda Jing
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 

Similar a สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด (20)

หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 
Dhamma core
Dhamma coreDhamma core
Dhamma core
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
 
Lion
LionLion
Lion
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 

Más de Tongsamut vorasan

เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
Tongsamut vorasan
 

Más de Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด

  • 1.
  • 2. สารบัญ หน้า หลักธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๑ ๑ หลักธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๒ ๕ หลักธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๓ ๙ หลักธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๔ ๑๓ หลักธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๕ ๑๗ ภัยต่อพุทธศาสนา ba ตอน ๑ เข้าใจให้ถูกทาง ๒๘ ba ตอน ๒ เหตุแห่งความเสื่อม ๓๐ ba ตอน ๓ ความทะยานอยากเป็นที่ตั้ง ๓๒ ba ตอน ๔ มนุษย์กับการรักษาศีล (๑) ๓๕ ba ตอน ๕ มนุษย์กับการรักษาศีล (๒) ๓๙ ba ตอน ๖ มนุษย์กับการรักษาศีล (๓) ๔๒ ba ตอน ๗ มนุษย์กับการรักษาศีล (จบ) ๔๕ แนวทางการปฏิบัติโดยวิธีเดินจงกรม ๔๙ และนั่งสมาธิด้วยตนเอง พิมพ์เผยแพร่เนื่องในงานทอดกฐินประจำ�ปี ณ สถานปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน จังหวัดกาญจนบุรี พุทธศักราช ๒๕๕๓
  • 3. คำ�สอนของพระพุทธเจ้า หลักธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๑ ก่อนที่หลวงตาจะกล่าวถึงเรื่องภัยต่อพุทธศาสนา หลวงตา จะน�ำเอาหลักในการปฏิบัติที่ง่ายที่สุดส�ำหรับความเป็นมนุษย์ ด้วยการก�ำหนดกาย วาจา ใจหรือจิตของเราในการท�ำกิจต่างๆ โดยมี ศี ล ห้ า เป็ น เครื่ อ งควบคุ ม และมี ห ลั ก ธรรมเก้ า ประการ เป็นเครื่องตรวจสอบยกขึ้นมาเป็นอารัมภบท หลั ก ธรรมก็ คื อ หลั ก แห่ ง ธรรมชาติ นั่ น เอง การท� ำ ตั ว เรา ให้เข้าใจในธรรมชาติต่างๆ รอบตัวเรา การสร้างกรรมต่างๆ ที่จะ เกิดจากตัวเราไปสู่ธรรมชาติ โดยรู้จักธรรมชาติรอบตัวเราอย่าง ถองแทมาเปนแบบอยาง เรากจะสรางกรรมโดยมความผดไปจาก ่ ้ ็ ่ ็ ้ ี ิ ธรรมชาติน้อยที่สุด ตนไมหนงตน เรามองดวยการพจารณาตงแตไมนนเรมเจรญ ้ ้ ึ่ ้ ้ ิ ั้ ่ ้ ั้ ิ่ ิ ขึนมา เราไม่รดอกว่าต้นไม้นนจะเป็นอย่างไรต่อไป เราได้แต่เฝ้ามอง ้ ู้ ั้ ต้นไม้นั้นเติบใหญ่ วันเวลาผ่านไปจนเช้าวันหนึ่งเราสังเกตเห็น ความเปลี่ยนแปลงใหม่เกิดขึ้น กิ่งก้านที่เคยมีใบปกคลุม ใบเริ่ม ร่วงลงสู่ดินเป็นจ�ำนวนมาก แต่ยังคงมีเหลือใบที่อ่อนอยู่ แล้วมี ธรรมชาติใหม่แทรกขึ้นมาให้ความสวยงามและกลิ่นโชยหอม ในระหวางทตนไมนนกำลงผลดอก กมธรรมชาตอนเขามาเกยวของ ่ ี่ ้ ้ ั้ � ั ิ ็ ี ิ ื่ ้ ี่ ้ จ�ำนวนมากหน้าหลายเผ่าพันธุ์ เราได้เห็นธรรมชาติที่มาใหม่ เหลานนเกาะทดอกหนงแลวไปทอกดอกหนง แลวกไปทอกดอกหนง ่ ั้ ี่ ึ่ ้ ี่ ี ึ่ ้ ็ ี่ ี ึ่ ๑ คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
  • 4. เป็นอย่างนี้อยู่หลายวัน ในที่สุดเมื่อถึงกาลเวลาอันควร กลีบดอก เหล่านั้นก็ร่วงหล่นหลุดออกจากต้นไม้นั้น แต่เราได้เห็นอีกสิ่งหนึ่ง เกดขน ในการรวงหลนนนยงมทไมรวงหลนกมากมาย เกดเปนตม ิ ึ้ ่ ่ ั้ ั ี ี่ ่ ่ ่ ็ ิ ็ ุ่ เล็กๆ ขึ้นมาภายใต้ช่อดอกนั้นๆ เราเฝ้ามองการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ ต่อไปเรือยๆ ทีสดเราก็เห็นการเจริญเติบโตของธรรมชาตินนมากขึน ่ ุ่ ั้ ้ ทกวน มธรรมชาตอนมาเกยวของอก คบคลานมาบาง เดนมาบาง ุ ั ี ิ ื่ ี่ ้ ี ื ้ ิ ้ บินมาบ้าง มีมากหน้าหลายตาเช่นกัน แต่ไม่เหมือนในครั้งแรก เมื่อครั้งแรกนั้นธรรมชาติเล็กบ้างใหญ่บ้างมาแล้วก็ไป ไม่ได้ทิ้ง ความเสียหายไว้ให้เราเห็น แต่ธรรมชาติใหม่ที่มานี้ทิ้งร่องรอย ความเสียหายไว้ให้เราเห็น ลมมา ฝนมา ต้นไม้นั้นก็สะบัดพลิ้ว ไปตามลมและฝน เมื่อฝนและลมหมดแล้ว เราจึงสังเกตเห็นถึง ความเสียหาย ช่อผลทีอยูภายใต้การบดบังของหมูใบทีปกคลุมหนา ่ ่ ่ ่ ได้รับความเสียหายน้อย ช่อใหม่ที่เพิ่งจะเริ่มแตกออกมา บ้างก็ เสียหายมาก บ้างก็เสียหายน้อย แล้วเช้าวันรุงขึนเราก็เห็นใบอ่อน ่ ้ แตกออกมากมาย คอยๆ เจรญขนปกคลมกงกานชอผลทยงคงอยู่ ่ ิ ึ้ ุ ิ่ ้ ่ ี่ ั เหล่านั้นไว้อย่างแนบเนียน แต่ก็ยังไม่รอดพ้นไปจากสายตาของ ธรรมชาติใหม่ที่มา ธรรมชาติใหม่เหล่านั้นได้น�ำเอาผลที่สุกได้ที่ พอกับความต้องการของธรรมชาติใหม่ที่เคลื่อนมาในรูปแบบ ต่างกันติดตัวเอาไปบ้าง ทิ้งให้ตกร่วงลงสู่ดินโดยรอบบ้าง เราเอง ก็ได้ทดลองปลิดเอาผลเหล่านั้นมาทดลองรสบ้าง เราก็ได้รู้จักว่า ลักษณะใดมีรสเช่นไร และลักษณะใดมีรสที่พอดีกับความรู้สึก ของเรา เราได้ศึกษาธรรมชาติของต้นไม้นั้นแล้วอยู่หลายครั้ง มันก็เป็นเช่นนี้ร�่ำไป ต้นเก่าล้มไป ต้นใหม่ก็เจริญขึ้นมาทดแทน จำนวนมากขน ตางกแยงชงกน ทไดแดดอดมดกเ็ จรญไว ทสไมไหว � ึ้ ่ ็ ่ ิ ั ี่ ้ ุ ี ิ ี่ ู้ ่ สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน ๒
  • 5. ถูกบดบังก็ต่อสู้ดิ้นรนเอาตัวรอดด้วยการยื่นกิ่งก้านออกไปใน ทศทางใหมทจะสามารถหาแดดได้ ทสไมไหวกลมตายไป เปนเชนนี้ ิ ่ ี่ ี่ ู้ ่ ็ ้ ็ ่ เช่นนี้ เราได้เห็นและได้ศึกษาเรียนรู้ธรรมชาติของต้นไม้ต่างๆ รอบตวอยางแจมแจงแทงตลอด จนวนหนงเราไดออกไปสโลกกวาง ั ่ ่ ้ ั ึ่ ้ ู่ ้ ได้พบต้นไม้นานาชนิดมากมายเหลือคณานับ เฝ้าดูไปก็จะเห็น การเปลี่ยนแปลงของหมู่ไม้นั้นเปลี่ยนแปลงไปในรูปแบบเดียวกัน ชาบาง เรวบาง หรอนานจนไมอาจรอคอย เราอาจจะประมาณไดวา ้ ้ ็ ้ ื ่ ้่ มนคงตองใชเวลานานเปนระยะประมาณเทาใด แลวคอยหวนคน ั ้ ้ ็ ่ ้ ่ ื กลับมาศึกษามันอีกในโอกาสหน้า เดินทางไปศึกษาไปได้พบเห็น สิ่งที่เหมือนและแตกต่างมากมาย ที่ว่าจะต้องหวนคืนไปก็ได้ พบเห็นในระหว่างทาง จึงได้เข้าใจว่าธรรมชาติทั้งหลายเหล่านั้น เปนเชนเดยวกน ตางกนกแตเ่ วลาของความเจรญเตบใหญ่ ทสดก็ ็ ่ ี ั ่ ั ็ ิ ิ ี่ ุ เข้าใจในธรรมชาติของต้นไม้ทั้งหลายว่ามันเป็นเช่นนี้เอง นี้คือที่มาของค�ำว่า “รู้ต้นไม้หนึ่งต้น ย่อมรู้ต้นไม้ทั้งป่า” ไม่ว่าจะเป็นกิ่งก้าน ใบ ดอก ผล เปลือก เนื้อที่มีทั้งอ่อนและแข็ง มีสะเก็ด กระพี้ มีแก่นบ้าง ไม่มีแก่นบ้าง และทั้งหมดก็เริ่มต้น มาจากต้นก�ำเนิดที่เป็นรากเหง้าเผ่าพันธุ์ โดยหลักการทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน ค�ำพูดนี้อาจถูก คัดค้านว่ารู้แค่นี้ใช้การอะไรไม่ได้ดอก ยังมีเรื่องที่ต้องเรียนรู้ อกมากมายเพอทจะเรงการขยายพนธ์ุ ปรบปรงพนธ์ุ เปลยนแปลง ี ื่ ี่ ่ ั ั ุ ั ี่ พันธุกรรม เพื่อความอยู่ดีมีสุขของมนุษย์โลก อาจจริงหรือไม่จริง เวลายอมเปนเครองพสจน์ แตอยาใหถงขนทำลายเผาพนธ์ุ เพราะวา ่ ็ ื่ ิ ู ่ ่ ้ ึ ั้ � ่ ั ่ นั่นจะท�ำให้สิ้นชาติพันธุ์ แล้วเราจะทราบได้อย่างไรว่ารากเหง้า เผ่าเดิมนั้นเป็นเช่นไร ๓ คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
  • 6. การเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ที่เข้าไปแทรกแซงการด�ำรงอยู่ ของธรรมชาติแต่เดิมนั้นย่อมเป็นเรื่องไม่บังควร ควรที่จะเป็น การศึกษาและช่วยเหลือธรรมชาติในส่วนทีขาดก็นาจะเพียงพอแล้ว ่ ่ อย่าแทรกแซงธรรมชาติดวยความทะยานอยากของกิเลส เพราะนัน ้ ่ เทากบการทำลายลางเผาพนธดวยอวชชา เพราะ “รเพยงแคกำมอ” ่ ั � ้ ่ ั ์ุ ้ ิ ู้ ี ่ � ื ก็พอเพียงแล้วที่จะเอาตัวรอดพ้นจากทุกข์ภัยได้ ถ้าทุกรูปทุกนาม เข้ า ใจตรงกั น ธรรมชาติย ่อมแบ่งปันที่พ อเพี ย งส� ำ หรั บทุ ก รู ป ทุกนาม แต่เพราะความทะยานอยากด้วยกิเลส จึงอยากที่จะมี มากกวา ใชอบายตางๆ ดวยโยนโสผดธรรม ทสดกเ็ ปนการทำลาย ่ ุ้ ่ ้ ิ ิ ี่ ุ ็ � ความสมดุลแห่งธรรมชาติ นี่ก็เพราะอวิชชา อวิชชา นี้แหละเป็นหัวหน้าแห่งความพรั่งพร้อมด้วย อกุศลธรรมทั้งหลาย ความไม่ละอายใจ ความไม่เกรงกลัวต่อบาปย่อมตามหลังมา เพราะความแก่กล้าแห่ง อวิชชา ด้วย มิจฉาทิฏฐิ เป็นเพราะ ยกตนวาเปนผรในศาสตรวทยาการในแขนงนนๆ ไมถองแทในธรรม ่ ็ ู้ ู้ ์ิ ั้ ่่ ้ ไม่เข้าถึงในธรรมชาติแห่งศาสตร์ที่ศึกษา เปรียบประดุจหนึ่งดั่ง เมลดขาวสารทไมนอนราบตามธรรมชาตทควรเปน กลบตงตวขน ็ ้ ี่ ่ ิ ี่ ็ ั ั้ ั ึ้ ไม่พิจารณาด้วย วิชชา อันเป็น สัมมาทิฏฐิ คือความรอบรู้ใน ธรรมชาตทศกษาอยาถองแท้ ประกอบพรอมไปดวยการวนจฉยดวย ิ ี่ ึ ่ ่ ้ ้ ิ ิ ั ้ ปัสสัทธิ คือมีความสงบระงับ แล้วรวบรวมประมวลมาซึงองค์ความรู้ ่ ทไดศกษาผานมา นำมาวเิ คราะห์ วจย วนจฉยดวยความไมประมาท ี่ ้ ึ ่ � ิั ิ ิ ั ้ ่ ในทุกๆ ด้าน ท�ำการพัฒนาให้เป็นองค์รู้ใหม่ที่สมบูรณ์ ไม่ท�ำร้าย ทำลายความเปนของเดม แตสงเสรมเฉพาะสวนทขาด ไมมากเกน � ็ ิ ่่ ิ ่ ี่ ่ ิ สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน ๔
  • 7. จนสามารถท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่ประสงค์ของ ธรรมชาติแห่งศาสตร์วิทยานั้นๆ เพราะว่า วชชา อนประกอบดวยสมมาทฏฐิ นแหละเปนหวหนาแหง ิ ั ้ ั ิ ี้ ็ ั ้ ่ ความพรั่งพร้อมด้วยกุศลธรรมทั้งหลาย ความละอายใจ ความเกรงกลัวต่อบาปย่อมตามหลังมา ความละอายและเกรงกลวตอบาปยอมเปนธงนำใหปญญานน ั ่ ่ ็ � ้ ั ั้ ตั้งอยู่ในความไม่ประมาท ด�ำเนินเสริมสร้างความคิดไปในทางที่ ไม่ผดธรรม น้อมน�ำให้จตตรงเข้าสูวปสสนาญาณ คือปัญญาอันยิง ิ ิ ่ิ ั ่ และดิ่งตรงสู่องค์รู้อย่างแท้จริง จึงจะรู้แจ้งแทงตลอดในธรรมชาติ นั้นๆ เข้าสู่หนทางแห่ง มรรคแปด ก่อให้เกิดปัญญาไม่รู้จบ เพราะมรรคแปดเป็นธรรมของโลก มิใช่ธรรมของศาสดาใด ศาสดาหนงโดยเฉพาะ บคคลผเู้ ปน ปจเจก ยอมสามารถพาตนเอง ึ่ ุ ็ ั ่ เข้าสูมรรคแปดได้โดยไม่ยาก หากตังมันอยูในองค์ศล มีสมมาทิฏฐิ ่ ้ ่ ่ ี ั เป็นหัวหน้า พิจารณาธรรมทังหลายโดยมีหลักแห่งธรรมเก้าประการ ้ เป็นหางเสือ ย่อมสามารถน�ำเรือนาวาชีวิตนี้สู่ความส�ำเร็จได้ สมปรารถนาในที่สุด หลักธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๒ คราวทแลวหลวงตาไดกลาวถงธรรมชาตของความเปนจรงคอ ี่ ้ ้ ่ ึ ิ ็ ิ ื สัจจะ หรือ อริยสัจจ์ ที่ถูกน�ำมาเปรียบเทียบเพื่อเป็นหลักธรรม ค�ำสอน ทุกสรรพสิ่งย่อมด�ำเนินไปอย่างมีรูปแบบ จะแตกต่างกัน ก็แต่ทรายละเอียดของสรรพสิงทังหลาย สิงแวดล้อม และการด�ำรง ี่ ่ ้ ่ ๕ คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
  • 8. คงอยูของเผ่าพันธุ์ ท�ำให้รปแบบเปลียนไปบ้าง แต่โดยหลักใหญ่แล้ว ่ ู ่ ยงคงรปแบบไวเ้ หมอนเดม จตและธรรม กเ็ ชนกน จะเปลยนแปลง ั ู ื ิ ิ ่ ั ี่ รายละเอียดไปบ้างก็ขึ้นกับสิ่งแวดล้อมและยุคสมัย แต่ก็ยังคง รูปแบบเหมือนเดิมไม่เปลี่ยนแปลง และไดกลาวถง วชชา อนมสมมาทฏฐิ คอความเปนผศกษา ้ ่ ึ ิ ั ี ั ิ ื ็ ู้ ึ เรียนรู้วิทยามาก ด้วยหลักแห่ง ปั ส สั ท ธิ คือมีการวิเคราะห์ วิจัย วินิจฉัย และพัฒนา ผลของการศึกษาเรียนรู้มากที่ผ่านมา แล้วประมวลรวบรวมเป็นองค์รู้ เพื่อสอนตนเองเป็นอันดับแรก ด้วยการตั้งมั่นอยู่ในองค์แห่งศีลห้า มีธรรมเก้าประการเป็นตัว คดกรอง ประกอบพรอมดวยมความละอายและเกรงบาปเปนหางเสอ ั ้ ้ ี ็ ื ส่วน อวิชชา นั้นก็เป็นตรงกันข้าม คือเป็นผู้ไม่ใฝ่เรียน ไม่ใฝ่ศึกษาวิทยาการต่างๆ ตัดสินเรื่องราวที่เห็นด้วยกิเลสฝ่ายต�่ำ เอาความไม่รของตนเป็นทีตง กล่าวโทษผูอนโดยไม่เห็นความผิดตน ู้ ่ ั้ ้ ื่ ด้วยความไม่ถ่องแท้ ประกอบพร้อมไปด้วยความไม่ละอายและ ไม่เกรงบาปเป็นที่ตั้ง บัณฑิต คือผู้ประกอบตนด้วยมรรคแปด มีความรอบรู้ใน ศาสตร์วทยาทังหลายอย่างถ่องแท้ (Perfect Knowing) ถ้าเรามองที่ ิ ้ คุณธรรม อันมนุษย์และเทวดาทั้งหลายต่างก็เรียกร้องรอคอย มานานก่อนพระพุทธเจ้าจะตรัสรูธรรมอันยิง จวบจนเข้าสูพรรษาที่ ้ ่ ่ สิบสาม เทวดาผู้ปราดเปรื่องตนหนึ่งจึงได้น�ำความเข้าทูลถามต่อ พระอินทร์ผู้ทรงธรรมพิทักษ์เหล่าเทวดาและมนุษย์ เมื่อล่วงรู้ว่า เรื่องนี้เกิดขึ้นที่โลกมนุษย์ ที่ซึ่งมีพระพุทธเจ้าทรงเป็นใหญ่ จึงให้ สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน ๖
  • 9. เทวดาตนนันไปทูลถามแก่พระพุทธองค์ เมือพระพุทธองค์ทรงรับฟัง ้ ่ ความนั้นแล้ว จึงได้ตรัสตอบไปว่า “อเสวนาจะพาลานัง.........” และมีความตอนหนึ่งว่า “พหุสัจจัญจะ สิบปัญจะ วินะโย จะ สสกขโต สภาษตา จะ ยาวาจา เอดมมงคะละมตตะมง” ตรงนี้ ุ ิ ิ ุ ิ ั ั ุ ั เป็นส่วนที่น�ำไปขยายบอกเราว่าที่พระพุทธองค์ทรงกล่าวถึง มรรคแปดแต่ต้นนั้น มาจากการศึกษาวินิจฉัยอย่างไรเมื่อครั้งที่ พระพุทธองค์ทรงตรัสรู้ธรรมอันยิ่ง อริยสัจสี่ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค (ว่าโดยเต็มคือ ทุกข์ ทกขสมทย ทกขนโรธ และทกขนโรธคามนปฏปทา) การทจะเขาใจ ุ ุ ั ุ ิ ุ ิ ิ ี ิ ี่ ้ ในอริสัจสี่ได้นั้น ต้องมีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงธรรมชาติ ของทุกข์ ธรรมทังหลายเป็นทุกข์ ทีเ่ ป็นทุกข์เพราะมีการเกิด การแก่ ้ คือใช้เวลายาวนานกว่าจะถึงที่หมาย การเจ็บเพราะการใช้เวลา ยาวนาน ทำใหตองผจญกบภยตางๆ แลวกตองลมตายลง จะดวย � ้ ้ ั ั ่ ้ ็ ้ ้ ้ หมดอายหรอยงไมหมด เหตเุ พราะเจอะเจอกบวบากกรรมเสยกอน ุ ื ั ่ ั ิ ี ่ ย่ อ มเป็ น เช่ น นี้เหมือนกันหมด ไม่ว่าจะเป็ น คน สั ต ว์ สิ่ งของ หรอธรรมชาตใดๆ ตนไม้ ภเู ขา แมนำ ลำธาร สงกอสราง หรอแมกระทง ื ิ ้ ่ �้ � ิ่ ่ ้ ื ้ ั่ โลกและจักรวาล ทกข์ จงมไดอยโดดเดยว แตวามองคประกอบ องคประกอบ ุ ึ ิ ้ ู่ ี่ ่่ ี ์ ์ ของทุกข์จะมีสณฐานเป็นอย่างไรนัน ไม่เทียง ภูเขาจะถล่มทลายได้นน ั ้ ่ ั้ มิได้ขนกับการถูกน�ำเซาะส่วนทียงอ่อนท�ำให้มการไหลเลือน แต่เมือ ึ้ ้ ่ั ี ่ ่ น�ำหนักมาก ฐานรับน�ำหนักไม่ไหว ก็ตองถล่มทลายลง สัตว์และมนุษย์ ้ ้ ้ ก็มีส่วนเข้าไปท�ำลายภูเขาได้เช่นกัน ภัยธรรมชาติรูปแบบต่างๆ ๗ คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
  • 10. กทำใหภเู ขาทวาเปนหนผาแขงแรง กละลายกลายเปนลาวา ผานไป ็ � ้ ี่ ่ ็ ิ ็ ็ ็ ่ ที่ไหนก็ท�ำลายที่นั่น นี่จึงเรียกว่าธรรมชาตินั้นมีความไม่เที่ยงเป็น ธรรมดา สัณฐานของทุกข์ ที่มีรูปแบบต่างๆ ย่อมประกอบให้เกิด อารมณ์ได้มากมาย อารมณ์ทั้งหลายเหล่านี้ย่อมปรุงแต่งจิต เปนธรรมดา จตเมอถกปรงแตงดวยอารมณ์ ยอมมความแกวงไหว ็ ิ ื่ ู ุ ่ ้ ่ ี ่ ไปตามอารมณ์นนๆ อารมณ์ทแกว่งไหวนีแหละทีเราจะต้องน�ำมา ั้ ี่ ้ ่ วินิจฉัยว่าเป็นเพราะเหตุใด มีสัญญา หรือวิบาก หรือกรรมอันใด เข้ามาประกอบ จึง ท�ำให้อารมณ์นั้นไม่เที่ยง เปลี่ยนรูปไปตาม สภาวะธรรมทั้งหลายที่มีอยู่แล้วและที่สร้างขึ้นมาใหม่ ทั้งหมด เกิดขึ้นในจิตของตัวเจ้าของเอง ถ้าเจ้าของไม่ศึกษา ไม่วิเคราะห์ วิจัย ย่อมไม่เข้าใจในจิตตน ฉะนั้นการศึกษาจึงเอาเพียงแค่ก�ำมือ ก็พอแล้ว คือรู้และเป็นผู้เข้าใจและฉลาดในจิตตนเองก็พอแล้ว สมมาทฏฐิ จึงมิได้หมายเพียงแค่อริยสัจสี่ แต่เป็นการหมายเอา ั ิ การศึกษาในอริยสัจสี่นี้เป็นเหตุ ผู้ที่จะศึกษาได้ทั้งทางกว้างและ ทางลึก ย่อมต้องเป็นผูมความรอบรูทเี่ รียกว่าพหูสต ฉะนัน พหุสจจะ ้ ี ้ ู ้ ั คือความเป็นผู้ศึกษาเรียนรู้มาก จึงเป็นมงคล เพราะเหตุแห่งการศึกษามาก เรียนรูมาก จึงเป็นผูมวทยามาก ้ ้ ีิ การมีวิทยามากย่อมท�ำให้เห็นช่องทางมาก ท�ำให้วินิจฉัยได้อย่าง กว้างขวาง และสามารถตีกรอบล้อมวงเข้าสู่การประมวลธรรมได้ โดยไมยาก จงจะเรยกไดวาเปนผมศลปวทยาในการนำเอาความรู้ ่ ึ ี ้ ่ ็ ู้ ี ิ ิ � ทมอยมาใชใหเ้ กดประโยชนไดมากทสด นคอความหมายของคำวา ี่ ี ู่ ้ ิ ์ ้ ี่ ุ ี้ ื � ่ สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน ๘
  • 11. สิบปัญ เพราะ สิบปัญ คือผู้ที่สามารถรวบรวมความรู้ที่ตนมีอยู่ ในหลายสาขามากแขนงวชามาเปนองคประกอบในการคด วนจฉย ิ ็ ์ ิ ิ ิ ั แกไขปญหาตางๆ ดวยมมมองทกวางไกล ทำใหไดหลกการทถกตอง ้ ั ่ ้ ุ ี่ ้ � ้ ้ ั ี่ ู ้ จึงเป็นมงคล มาถึงตรงนี้เราคงจะได้เห็นแล้วว่ามรรคแปดนั้นส�ำคัญยิ่ง ในการที่จะเป็นผู้ส�ำเร็จในการกิจที่ปรารถนา เพราะมรรคแปด ประกอบไปด้วยองค์ความรู้ ปัญญาอันยิ่ง พระพุทธองค์จึงได้ทรง ตรัสไว้ว่า “สัมมาทิฏฐิเป็นเหตุต้นของมรรคแปด ถ้าขาดเสียซึ่ง สัมมาทิฏฐิแล้ว ธรรมอันประเสริฐทั้งหลายที่จะตามมาย่อมไม่มี “ หลักธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๓ เมื่อตอนที่แล้วหลวงตาได้กล่าวถึง มรรคแปด ในหัวข้อ มรรคองคทหนงคอ สมมาทฏฐิ โดยหลวงตาไดใหทศนะของหลวงตา ์ ี่ ึ่ ื ั ิ ้ ้ ั ไว้ว่า สัมมาทิฏฐิหมายถึงความรอบรู้ในสรรพศาสตร์ เพื่อที่จะ ได้ท�ำให้เราคิดเป็น ไม่ใช่ว่าคนเราคิดไม่เป็น แต่เพราะความรอบรู้ ในสรรพศาสตร์ที่เรียกว่า พหูสูต นั้น ท�ำให้ผู้รู้มีมุมมองกว้างไกล และสามารถรวบรวมความรจากศาสตรแขนงตางๆ มาประกอบใน ู้ ์ ่ การคดวนจฉย เพอใหเ้ กดเปน สมมาสงกปปะ (Perfect Thought) ิ ิ ิ ั ื่ ิ ็ ั ั ั ความดำรชอบ ดำรชอบในอะไร ทานวาดำรชอบในการออกจากทกข์ � ิ � ิ ่ ่ � ิ ุ ก็ถ้าใครๆ ในที่ไหนๆ ไม่มีความรู้ในเรื่องทุกข์อย่างถ่องแท้ แล้วจะมีความคิดที่แยบยลแยบคายในการเอาตัวออกจากทุกข์ ได้หรือ ที่ว่า มรรคแปด นี้เป็นธรรมของโลก ก็เพราะว่าใครๆ ในที่ ๙ คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
  • 12. ไหนๆ ในโลกนี้ต่างก็ต้องศึกษาเรียนรู้ที่จะหลีกหนีความทุกข์ ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น ไม่มีใครๆ ในที่ไหนๆ จะยอมตนอยู่ใน ความทกข์ นอกจากผทไมสามารถทำความเขาใจในทกขทเี่ จาของ ุ ู้ ี่ ่ � ้ ุ ์ ้ กำลงเผชญอยู่ ถาลองไดศกษาทำความเขาใจในสณฐานของทกข์ � ั ิ ้ ้ ึ � ้ ั ุ คือองค์ประกอบทั้งหลายของทุกข์ที่เกิดขึ้นมา และสังขารก็คือ การปรุงแต่งอารมณ์ขององค์ประกอบทั้งหลายเหล่านั้นของทุกข์ เขาย่อมสามารถน�ำตัวเจ้าของออกจากทุกข์ได้ ก็ด้วยเหตุเพราะ สัมมาทิฏฐิ นีเ่ อง ฉะนันถ้าขาดเสียซึงองค์มรรคทีหนึงคือ สัมมาทิฏฐิ ้ ่ ่ ่ เป็นประธานแล้ว องค์มรรคทั้งหลายต่อๆ มาย่อมเกิดขึ้นไม่ได้ นี่จึงจะเรียกว่าตั้งไว้ได้ถูกต้องแล้วด้วยพระปัญญาอันยิ่ง และเมอมองยอนกลบไปที่ มงคลสามสบแปด ถาไมแยกตว ื่ ้ ั ิ ้ ่ ั ออกจากคนพาล ไม่คบหาบัณฑิต (คือผู้รู้ ผู้ตั้งอยู่ในศีลธรรม อนดงาม) ไมรจกนำเอาผทเี่ ปนแบบอยางอนดงามมาเปนตนแบบ ั ี ่ ู้ ั � ู้ ็ ่ ั ี ็ ้ แล้วล่ะก็ ไม่ว่าใครๆ ในที่ไหนๆ ย่อมไม่สามารถตั้งตนไว้ในที่ อนชอบได้เมอไมสามารถตงตนไวในทอนชอบได้กไมสามารถรกษาศล ั ื่ ่ ั้ ้ ี่ ั ็ ่ ั ี อันดีงามเพียงแค่ห้าข้อได้ เมื่อรักษาศีลไม่ได้ จะเป็นผู้ใฝ่เรียนใฝ่รู้ ไดอยางไร ยอมตองเปนคนพาล คดแบบคนพาล กลาวแบบคนพาล ้ ่ ่ ้ ็ ิ ่ กระท�ำแบบคนพาล แสวงหาอาชีพแบบคนพาล อยู่อย่างคนพาล ขวนขวายมากแบบคนพาล แล้วก็มงมันกระท�ำการต่างๆ อย่างคนพาล ุ่ ่ ฉะนั้นเริ่มต้นแห่งชีวิตเมื่อเยาว์วัย จึงต้องศึกษาให้เข้าใจใน มงคลสามสบแปด เหตเุ พราะ มงคลสามสบแปด นประกอบพรอม ิ ิ ี้ ้ ไปดวยธรรมอนงามทจะนำตวเจาของใหพนจากทกขภย สามารถ ้ ั ี่ � ั ้ ้ ้ ุ ์ ั ตั้งตนไว้ในที่ชอบได้ เพียงแค่ไม่คบคนพาล คบหาบัณฑิต ยกย่อง สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน ๑๐
  • 13. เทดทน นำเอาบคคลทมศลสมปทามาเปนแบบอยาง เขาเหลานน ิ ู � ุ ี่ ี ี ั ็ ่ ่ ั้ ย่อมตั้งตนไว้ในที่ชอบได้ ย่อมเป็นผู้มีศีลสัมปทา ย่อมใฝ่เรียนใฝ่รู้ ที่จะน�ำตนออกจากทุกข์ ย่อมเป็นพหูสูต ด�ำรงตนไว้ในสัมมาทิฏฐิ ยอมเปนผมสมมาสงกปปะ คอเปนผมความคดอนงามแยบยลและ ่ ็ ู้ ี ั ั ั ื ็ ู้ ี ิ ั แยบคาย ไมเ่ ปนผหลงงมงาย เหตเุ พราะเปนผรู้ ผตนจากความเขลา ็ ู้ ็ ู้ ู้ ื่ เป็นผู้เบิกบานด้วยปัญญาอันปราศจากมลทิน ย่อมกล่าววาจา อันบัณฑิตยกย่อง ย่อมก่อกรรมต่างๆ ที่ไม่ประกอบด้วยอบาย ย่อมหาเลี้ยงชีพอย่างผู้ทรงคุณธรรมอันงาม ย่อมมีความเป็นอยู่ อย่างพอเพียง ย่อมเป็นผู้ขวนขวายมากในการที่จะเกื้อกูลมาก ต่อตนเอง ต่อหมู่ญาติ ต่อผู้อื่น และต่อหมู่สัตว์ทั้งในที่สูงและที่ต�่ำ และที่สุดย่อมมีความมุ่งมั่นในการกิจต่างๆ เยี่ยงบัณฑิตทั้งหลาย พึงกระท�ำ ทั้งหลายเหล่านี้ย่อมน�ำให้ตัวเจ้าของเป็นผู้ประกอบ พรอมดวย สัมมาปัญญา อนจะนำสวงมรรคแปดทสงยงๆ ขนไปใน ้ ้ ั � ู่ ี่ ู ิ่ ึ้ ชวตตน นบไมรจบจนกวาจะพบทางแหงพระนพพาน คอความพนไป ีิ ั ่ ู้ ่ ่ ิ ื ้ จากโลกธรรมแปด ไม่กระทบแล้วจากอุปกิเลสที่จรมา เพราะเป็น ธรรมดาของจิต “จิตนี้ผ่องใส ก็แต่ว่าจิตนั้นแล ย่อมเศร้าหมองได้เพราะ อุปกิเลสที่จรมา” “จิตนีผองใส ก็แต่วาจิตนันแล ย่อมหลุดพ้นได้จากอุปกิเลส ้ ่ ่ ้ ที่จรมา” เมื่อนั้นจิตย่อมไม่มีความเศร้าหมอง ปราศจากธุลีคือราคะ มีความเบิกบานสุขเกษม พ้นจากความยึดมั่นทั้งปวง ๑๑ คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
  • 14. จากนี้ไปหลวงตาจะได้น�ำท่านทั้งหลายเข้าสู่เส้นทางแห่ง มรรคแปดอยางรวบรด ตดความยนยอเอาแตเ่ พยงพอเขาใจ เชอวา ่ ั ั ่ ่ ี ้ ื่ ่ ท่านทั้งหลายย่อมเป็นผู้รู้คงแก่ปัญญา สามารถท�ำความเข้าใจได้ โดยไม่ยาก เป็นธรรมดาของชาวเหมืองผูปรารถนาจะได้ไม้ไปท�ำฟืน ้ ยอมตองคดหาไมดทไมเ่ ปราะผุ ผเู้ ปนครผสอนศษยกเ็ ชนกน ยอมตอง ่ ้ ั ้ ี ี่ ็ ู ู้ ิ ์ ่ ั ่ ้ คัดหาศิษย์ที่ดีมีคุณค่าแก่การถ่ายทอดสอนสั่ง คนไร้คุณภาพ ก็เปรียบดั่งไม้ผุที่รังแต่จะท�ำให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งรอบข้าง ได้ ง ่ า ย เหตุ เ พราะควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ไ ด้ ย าก ไม้ ดี ย ่ อ มมี พ ลั ง ที่ สม�่ำเสมอควบคุมได้ง่าย ไม้ผุนั้นลุกเร็วและมอดเร็ว จะให้เป็นเชื้อ กทำไดยาก คนทเี่ ปรยบดงไมผอยทใดกรงแตจะสรางความฉบหาย ็ � ้ ี ั่ ้ ุ ู่ ี่ ็ ั ่ ้ ิ ให้แก่ที่นั้นๆ คนดีเปรียบดั่งเพชรงามน�้ำดี ย่อมมีราคาควรค่าแก่ การรักษา ทั้ ง ที่ เ พชรและถ่ า นต่ า งก็ ม าจากไม้ เ หมื อ นกั น ไม้ที่ถูกเผาจนกลายเป็นถ่าน ไม้ที่ผุก็กลายเป็นเถ้า ไม้ดี ก็เป็นถ่าน ผ่านกาลเวลาที่ยาวนาน รับแรงกดดันต่างๆ จากสภาพแวดล้อมมากมาย จึงได้กลายเป็นเพชร ผู้ศึกษาก็เช่นกัน โดนเผาเพียงนิดก็หมดสภาพ เปรียบได้แค่ ไมผทผานแรงกดดนไดเ้ พยงเลกนอย เปรยบไดแคถานทรบแรงกดดน ้ ุ ี่ ่ ั ี ็ ้ ี ้ ่ ่ ี่ ั ั เพียงแค่เตาเผา เป็นคนต้องไม่ท้อ ถ้าเกิดท้อก็จงอย่าถอย ถ้าท้อแล้วถอยก็เปรียบได้เพียงแค่ถ่าน ถ้าผ่านด่านต่างๆ ก็เปรียบได้ดั่งเพชร สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน ๑๒
  • 15. หลักธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๔ เมื่อตอนที่แล้วหลวงตาได้น�ำเอาคุณธรรมข้อมรรคแปด มาแสดงพอเปนสงเขป มใจความสรปไดวามรรคแปดเปนคณธรรม ็ ั ี ุ ้่ ็ ุ ของโลกทนำใครๆ ในทไหนๆ ทวทงโลกนใหพนจากทกขได้ คราวนี้ ี่ � ี่ ั่ ั้ ี้ ้ ้ ุ ์ หลวงตาจะไดมากลาวถงเรองของคณธรรมสามประการทเี่ รยกวา ้ ่ ึ ื่ ุ ี ่ โอวาทะปาฏิโมกข์ หรือ ปฐมเทศนา ซึ่งเป็นหัวใจของค�ำสอน ทั้งปวงขององค์พระพุทธศาสดา สพพะปาปสสะ อะกะระณง : บาปหรืออกุศลทังหลาย ไม่ใช่กจ ั ั ั ้ ิ ที่ควรท�ำอีกแล้ว กุสะลัสสูปะสัมปะทา : จงสร้างกุศลให้สมบูรณ์พูนพร้อม สะจตตะปะรโยทะปะนง : ชำระจตใหผองแผว ผองใส ไรธลี ิ ิ ั � ิ ้่ ้ ่ ุ้ จากคุณธรรมอันงามยิ่งที่องค์พุทธศาสดาได้ตรัสรู้ธรรม ทั้งปวงแจ้งโลกแล้ว พระพุทธองค์จึงได้รวบรวมความรู้ทั้งปวง ทตรสรแลว แจงแลว วนจฉยและรวบรวมประมวลความรเู้ หลานน ี่ ั ู้ ้ ้ ้ ิ ิ ั ่ ั้ เรยบเรยงเปนเรองราวความรู้ เรยงลำดบเนอความตรงทศทางและ ี ี ็ ื่ ี � ั ื้ ิ หลักไวยากรณ์ เพื่ออบรมสั่งสอนตนเองเป็นอันดับแรก ทรงเปล่ง พระอุทานถึงหัวใจแก่นของความรู้เหล่านั้นถึงสามครั้ง จึงเสวย บรมสขอยภายใตวชชาเหลานนรวมเจดสปดาห์ เมอสนสสบเกาวน ุ ู่ ้ิ ่ ั้ ็ ั ื่ ิ้ ี่ ิ ้ ั หลังจากตกลงพระทัยว่าตามค�ำทูลร้องขอของเหล่าเทวดา อินทร์ พรหม พระพุทธองค์จึงได้เพ่งพระญาณไปยังหมู่สัตว์ ทรงแยก สัตว์ทั้งหลายออกไปตามกรรม โดยเปรียบกับบัวสี่เหล่า เพ่งค้น ๑๓ คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
  • 16. ผู้มีบุญญาธิการที่ยังมีชีวิตอยู่ จึงได้เร่งด�ำเนินไปสู่ที่พ�ำนักของ ปัญจวัคคีย์ ทรงแสดงปฐมเทศนา ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี ธรรมดาของนักบวช การละเว้นไม่ท�ำสิ่งชั่วทั้งหลายที่เป็น บาปอกุศลเป็นกิจที่ต้องบ�ำเพ็ญเพียรอยู่แล้ว การเจริญภาวนา ขัดเกลาอบรมบ่มนิสัยอันเป็นธรรมดาของปุถุชน ก็เป็นกิจที่ต้อง บ�ำเพ็ญเพียรอยู่ทุกลมหายใจอยู่แล้ว ทั้งสองเรื่องที่พระพุทธองค์ ทรงแสดง ปญจวคคยคอนกบวชทงหานนเขาใจและบำเพญเพยร ั ั ี์ ื ั ั้ ้ ั้ ้ � ็ ี อยแลว แตทวา สะจตตะปะรโยทะปะนง นสเิ ปนเชนไร ปญจวคคย์ ู่ ้ ่ ี่ ่ ิ ิ ั ี้ ็ ่ ั ั ี ทลถาม พระพทธองคจงอธบายความวาปกตของปถชนคนชาวบาน ู ุ ์ึ ิ ่ ิ ุุ ้ ย่อมหมกมุ่นอยู่ในกามคุณห้า นี้ไม่ใช่ทางเดินของอริยบุคคล การทรมานตนอย่างที่ผ่านมาของพระองค์และนักบวชทั้งหลาย ก็ไม่ใช่ทางเดินของอริยบุคคล หนทางที่ถูกต้องคือ ทางสายกลาง ทางสายกลางที่ว่านี้ คือหนทางที่จะน�ำปุถุชนคนธรรมดาที่ปรารถนาจะหลุดพ้นจาก พนธนาการทงปวงของโลกยวสย ออกบวชเพอแสวงหาโมกขธรรม ั ั้ ี์ิ ั ื่ ์ ควรปฏบติ ทางสายกลางคออะไรเลา ทางสายกลางทวานประกอบ ิ ั ื ่ ี่ ่ ี้ ไปด้วยคุณธรรมแปดประการ คุณธรรมแปดประการนี้เป็นหนทาง เป็นประตูชัยมุ่งไปสู่ ความส�ำเร็จ นอกจากการละเว้นไม่ท�ำบาปอกุศล หลีกหนีหนทาง เศราหมองอนเกดแตกามคณ บำเพญบญอยางยงยวด โดยไมทรมาน ้ ั ิ ่ ุ � ็ ุ ่ ิ่ ่ ตนเอง ย่อมท�ำให้จิตใจผ่องใส มีก�ำลังกาย ก�ำลังจิต เพื่อที่จะ สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน ๑๔
  • 17. ได้ศึกษาธรรมทั้งหลายอย่างถ่องแท้ ธรรมใดที่เกิดขึ้นในตน ไม่ว่า จะทางกาย ทางวาจา ทางจต ตองไมเ่ หนเปนเรองไรสาระ ตองนำมา ิ ้ ็ ็ ื่ ้ ้ � พิจารณาว่ามันเกิดขึ้นมาได้อย่างไร มีอะไรเป็นเครื่องปรุงแต่ง อารมณ์ในขณะนั้นเป็นเช่นไร หวั่นไหวมากน้อยเพียงใด หวั่นไหว ก็ต้องรู้ สงบนิ่งก็ต้องรู้ รู้ในทุกขณะจิตของธรรมทั้งมวลที่เกิดขึ้น ศกษาอยางนใหเ้ ขาใจ เขาถง จงจะคนพบตนเหตแหงธรรมเหลานน ึ ่ ี้ ้ ้ ึ ึ ้ ้ ุ ่ ่ ั้ พึงท�ำความรู้ความเข้าใจในธรรมทั้งหลายเหล่านั้นว่านี้คือทุกข์ เมอไดศกษาธรรมทงหลายทเี่ รยกวาทกขแลว เขาถงแลว เขาใจแลว ื่ ้ ึ ั้ ี ่ ุ ์ ้ ้ ึ ้ ้ ้ ย่ อ มเห็ น เหตุ คือสมุฏ ฐานของทุก ข์เหล่า นั้ น เมื่ อ เห็ น เหตุ แ ล้ ว ยอมศกษาเรยนรเู้ หตเุ หลานน วนจฉย วจย และพฒนาหาหนทางทจะ ่ ึ ี ่ ั้ ิ ิ ั ิ ั ั ี่ ดบเหตเุ หลานน เมอศกษาแลว มองคความรทงมวลทไดศกษาผานมา ั ่ ั้ ื่ ึ ้ ี ์ ู้ ั้ ี่ ้ ึ ่ ประกอบเป็นธรรมอันงามที่จะน�ำมาเป็นหนทางในการดับทุกข์ เหล่านั้นให้สิ้นไป ที่กล่าวมาทั้งหมดนั้นก็จะเห็นถึงองค์อริยสัจจะคือ ทุกข์ ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ และ ทุกขนิโรธคามินี ปฏิปทา หรือโดยย่อ ทเี่ ขาใจกนทวไปวา ทกข์ สมทย นโรธ มรรค นนเอง ทงนการจะไดมา ้ ั ั่ ่ ุ ุ ั ิ ั่ ั้ ี้ ้ ซึ่งองค์รู้นี้ก็ต้องอาศัยความรู้รอบในสรรพสิ่งทั้งหลายที่ประกอบ โดยรอบตวเจาของทงภายนอกและภายในอยางถองแท้ จงจะเปน ั ้ ั้ ่ ่ ึ ็ องคมรรคทหนงคอ สมมาทฏฐิ เมอมองคมรรคทหนงแลว ดงไดกลาว ์ ี่ ึ่ ื ั ิ ื่ ี ์ ี่ ึ่ ้ ั่ ้ ่ ไว้แต่ต้นเมื่อตอนก่อนๆ เพราะอาศัยธรรมต่างๆ ซึ่งกันและกันเป็น ปัจยาการ คือ ปฏิจสมุปบาทธรรม นั่นเอง จึงเกิดองค์มรรคที่สอง เพราะธรรมทงหลายทประกอบมานน อยในขอบเขตแหงศลอนดงาม ั้ ี่ ั้ ู่ ่ ี ั ี เปนทตง จงเกดเปนองคมรรคทสาม และองคมรรคตอๆ ไปดงทได้ ็ ี่ ั้ ึ ิ ็ ์ ี่ ์ ่ ั ี่ กล่าวมาแล้ว ๑๕ คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
  • 18. ฉะนั้นเมื่อเห็นทางสายกลางคือ มรรคแปด แล้ว เราก็พอจะ เขาใจในคณธรรมขอทสามทวา สะจตตะปรโยทะปะนง การทำจต ้ ุ ้ ี่ ี่ ่ ิ ิ ั � ิ ให้ผ่องแผ้วปราศจากธุลีแล้วล่ะนะ แล้ว มรรคแปด นี้ยังมิใช่ เปนเพยงแคหนทางในการดบทกขของนกบวชเทานน แมในปถชน ็ ี ่ ั ุ ์ ั ่ ั้ ้ ุ ุ คนธรรมดาที่เข้าใจในมรรคแปด ก็สามารถน�ำเอามรรคแปดนี้ มาประยกตใชกบชวตเพอใหนำสความสำเรจในกจทปรารถนาได้ ุ ์ ้ ั ี ิ ื่ ้ � ู่ � ็ ิ ี่ อย่างวิเศษยิ่ง ในองค์ ม รรคแปดนี้ ก อปรไปด้ ว ยคุ ณ ธรรมค� ำ สอนของ องค์พระพุทธศาสดาอีกมากมาย ดังจะเห็นได้ว่าพระพุทธศาสดา หลังจากแสดงปฐมเทศนาแล้ว ได้ทรงสั่งสอนเวไนยสัตว์ทั้งหลาย ในที่มากมายหลายสถาน ต่างกาล ต่างสมัย ซึ่งสมัยที่พระพุทธ ศาสดาแสดงปฐมเทศนานี้ ในพระสูตรแสดงไว้วา “สมยหนง พระผมี ่ ั ึ่ ู้ พระภาคเจา เสดจอยู่ ณ ปาอสปตนมฤคทายวน ใกลกรงพาราณส.ี ..” ้ ็ ่ ิิ ั ้ ุ พระสูตรนี้คือ ธัมมจักกัปปวัตตนสุตต ในครั้งนี้หลวงตาขอจบคุณธรรมสามประการ อันเกิดแต่ ปฐมเทศนา คือ ธัมมจักกัปปวัตตนสุคต ในตอนต่อไปหลวงตา จะน�ำค�ำสอนของพระพุทธศาสดามาแสดงในทัศนะของหลวงตา ก็คงต้องกล่าวในที่นี้อีกครั้งว่านี่เป็นทัศนะของหลวงตาที่รวบรวม คำสอนขององคพระพทธศาสดามาสอนตวเอง ไมไดอยในสอใดๆ � ์ ุ ั ่ ้ ู่ ื่ เป็นการศึกษาแล้วรวบรวมประมวลมา แล้ววินิจฉัย วิจัยไปตาม ความรู้ที่มีเพียงน้อยนิด เอาไว้สอนตนเอง สอนตัวเจ้าของให้ ตงอยในความไมประมาท มไดมเจตนานำมาสอน แตมาเลาใหได้ ั้ ู่ ่ ิ ้ ี � ่ ่ ้ นำไปเปนขอคดอกสวนหนง ไมไดมงหมายใหเ้ ชอ เพยงเปนสวนเลกๆ � ็ ้ ิ ี ่ ึ่ ่ ้ ุ่ ื่ ี ็ ่ ็ สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน ๑๖
  • 19. ของธุลีที่รองอยู่ใต้พระบาทขององค์พระพุทธศาสดา หนานับชั้น ไม่ถวน ขอเพียงมีส่วนได้น�ำเอาค�ำสอนขององค์พระพุทธศาสดา ้ มาศึกษาวินิจฉัย แล้วน�ำให้ตัวเจ้าของเป็นสุขได้โดยไม่ยากนัก ก็เพียงพอแล้ว ขอบุญจงรักษาท่านทังหลายผูบำเพ็ญบุญ เพือบูชา ้ ้ � ่ พระคุณแห่งพระพุทธศาสดา หลักธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ตอนที่ ๕ เมื่อตอนที่แล้วหลวงตาได้น�ำเอามรรคแปดที่ประกอบอยู่ใน คณธรรมสาม อนเกดแตปฐมเทศนามาขยายความในอกรปแบบหนง ุ ั ิ ่ ี ู ึ่ ครั้งนี้ก็จะขอน�ำเอามงคลสามสิบแปดที่เคยกล่าวถึงมากล่าวไว้ ให้ได้สดับกันในรูปแบบของหลวงตา ถ้าเราแบ่งวัยของเราออกเป็นสามวัย คือปฐมวัย มัชฌิมวัย และปัจฉิมวัย แล้วลองเอาค�ำสอนขององค์พระพุทธศาสดาเข้าไป ประกอบในวัยทั้งสาม แล้วน�ำเอาชีวิตจริงของเราๆ ทั้งหลายมา ตีคลี่ออกดูว่าเราจะเห็นอะไร ต่อไปนี้เป็นทัศนะของหลวงตาที่ได้น�ำวัยทั้งสามมากล่าว ประกอบกบพระธรรมเทศนามงคลสามสบแปด อนเปนคำสอนของ ั ิ ั ็ � องค์พระพุทธศาสดา แล้วได้เห็นการด�ำเนินไปอย่างถูกต้องและ ไม่ถูกต้อง ท�ำให้หวนคิดไปในอดีตที่ผ่านมา แล้วก็ต้องอุทานว่า “รู้อย่างนี้ไม่ท�ำเสียดีกว่า” เรมตนประกอบมงคลสามสบแปดเขากบชวต อนทจรงมงคล ิ่ ้ ิ ้ ั ี ิ ั ี่ ิ สามสบแปดนสามารถนำมาประกอบเขากบปฐมวยทงสามสบแปด ิ ี้ � ้ ั ั ั้ ิ ๑๗ คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
  • 20. ประการเลยก็ได้ แต่ในที่นี้หลวงตาจะแสดงการประกอบเข้ากับ วยทงสามโดยรวม โดยในชวงแรกนเี้ ปนการประกอบเขากบ ปฐมวย ั ั้ ่ ็ ้ ั ั “ อะเสวะนา จะ พาลานัง บัณฑิตานัญจะ เสวนา ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ” ก่ อ นอื่ น ต้ อ งขออธิ บ ายความก่ อ นว่ า มงคลทั้ ง สามข้ อ นี้ ถ้าปฏิบตเิ พียงแค่ขอหนึงข้อใด ทีถกก็เป็นมงคล ทีผดก็เป็นอวมงคล ั ้ ่ ู่ ่ิ แต่ถ้าปฏิบัติตามได้ทั้งสามข้อ ก็เป็นมงคลอันสูงสุด ในเรื่องของการเริ่มต้นคัดเลือกคบหาเสวนากับบุคคลอื่น ถาแมนวาเราอยในครอบครวทไมใชพาลแลวไซร้ พอแมผปกครอง ้ ้ ่ ู่ ั ี่ ่ ่ ้ ่ ่ ู้ ย่อมต้องสอนสั่งไม่ให้ไปคบหาเล่นหัวกับคนเกเร นี้เป็นธรรมดา แตทจะสอนใหคบบณฑตคอคนมคณธรรมนน เมออยในชวงเยาววย ่ ี่ ้ ั ิ ื ีุ ั้ ื่ ู่ ่ ์ั ยังเล็กอยู่ การคิดพิจารณาที่คัดเลือกคนที่จะคบด้วยตนเองย่อม ยงไมมหรอมอยนอย เนองจากยงขาดประสบการณและสตปญญา ั ่ ี ื ี ู่ ้ ื่ ั ์ ิ ั ท�ำให้คดเลือกแยกไม่ออก ยิงทีจะสอนให้เอาคนดีมคณธรรมมาเป็น ั ่ ่ ี ุ ตวอยางแลวละกนาจะหาไดยาก กถาแมนวาพอแมผปกครองเปน ั ่ ้ ่ ็ ่ ้ ็ ้ ้ ่ ่ ่ ู้ ็ คนดีมีศีลธรรม ผ่านการอบรมด้วยมงคลข้อนี้มาแล้ว เป็นบัณฑิต ย่อมสอนมงคลนี้แก่บุตรธิดาได้ไม่ยาก “ ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ” เช่นเดียวกันมงคลสามสิบแปดนี้ พระพุทธศาสดาได้แบ่งไว้ เปนชด ในชดนกมอยดวยกนสามขอ การจะเปนมงคลอนสงสดได้ ็ ุ ุ ี้ ็ ี ู่ ้ ั ้ ็ ั ู ุ สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน ๑๘
  • 21. จะต้องปฏิบัติให้ส�ำเร็จเป็นชุด ไม่เลือกเพียงบางข้อ และยิ่งถ้า ปฏบตไดอยางตอเนองทงสามสบแปดขอ กจะสมฤทธผลอนสงสด ิ ั ิ ้ ่ ่ ื่ ั้ ิ ้ ็ ั ิ ั ู ุ ดังจะแสดงไว้ในตอนท้าย ในเมอไดปฏบตตนอยในกรอบของมงคลอนสงสดสามขอแรก ื่ ้ ิ ั ิ ู่ ั ู ุ ้ ย่อมเป็นผู้มีบุญ “ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา” หมายความว่า เป็นผู้ได้สั่งสมบุญมาแต่กาลก่อน ย่อมต้องมีโอกาสดี ได้ย้าย ถิ่นฐานไปในที่เจริญยิ่งขึ้น คือได้ไปเล่าเรียนอ่านเขียนในโรงเรียน ทีมการเรียนการสอนทีเ่ จริญก้าวหน้า “ปะฏิรปะเทสะวาโส” ประเทศ ่ ี ู หรือสถานที่ที่ปฏิรูปแล้ว คือเจริญแล้ว และเมื่อได้ย้ายถิ่นฐาน หรือได้เดินทางไปอยู่ในที่ดีแล้ว (หมายถึงการศึกษาในปฐมวัย) มความเจรญกาวหนาทางวชาการ สรางภมปญญาไดมาก กจะตอง ี ิ ้ ้ ิ ้ ู ิ ั ้ ็ ้ ไม่ประมาท ด�ำรงตนเองไว้ในที่ตั้งอันถูกต้อง คือไม่ลืมที่จะรักษา ประพฤตปฏบตตนตามมงคลสามขอแรกทผานมา กระทำไดเ้ ยยงนี้ ิ ิ ั ิ ้ ี่ ่ � ี่ จึงจะถือได้ว่าเป็นมงคลอันสูงสุดในล�ำดับที่สอง “ พหุสัจจัญจะ สิบปัญจะ วินะโย จะ สุสิกขิโต สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ” ในมงคลชดนมขอปฏบตรวมอยสขอ เชนกน ตองปฏบตตาม ุ ี้ ี ้ ิ ั ิ ู่ ี่ ้ ่ ั ้ ิ ั ิ ให้ครบ จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด ในเมื่อได้มาอยู่ในถิ่นฐานที่เจริญ ย่อมมีวิชาการความรู้ มากมายให้ศึกษา เหตุเพราะเป็นผู้ตั้งตนเองไว้ในที่ชอบแล้ว จึงมีสติปัญญาในการที่จะคัดเลือกแต่สิ่งดีงาม ศึกษาให้ถ่องแท้ ๑๙ คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
  • 22. ให้เข้าใจถึงแก่นแท้ของวิชาการที่ตนศึกษา เพื่อที่จะได้ก่อเกิด ปญญาในการนำเอาวชาการทไดศกษานน มาสรางคณประโยชน์ ั � ิ ี่ ้ ึ ั้ ้ ุ ให้แก่ชีวิตตน หรือเพื่อการศึกษาที่เจริญยิ่งๆ ขึ้นไป มีศิลปะ ในการน�ำความรู้นั้นมาใช้ให้เกิดประโยชน์อันสูงสุด ในการด�ำรง ชีวิตอยู่ท่ามกลางความเจริญ ย่อมต้องมีสิ่งฟุ้งเฟ้อล่อตาล่อใจ เปนธรรมดา ตนเองตองมวนยอนดดวย จดระเบยบชวตการศกษา ็ ้ ีิ ั ั ี ้ ั ี ีิ ึ ให้สมกับเป็นกุลบุตรกุลธิดา ฝึกฝนท่องบ่น อ่านเขียน เรียนพูด ใหเ้ ขากบสงคมอนดงาม ไมกลาวสงใดเลยเถดเกนวย รจกเดกรจก ้ ั ั ั ี ่ ่ ิ่ ิ ิ ั ู้ ั ็ ู้ ั ผู้ใหญ่ ไม่กล่าววาจาเล่นหัวเป็นที่น่ารังเกียจ วาจาที่กล่าวออกไป ก็ต้องถนอมน�้ำใจผู้รับฟังด้วย เช่นนี้จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด “ มาตาปิตุอุปัฏฐานัง ปุตตะธารัสสะ สังคะโห อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ” มงคลชุดนี้ก็มีข้อปฏิบัติอยู่สี่ข้อเช่นกัน ต้องปฏิบัติตาม ให้ครบ จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด เมอผานการฝกฝนรำเรยนวทยามามากแลว ยามเมอกลบมา ื่ ่ ึ �่ ี ิ ้ ื่ ั ถึงบ้านก็ต้องช่วยเหลือการงานของมารดาบิดา เมื่อยังเยาว์วัย กเ็ พยงชวยงานในบาน ทำความสะอาด รดนำตนไม้ ใหอาหารสตว์ ี ่ ้ � �้ ้ ้ ั เก็บพืชผลต่างๆ ทีสมควรจะเก็บได้แล้ว หรือเก็บกวาดข้าวของทีทง ่ ่ ิ้ ระเกะระกะใหดสะอาดงามตา ใครไปใครมากจะไมวากลาวตำหนเิ อา ู้ ็ ่่ ่ � ตวยงเยาววยยงไมมบตรภรยาใหตองสงเคราะหดแล ขอนกใหดแล ั ั ์ั ั ่ ี ุ ิ ้ ้ ์ ู ้ ี้ ็ ้ ู พีนอง ช่วยสอนการบ้านให้นอง ช่วยท�ำงานบ้านแทนพีทยงไม่เสร็จ ่ ้ ้ ่ ี่ ั ธุระเพราะอาจจะมีการบ้านจากที่เล่าเรียนมามาก และการบ้าน สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน ๒๐
  • 23. การงานกิจต่างๆ ของตนก็ต้องไม่คั่งค้าง ไม่อ้างเหตุผู้อื่นมาแก้ตัว ถาเปนผมครอบครวกทำหนาทตนโดยไมละทงหนาทของบตรธดา ้ ็ ู้ ี ั ็ � ้ ี่ ่ ิ้ ้ ี่ ุ ิ ที่ดีด้วย ท�ำได้อย่างนี้จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด “ ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ” มงคลชุดนี้มีด้วยกันสี่ข้อ ต้องปฏิบัติตามให้ครบ จึงจะเป็น มงคลอันสูงสุด ในเมอชวตดำเนนมาถงวยอนสมควร รจกขวนขวายทำการงาน ื่ ี ิ � ิ ึ ั ั ู้ ั � หรื อ กิ จ กรรมใดๆ ที่ ดี ง าม ไม่ เ ป็ น ที่ ต� ำ หนิ ติ ติ ง ของสั ง คมและ หมบณฑต ควรจะเปนเรองของการชวยเหลอสงคม หมบาน ตำบล ู่ ั ิ ็ ื่ ่ ื ั ู่ ้ � อ�ำเภอ หรือจังหวัด หรือถ้าใครมีโอกาสมากก็อาจจะถึงระดับชาติ แตกตองตงอยในเรองทดงาม ไมเ่ ปนทตำหนิ ถอวากจกรรมเหลานี้ ่ ็ ้ ั้ ู่ ื่ ี่ ี ็ ี่ � ื ่ ิ ่ ก็เป็นการให้ทานอย่างหนึ่ง หรือจะท�ำทานด้วยวิธีใดๆ มีมากมาย หลายวธี เพยงเนนในเรองการทำทาน เพราะวาจะเปนการเสรมสราง ิ ี ้ ื่ � ่ ็ ิ ้ บารมีสั่งสมเอาไว้ในภายภาคหน้า เหตุเพราะผลของทานนั้นมี ประกอบกับการรู้จักประพฤติปฏิบัติธรรมในทางที่ถูกต้อง ศึกษา เรียนรู้ขนบธรรมเนียมประเพณี และศีลธรรมอันดีงามจากผู้รู้ ครู อาจารย์ นี้ก็เป็นการเสริมสร้างพอกพูนบารมี และเมื่อผลของ บุญบารมีประกอบกับผลของทานสนองต่อตัวเจ้าของแล้ว ย่อมมี ผลมากชนิดที่อาจจะคาดคิดไม่ถึงก็มี ในขณะเดียวกันเมื่อเข้าสู่ สงคมแลวกตองไมหลงสงคมจนลมหมญาติ ทงทใกลชดสนทสนม ั ้ ็ ้ ่ ั ื ู่ ั้ ี่ ้ ิ ิ ๒๑ คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
  • 24. และทนานครงจะไดพบเจอ เมอไดพบเจอในสงคมกตองขวนขวาย ี่ ั้ ้ ื่ ้ ั ็ ้ ชวยเหลอไมเกยงงอน ไมอางเหตุ อยางนจงจะเปนมงคลอนสงสด ่ ื ่ ี่ ่้ ่ ี้ ึ ็ ั ู ุ “ อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ” มงคลชุดนี้มีด้วยกันสามข้อ เช่นเดียวกันต้องปฏิบัติให้ครบ จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด เมือก้าวสู่ มัชฌิมวัย คนในวัยกลางคนนีเ้ ป็นทีปรารถนานักของ ่ ่ หญงแพศยา ยอมมสงคมมาก ยอมตองมการดมกน เลยงสงสรรค์ ิ ่ ี ั ่ ้ ี ื่ ิ ี้ ั กันมาก ความประมาทในธรรมทั้งหลายย่อมเกิดขึ้นได้ง่าย ฉะนั้น การจะรกษาตนใหตงอยในศลธรรมอนดงาม กตองอาศยการฝกฝน ั ้ ั้ ู่ ี ั ี ็้ ั ึ มาดในมงคลทผานมา ศลและธรรมทศกษาผานมายอมตองนำมาใช้ ี ี่ ่ ี ี่ ึ ่ ่ ้ � เพอหกหามจตใจตนมใหตกไปอยในความประมาททงปวง เมอไม่ ื่ ั ้ ิ ิ ้ ู่ ั้ ื่ ประมาทแลว การกจตางๆ ยอมไมหลงไปในทางบาปชว การเขาสงคม ้ ิ ่ ่ ่ ั่ ้ ั ก็จะรูจกประมาณตน ไม่ตกเป็นทาสน�ำเมา กินเหล้าแต่อย่าให้เหล้ากิน ้ั ้ สุรานั้นมีคุณอนันต์และก็มีโทษมหันต์ด้วย ในข้อนี้จะเห็นได้ว่า พระพทธศาสดานนเขาใจชวตอยางถองแท้ จงมไดหามอยางเดดขาด ุ ั้ ้ ี ิ ่ ่ ึ ิ ้้ ่ ็ แตจะสอนสงใหไมประมาท มสตตงมนรประมาณในตน ทำไดอยางนี้ ่ ั่ ้ ่ ี ิ ั้ ั่ ู้ � ้ ่ จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด “ คาระโว จะ นิวาโต จะ สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ” มงคลชดนมหาขอ ตองปฏบตใหครบ จงจะเปนมงคลอนสงสด ุ ี้ ี ้ ้ ้ ิ ั ิ ้ ึ ็ ั ู ุ สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน ๒๒
  • 25. ในเมอมสงคมมาก เขาสงคมมาก ยอมตองพบปะผคนมากหนา ื่ ี ั ้ ั ่ ้ ู้ ้ หลายตา ทั้งรุ่นราวคราวเดียวกัน ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ การอ่อนน้อม ถ่อมตน มีสมมาคารวะ สงบเสงียม รูกตัญญูในคุณของผูทเี่ คยอุปถัมภ์ ั ่ ้ ้ คำจน ยอมเปนทนบหนาถอตาในสงคม เปนทเี่ คารพนบนอบสำหรบ �้ ุ ่ ็ ี่ ั ้ ื ั ็ � ั ผู้ที่ด้อยกว่า ผู้ใหญ่ก็เรียกหา การศึกษาฟังธรรมค�ำสอนอันดีงาม จากบัณฑิตผู้เป็นครูอาจารย์ย่อมจ�ำเป็นอย่างยิ่ง ท�ำได้อย่างนี้ จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด “ ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ” มงคลชุดนี้มีด้วยกันสี่ข้อ เช่นเดียวกับชุดอื่นๆ ต้องประพฤติ ปฏิบัติให้ครบ จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด วัยกลางคนนี้เป็นวัยที่มีความเจริญก้าวหน้าทั้งในหน้าที่ การงาน รบราชการกมความเปนใหญ่ ยอมตองมความหยงผยองบาง ั ็ ี ็ ่ ้ ี ิ่ ้ เป็นธรรมดา ในคนที่ไม่อบรมตนมาดีก็จะล�้ำหน้ามากเกินไป จนนารงเกยจ ใชอำนาจหนาททำรายทำลายผอนไดงาย เหตเุ พราะ ่ ั ี ้� ้ ี่ � ้ � ู้ ื่ ้ ่ ขาดขนตอดทนตอแรงกระทบ จงสมควรทจะตองสละเวลาอนมมาก ั ิ ่ ึ ี่ ้ ั ี ศกษาพระธรรมคำสอนจากสมณสงฆ์ ผมศลธรรมอนงาม ผานกาล ึ � ู้ ี ี ั ่ เวลาอบรมบมตนมามากมาย เปนผทมความสงบระงบแลว เพอทจะ ่ ็ ู้ ี่ ี ั ้ ื่ ี่ ได้มีความอดทนขันติ รู้จักเคารพในความคิดเห็นของผู้อื่น รับฟัง ความเห็นของผู้อื่นด้วยความสงบ ไม่ใช้อ�ำนาจ ประดุจหนึ่งเป็น ผู้ว่านอนสอนง่าย ท�ำได้เช่นนี้จึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด ๒๓ คำ�สอนของพระพุทธเจ้า
  • 26. “ ตะโป จะ พรัหมะจะริยัญจะ อะริยะสัจจานะทัสสะนัง นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ” มงคลชดนมดวยกนสขอ ตองประพฤตปฏบตใหครบ จงจะเปน ุ ี้ ี ้ ั ี่ ้ ้ ิ ิ ัิ ้ ึ ็ มงคลอันสูงสุด ในเมื่อวัยกลางคนที่รุ่งเรืองผ่านไป วัยชราหรือ ปัจฉิมวัย ก็เข้ามาเยือน หน้าที่การงานที่ผ่านมาก็ท�ำได้ส�ำเร็จดี ครอบครัว ลูกหลานก็มีความมั่นคง ไม่น่าจะมีอะไรน่าเป็นห่วงแล้ว ก็ควร หันหน้าเข้าหากิจทางธรรมอย่างจริงจัง เพียรเพ่งเร่งเผากิเลส ทสงสมมานาน จะมาจากหนาทการงานหรอสวนตนสวนตวกตาม ี่ ั่ ้ ี่ ื ่ ่ ั ็ ตั้งมั่นรักษาพรหมจรรย์ ศึกษาอริยสัจอย่างจริงจัง ตั้งมั่นที่จะท�ำ พระนิพพานให้แจ้ง เยี่ยงนี้แหละจึงจะเป็นมงคลอันสูงสุด “ ผุฏฐัสสะ โลกะธรรมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ” มงคลชุดนี้มีด้วยกันสี่ข้อ ประพฤติปฏิบัติได้ครบ ย่อมเป็น มงคลอันสูงสุดอย่างยิ่งในชีวิต เมื่ อ หมดห่ ว ง ตั้ ง มั่ น ประพฤติ ธ รรม รั ก ษาพรหมจรรย์ ความเพียรเพ่งเร่งเผากิเลสด้วยปัญญา อันเป็นธรรมดาในกิจการ ทีผานชีวตมา เมือน�ำมาอุปมาอุปมัยให้เข้ากับพระธรรมค�ำสอนของ ่่ ิ ่ องค์พระพุทธศาสดา ปัญญาอันบริสุทธิ์ย่อมเกิดขึ้นได้โดยไม่ยาก ธรรมอันเป็นธรรมดาโลก คือโลกธรรมแปดนั้น ย่อมมองเห็นว่า เป็นเรื่องธรรมดา ไม่หวั่นไหวแล้วเมื่อถูกกระทบ จิตที่ฝึกฝนมาดี สำ�นักปฏิบัติธรรม สุธัมมสถาน ๒๔