SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 28
เข้าสู่บทเรียน ออก บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต
บทนำ การหมุนเวียนของเลือด ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ส่วนประกอบและหน้าที่ของเลือด แบบทดสอบ บทเรียน เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) ออก
1. อธิบายความหมายและเขียนภาพโครงสร้างของระบบ  หมุนเวียนเลือดได้ 2.  อธิบายส่วนประกอบตลอดจนหน้าที่ของเลือดได้ 3.  ระบุและอธิบายหน้าที่ของอวัยวะที่เป็นส่วนประกอบต่างของระบบหมุนเวียนเลือดได้ 4.  ตระหนักถึงความสำคัญของความดันเลือดในร่างกาย ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ออก บทเรียน เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System )
[object Object],[object Object],บทเรียน บทนำ ออก เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System )
เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก ส่วนประกอบและหน้าที่ของเลือด
ส่วนที่เป็นของเหลว  55   % ส่วนที่เป็นของแข็ง  45   % เรียกว่า  พลาสมา หรือน้ำเลือด ประกอบด้วย  น้ำ  91  %  สารต่าง ๆ เอนไซม์  ฮอร์โมน  แก๊ส  ของเสีย  ได้แก่  ยูเรีย  CO 2 เม็ดเลือดแดง ( Red  blood  cell  ) เม็ดเลือดขาว  ( White  blood  cell  )   เกล็ดเลือด ( Platelet) ส่วนประกอบของเลือด เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก
เป็นสารประกอบโปรตีน ลักษณะค่อนข้างกลม มีสีแดง ตรงกลางเว้า เมื่อโตเต็มที่ ไม่มีนิวเคลียส  มีสารสีแดง  เรียกว่า  ฮีโมโกลบิน  มีธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบ มีอายุ  110 - 120  วัน  สร้างที่  ไขกระดูก ทำลายที่ ตับ ในเด็กสร้างที่ ตับ ม้าม  และไขกระดูก  หน้าที่ ของเซลล์เม็ดเลือดแดง ลำเลียง  O 2  เซลล์ ลำเลียง  CO 2   ปอด 1 mm 3   มีเซลล์เม็ดเลือดแดงประมาณ  5  ล้านเม็ด รูป เซลล์เม็ดเลือดแดง ที่มา  http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson 2. php เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก ฮีโมโกลบิน  + O 2  ออกซีฮีโมโกลบิน    ( Oxyhemoglobin) เซลล์เม็ดเลือดแดง  ( Red  blood  cell )
ลักษณะ กลม   ไม่มีสี  มีนิวเคลียส ขนาดใหญ่กว่า เม็ดเลือดแดงสร้างที่ ไขกระดูก  ม้าม และต่อมน้ำเลือง อายุ  7-14  วัน  เม็ดเลือดขาวทำหน้าที่ ทำลายเชื้อโรค และสิ่งแปลกปลอม 1 mm 3   มีเซลล์เม็ดเลือดขาวประมาณ  4 , 000- 10 , 000   เม็ด ที่มา  :  http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson 2. php รูป เซลล์เม็ดเลือดขาว เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก เซลล์เม็ดเลือดขาว ( White  blood  cell  )
เพลตเลต  หรือ เศษเม็ดเลือด เกล็ดเลือด แผ่นเลือดไม่ใช่เซลล์  เป็นชิ้นส่วนของเซลล์ ไม่มีสี  ไม่มีนิวเคลียสมีรูปร่างไม่แน่นอน ขนาดเล็กกว่าเม็ดเลือดแดงเกือบ  4  เท่า มีอายุ  4  วัน ทำหน้าที่ ช่วยในการแข็งตัวของเลือด ในขณะที่เส้นเลือดฉีก เพลตเลต  ( Platelet) เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก
กระบวนการแข็งตัวของเลือด  ( blood clotting) เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก     โพทรอมบินในเลือด  +   แคลเซียม  ทรอมบิน ( วิตามิน  K  เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการสร้าง )       ไฟบริน  ไฟบริโนเจน ( เส้นใยละเอียดสานปิดบาดแผล ) เอนไซม์ทรอมโบพลาสติน  เกล็ดเลือดสร้าง
ที่มาของภาพ  :  สสวท .   ชีววิทยาเล่ม  2 : 88 กระบวนการแข็งตัวของเลือด เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก
เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก การหมุนเวียนของเลือด
[object Object],[object Object],การหมุนเวียนของเลือด ที่มา   :  http:// www.thailabonline.com /section 31. htm รูป  การหมุนเวียนของเลือด   เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก
หัวใจ  (Heart ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ที่มาของภาพ  :  สสวท .   แบบเรียนชีววิทยาเล่ม   2   : 75 โครงสร้างภายในของหัวใจ เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก
เลือดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เอเตรียมขวา ผ่านลิ้นไตรคัสพิด เวนตริเคิลขวา ปอด เวนตริเคิลซ้าย  เอเตรียมซ้าย  ผ่านไบคัสพิด วงจรเลือด เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก
ภาพเคลื่อนไหวการไหลเวียนของเลือด   สังเกต  การไหลเวียนของเลือดผ่านหัวใจตามลูกศร ที่มาของภาพ : http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson 2. php เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก
เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System )   หลอดเลือด   ทำหน้าที่ลำเลียงเลือดจากหัวใจไปยังอวัยวะส่วนต่าง ๆ  ทั่วร่างกาย และเป็นเส้นทางให้เลือดจากอวัยวะต่าง ๆ ทั่วร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจ     หลอดเลือดในร่างกายมี  3  ชนิด   ได้แก่   1.  หลอดเลือดแดง  ( Artery)   2.  หลอดเลือดดำ  (Vein)   3.  หลอดเลือดฝอย  (Capillary) หลอดเลือด บทเรียน ออก
[object Object],เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) 1.  หลอดเลือดแดง  ( Artery) บทเรียน ออก
[object Object],2.  หลอดเลือดดำ  (Vein)   เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก
ที่มา  :  www.siamcomic.com/scboard/view.php ? scbID=29341   รูป  โครงสร้างของหลอดเลือดแดง และหลอดเลือดดำ เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก
3.  หลอดเลือดฝอย  (Capillary)   ,[object Object],[object Object],ที่มา  :  http://www.npschool.ac.th/~pollaglove/3.html เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) รูป  หลอดเลือดฝอย  บทเรียน ออก
ความดันเลือด  (Blood pressure)   คือ ความดันที่เกิดจากการบีบตัวและคลายตัวของหัวใจ ขณะหัวใจบีบตัว เลือดจะถูกดันออกไปตามหลอดเลือดแดงด้วยความดันสูงทำให้เลือดเคลื่อนที่ไปตาม ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และในขณะที่หัวใจคลายตัวเลือดจะไหลกลับเข้าสู่หัวใจตาม หลอดเลือดดำด้วยความดันต่ำ ความดันเลือดมีหน่วยเป็น มิลลิเมตรของปรอทมีค่า ตัวเลข  2  ค่า เช่น  120 / 80  มิลลิเมตรของปรอท เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก ,[object Object],[object Object]
ปกติความดันเลือดสูงสุดขณะหัวใจบีบตัว มีค่า  100 +  อายุ  ความดันเลือด ขณะหัวใจรับเลือดไม่ควรเกิน  90  มิลลิเมตรของปรอท  เครื่องมือวัดความดันเลือด เรียกว่า  มาตรความดันเลือด ( Sphymonanomiter )   ใช้คู่กับหูฟังหรือ  สเตทโทสโคป  (Stethoscope)  วัดความดันที่หลอดเลือดแดงที่ต้นแขน ความรู้เพิ่มเติม เครื่องมือวัดความดันเลือด   เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ปัจจัยที่มีผลต่อความดันเลือด เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ความรู้เพิ่มเติม เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก
ชีพจรคือ   จังหวะการบีบตัวและคลายตัวของ ผนังเส้นเลือดตามจังหวะการเต้นของหัวใจ  โดยปกติ หัวใจเต้นเฉลี่ยประมาณ  72  ครั้ง ต่อ  1  นาที  และอัตรา การเต้นของชีพจรในเพศชายจะสูงกว่าเพศหญิง  การวัดชีพจรจะ วัดจากเส้นเลือดแดงบริเวณข้อมือ และ ข้อศอก   รูป การวัดชีพจรที่ ข้อมือ  ข้อศอก  และซอกคอ ชีพจร  ( pulse) เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก
การหมุนเวียนของแก๊ส   ในร่างกายจะเกิดควบคู่กับการหมุนเวียนของเลือด โดย  ส่วนใหญ่แล้วเป็นการหมุนเวียนของแก๊สที่สำคัญ  2   ชนิด  คือ แก๊สออกซิเจน และ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ อวัยวะสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการหมุนเวียนของแก๊ส คือ  ปอด  โดยปอดจะทำหน้าที่  ในการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างแก๊สภายในร่างกายกับแก๊สที่อยู่ภายนอกร่างกาย   การหมุนเวียนแก๊ส เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) บทเรียน ออก
เรื่อง  ระบบหมุนเวียนโลหิต   (Circulatory System ) รูป  การแลกเปลี่ยนแก๊สกับการลำเลียงแก๊ส ที่มาของภาพ  :  สสวท .  ชีววิทยาเล่ม 2   : 50 บทเรียน ออก

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดjoongka3332
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองWan Ngamwongwan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
น้ำเหลืองและภูมิคุ้มกัน
น้ำเหลืองและภูมิคุ้มกันน้ำเหลืองและภูมิคุ้มกัน
น้ำเหลืองและภูมิคุ้มกันwaratree wanapanubese
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)joongka3332
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจNichapa Banchakiat
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 หน่วยที่ 1
สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 หน่วยที่ 1สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 หน่วยที่ 1
สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 หน่วยที่ 1KruKwang Adisorn
 

La actualidad más candente (20)

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Heart
HeartHeart
Heart
 
Ccs (2)
Ccs (2)Ccs (2)
Ccs (2)
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
น้ำเหลืองและภูมิคุ้มกัน
น้ำเหลืองและภูมิคุ้มกันน้ำเหลืองและภูมิคุ้มกัน
น้ำเหลืองและภูมิคุ้มกัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เรื่อง ระบบหายใจ
เรื่อง  ระบบหายใจเรื่อง  ระบบหายใจ
เรื่อง ระบบหายใจ
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
Ppt circuratory ระบบหมุนเวียนเลือด
Ppt circuratory ระบบหมุนเวียนเลือดPpt circuratory ระบบหมุนเวียนเลือด
Ppt circuratory ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบหมุนเวียดเลือด
ระบบหมุนเวียดเลือดระบบหมุนเวียดเลือด
ระบบหมุนเวียดเลือด
 
G2
G2G2
G2
 
ระบบหายใจppt
ระบบหายใจpptระบบหายใจppt
ระบบหายใจppt
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 หน่วยที่ 1
สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 หน่วยที่ 1สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 หน่วยที่ 1
สุขศึกษาและพลศึกษา ป.6 หน่วยที่ 1
 

Destacado

Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous systemBios Logos
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการNokko Bio
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทflimgold
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกNokko Bio
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกไผ่ไผ่ อยากเด่น
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1Wichai Likitponrak
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังWan Ngamwongwan
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)Natthaya Khaothong
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 

Destacado (20)

Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
 
nerve cell
nerve cellnerve cell
nerve cell
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนัง
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 

Similar a หัวใจและระบบเลือด

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองบทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองNana Sabaidee
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด Krupol Phato
 
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetUrinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetJiradet Dongroong
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)Wan Ngamwongwan
 
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_ระบบหมุนเวียนเลือด(_2)-03162301.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_ระบบหมุนเวียนเลือด(_2)-03162301.pdfสื่อประกอบการสอน_เรื่อง_ระบบหมุนเวียนเลือด(_2)-03162301.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_ระบบหมุนเวียนเลือด(_2)-03162301.pdfJoySarocha
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdfYhu Lawan
 

Similar a หัวใจและระบบเลือด (20)

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
Shock (Thai)
Shock (Thai)Shock (Thai)
Shock (Thai)
 
Powp08
Powp08Powp08
Powp08
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองบทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetUrinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
 
B08
B08B08
B08
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
 
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_ระบบหมุนเวียนเลือด(_2)-03162301.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_ระบบหมุนเวียนเลือด(_2)-03162301.pdfสื่อประกอบการสอน_เรื่อง_ระบบหมุนเวียนเลือด(_2)-03162301.pdf
สื่อประกอบการสอน_เรื่อง_ระบบหมุนเวียนเลือด(_2)-03162301.pdf
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
Cell
CellCell
Cell
 
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
 

Más de tuiye

Acceleration
AccelerationAcceleration
Accelerationtuiye
 
ใบงาน เรื่อง การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงาน เรื่อง การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรีใบงาน เรื่อง การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงาน เรื่อง การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรีtuiye
 
ความเร่ง
ความเร่งความเร่ง
ความเร่งtuiye
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วtuiye
 
ใบงาน เรื่อง ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
ใบงาน เรื่อง ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ใบงาน เรื่อง ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
ใบงาน เรื่อง ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่tuiye
 
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่02
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่02แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่02
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่02tuiye
 
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่01
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่01แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่01
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่01tuiye
 
การเคลื่อนที่ตกแบบเสรี
การเคลื่อนที่ตกแบบเสรีการเคลื่อนที่ตกแบบเสรี
การเคลื่อนที่ตกแบบเสรีtuiye
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01tuiye
 
การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่แนวเส้นตรงการเคลื่อนที่แนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่แนวเส้นตรงtuiye
 
การวัดและการแปลความหมายข้อมูล
การวัดและการแปลความหมายข้อมูลการวัดและการแปลความหมายข้อมูล
การวัดและการแปลความหมายข้อมูลtuiye
 
1.บทนำ
1.บทนำ1.บทนำ
1.บทนำtuiye
 

Más de tuiye (12)

Acceleration
AccelerationAcceleration
Acceleration
 
ใบงาน เรื่อง การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงาน เรื่อง การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรีใบงาน เรื่อง การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงาน เรื่อง การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
 
ความเร่ง
ความเร่งความเร่ง
ความเร่ง
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
ใบงาน เรื่อง ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
ใบงาน เรื่อง ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ใบงาน เรื่อง ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
ใบงาน เรื่อง ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
 
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่02
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่02แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่02
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่02
 
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่01
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่01แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่01
แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่01
 
การเคลื่อนที่ตกแบบเสรี
การเคลื่อนที่ตกแบบเสรีการเคลื่อนที่ตกแบบเสรี
การเคลื่อนที่ตกแบบเสรี
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
 
การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่แนวเส้นตรงการเคลื่อนที่แนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง
 
การวัดและการแปลความหมายข้อมูล
การวัดและการแปลความหมายข้อมูลการวัดและการแปลความหมายข้อมูล
การวัดและการแปลความหมายข้อมูล
 
1.บทนำ
1.บทนำ1.บทนำ
1.บทนำ
 

หัวใจและระบบเลือด

  • 2. บทนำ การหมุนเวียนของเลือด ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ส่วนประกอบและหน้าที่ของเลือด แบบทดสอบ บทเรียน เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) ออก
  • 3. 1. อธิบายความหมายและเขียนภาพโครงสร้างของระบบ หมุนเวียนเลือดได้ 2. อธิบายส่วนประกอบตลอดจนหน้าที่ของเลือดได้ 3. ระบุและอธิบายหน้าที่ของอวัยวะที่เป็นส่วนประกอบต่างของระบบหมุนเวียนเลือดได้ 4. ตระหนักถึงความสำคัญของความดันเลือดในร่างกาย ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ออก บทเรียน เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System )
  • 4.
  • 5. เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) บทเรียน ออก ส่วนประกอบและหน้าที่ของเลือด
  • 6. ส่วนที่เป็นของเหลว 55 % ส่วนที่เป็นของแข็ง 45 % เรียกว่า พลาสมา หรือน้ำเลือด ประกอบด้วย น้ำ 91 % สารต่าง ๆ เอนไซม์ ฮอร์โมน แก๊ส ของเสีย ได้แก่ ยูเรีย CO 2 เม็ดเลือดแดง ( Red blood cell ) เม็ดเลือดขาว ( White blood cell ) เกล็ดเลือด ( Platelet) ส่วนประกอบของเลือด เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) บทเรียน ออก
  • 7. เป็นสารประกอบโปรตีน ลักษณะค่อนข้างกลม มีสีแดง ตรงกลางเว้า เมื่อโตเต็มที่ ไม่มีนิวเคลียส มีสารสีแดง เรียกว่า ฮีโมโกลบิน มีธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบ มีอายุ 110 - 120 วัน สร้างที่ ไขกระดูก ทำลายที่ ตับ ในเด็กสร้างที่ ตับ ม้าม และไขกระดูก หน้าที่ ของเซลล์เม็ดเลือดแดง ลำเลียง O 2 เซลล์ ลำเลียง CO 2 ปอด 1 mm 3 มีเซลล์เม็ดเลือดแดงประมาณ 5 ล้านเม็ด รูป เซลล์เม็ดเลือดแดง ที่มา http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson 2. php เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) บทเรียน ออก ฮีโมโกลบิน + O 2 ออกซีฮีโมโกลบิน ( Oxyhemoglobin) เซลล์เม็ดเลือดแดง ( Red blood cell )
  • 8. ลักษณะ กลม ไม่มีสี มีนิวเคลียส ขนาดใหญ่กว่า เม็ดเลือดแดงสร้างที่ ไขกระดูก ม้าม และต่อมน้ำเลือง อายุ 7-14 วัน เม็ดเลือดขาวทำหน้าที่ ทำลายเชื้อโรค และสิ่งแปลกปลอม 1 mm 3 มีเซลล์เม็ดเลือดขาวประมาณ 4 , 000- 10 , 000 เม็ด ที่มา : http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson 2. php รูป เซลล์เม็ดเลือดขาว เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) บทเรียน ออก เซลล์เม็ดเลือดขาว ( White blood cell )
  • 9. เพลตเลต หรือ เศษเม็ดเลือด เกล็ดเลือด แผ่นเลือดไม่ใช่เซลล์ เป็นชิ้นส่วนของเซลล์ ไม่มีสี ไม่มีนิวเคลียสมีรูปร่างไม่แน่นอน ขนาดเล็กกว่าเม็ดเลือดแดงเกือบ 4 เท่า มีอายุ 4 วัน ทำหน้าที่ ช่วยในการแข็งตัวของเลือด ในขณะที่เส้นเลือดฉีก เพลตเลต ( Platelet) เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) บทเรียน ออก
  • 10. กระบวนการแข็งตัวของเลือด ( blood clotting) เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) บทเรียน ออก โพทรอมบินในเลือด + แคลเซียม ทรอมบิน ( วิตามิน K เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการสร้าง ) ไฟบริน ไฟบริโนเจน ( เส้นใยละเอียดสานปิดบาดแผล ) เอนไซม์ทรอมโบพลาสติน เกล็ดเลือดสร้าง
  • 11. ที่มาของภาพ : สสวท . ชีววิทยาเล่ม 2 : 88 กระบวนการแข็งตัวของเลือด เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) บทเรียน ออก
  • 12. เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) บทเรียน ออก การหมุนเวียนของเลือด
  • 13.
  • 14.
  • 15. เลือดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เอเตรียมขวา ผ่านลิ้นไตรคัสพิด เวนตริเคิลขวา ปอด เวนตริเคิลซ้าย เอเตรียมซ้าย ผ่านไบคัสพิด วงจรเลือด เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) บทเรียน ออก
  • 16. ภาพเคลื่อนไหวการไหลเวียนของเลือด สังเกต การไหลเวียนของเลือดผ่านหัวใจตามลูกศร ที่มาของภาพ : http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson 2. php เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) บทเรียน ออก
  • 17. เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) หลอดเลือด ทำหน้าที่ลำเลียงเลือดจากหัวใจไปยังอวัยวะส่วนต่าง ๆ ทั่วร่างกาย และเป็นเส้นทางให้เลือดจากอวัยวะต่าง ๆ ทั่วร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจ     หลอดเลือดในร่างกายมี 3 ชนิด ได้แก่ 1. หลอดเลือดแดง ( Artery) 2. หลอดเลือดดำ (Vein) 3. หลอดเลือดฝอย (Capillary) หลอดเลือด บทเรียน ออก
  • 18.
  • 19.
  • 20. ที่มา : www.siamcomic.com/scboard/view.php ? scbID=29341 รูป โครงสร้างของหลอดเลือดแดง และหลอดเลือดดำ เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) บทเรียน ออก
  • 21.
  • 22.
  • 23. ปกติความดันเลือดสูงสุดขณะหัวใจบีบตัว มีค่า 100 + อายุ ความดันเลือด ขณะหัวใจรับเลือดไม่ควรเกิน 90 มิลลิเมตรของปรอท เครื่องมือวัดความดันเลือด เรียกว่า มาตรความดันเลือด ( Sphymonanomiter ) ใช้คู่กับหูฟังหรือ สเตทโทสโคป (Stethoscope) วัดความดันที่หลอดเลือดแดงที่ต้นแขน ความรู้เพิ่มเติม เครื่องมือวัดความดันเลือด เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) บทเรียน ออก
  • 24.
  • 25.
  • 26. ชีพจรคือ จังหวะการบีบตัวและคลายตัวของ ผนังเส้นเลือดตามจังหวะการเต้นของหัวใจ โดยปกติ หัวใจเต้นเฉลี่ยประมาณ 72 ครั้ง ต่อ 1 นาที และอัตรา การเต้นของชีพจรในเพศชายจะสูงกว่าเพศหญิง การวัดชีพจรจะ วัดจากเส้นเลือดแดงบริเวณข้อมือ และ ข้อศอก รูป การวัดชีพจรที่ ข้อมือ ข้อศอก และซอกคอ ชีพจร ( pulse) เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) บทเรียน ออก
  • 27. การหมุนเวียนของแก๊ส ในร่างกายจะเกิดควบคู่กับการหมุนเวียนของเลือด โดย ส่วนใหญ่แล้วเป็นการหมุนเวียนของแก๊สที่สำคัญ 2 ชนิด คือ แก๊สออกซิเจน และ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ อวัยวะสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการหมุนเวียนของแก๊ส คือ ปอด โดยปอดจะทำหน้าที่ ในการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างแก๊สภายในร่างกายกับแก๊สที่อยู่ภายนอกร่างกาย การหมุนเวียนแก๊ส เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) บทเรียน ออก
  • 28. เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System ) รูป การแลกเปลี่ยนแก๊สกับการลำเลียงแก๊ส ที่มาของภาพ : สสวท . ชีววิทยาเล่ม 2 : 50 บทเรียน ออก