SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 11
Descargar para leer sin conexión
70

                                     บทที่ 6
                              การออกแบบระบบเครื อข่ าย
          ไม่วาจะเป็ นเครื อข่ายสาหรับองค์กรขนาดใดก็ตาม สิ่งที่จาเป็ นต้ องมีคือ บุคลากรที่จะ
               ่
ดูแลและจัดการระบบเครื อข่าย สาหรับองค์กรขนาดเล็กอาจจะมีแค่หนึงหรื อสองคนที่คอยดูแล
                                                                           ่
และจัดการเรื่ องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และระบบเครื อข่าย ซึงหลายองค์กรมักจะจ้ าง
                                                                         ่
เจ้ าหน้ าที่แบบชัวคราวหรื อทางานแบบไม่เต็มเวลามาดูแลระบบ สาหรับการออกแบบและการ
                       ่
ติดตังระบบเครื อข่ายในครังแรกนันหลายองค์กรอาจใช้ วิธีการจ้ างบริ ษัทที่ปรึกษาทางด้ าน
       ้                       ้     ้
เครื อข่ายในครังแรกนันหลายองค์กรอาจใช้ วิธีการจ้ างบริ ษัทที่ปรึกษาทางด้ านเครื อข่ายทาการ
                     ้       ้
ออกแบบและติดตังระบบให้ ใช้ งานได้ ก่อน เมื่อติดตังเสร็ จแล้ วทางองค์กรที่รับผิดชอบทางด้ านนี ้
                         ้                               ้
เฉพาะ เพื่อทาหน้ าที่เป็ นผู้ประสานงานกับบริษัทที่จะมาออกแบบและติดตังระบบเครื อข่ายให้ กบ
                                                                                 ้                  ั
องค์กรก่อน ในบทนี ้จะเป็ นการให้ คาแนะนาสิ่งต่าง ๆ ที่ควรพิจารณาให้ กบผู้ที่ได้ รับมอบหมาย
                                                                               ั
จากองค์กรให้ ทาหน้ าที่นี ้การประเมินความต้ องการ
          ก่ อนที่จะเริ่มลงมือออกแบบเครื อข่ ายผู้ออกแบบระบบต้ องมีจุดประสงค์ ท่ ีชัดเจน
ก่ อน สิ่งหนึ่งที่สาคัญที่ต้องทาก่ อนที่จะออกแบบระบบเครือข่ าย การวิเคราะห์ ระบบ ซึ่ง
จะรวมถึงการศึกษาระบบการทางานขององค์ กรแล้ ววิเคราะห์ ว่าสามารถใช้ ระบบ
สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานขององค์ กรได้ อย่ างไรขันต้ นก็อาจลอง       ้
พิจารณาดูว่ามีระบบงาน
          อะไรบ้ างถ้ าใช้ เครื อข่ายแล้ วจะช่วยทาให้ การปฏิบตงานนันมีประสิทธิภาพมากขึ ้น
                                                                 ัิ    ้
จะต้ องใช้ ซอฟต์แวร์ ทางด้ านธุรกิจอะไรบ้ าง ผู้ใช้ ต้องการที่จะแชร์ ไฟล์ชนิดต่าง ๆ เท่านัน หรื อ
                                                                                           ้
องค์กรต้ องการที่จะมีระบบฐานข้ อมูลที่มีผ้ ใช้ หลายคนหรื อไม่ องค์กรต้ องการที่จะใช้ อีเมลหรื อไม่
                                              ู
แล้ วเว็บเซิร์ฟเวอร์ จาเป็ นไหม องค์กรต้ องการนาธุรกิจเข้ าสูระบบอีคอมเมิร์ซหรื อไม่ ซึงถ้ าใช่นน
                                                               ่                         ่       ั่
ก็หมายความว่าเครื อข่ายขององค์กรต้ องการที่จะเชื่อมต่อเข้ ากับอินเตอร์ เน็ต ที่กล่าวมาเป็ นส่วน
หนึงของหลาย ๆ สิ่งที่ ผู้ออกแบบระบบต้ องศึกษาและค้ นคว้ าก่อนที่จะเริ่มลงมือออกแบบ
     ่
ระบบ เมื่อได้ ศกษาและวิเคราะห์งานด้ านธุรกิจที่จาเป็ นต้ องใช้ เครื อข่ายแล้ วต่อไปให้ ลาดับ
                   ึ
ความสาคัญของแต่ละงาน เพื่อจะได้ วางแผนได้ วาสิ่งไหนที่ต้องทาก่อนหรื อสิ่งใดที่สามารถรอ
                                                       ่
ก่อนได้ ซึงผู้ออกแบบต้ องให้ ความสาคัญกับงานที่มีผลกระทบกับธุรกิจขององค์กรมากที่สดเป็ น
           ่                                                                                 ุ
อันดับแรก
          ลักษณะการใช้ งานคอมพิวเตอร์ ในสานักงานขนาดเล็กจะแตกต่างจากลักษณะการใช้
คอมพิวเตอร์ ในบริษัทขนาดใหญ่ หรื อเอ็นเตอร์ ไพรซ์ (Enterprise) ระบบเครื อข่ายสาหรับองค์กร
ขนาดใหญ่มกจะมีผ้ ใช้ หลายพันคน มีเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ หลายสิบเครื่ อง ซึงอาจจะมีเครื่ อง
                 ั         ู                                                 ่
เมนเฟรมเชื่อมต่อเข้ ากับระบบ และเครื อข่ายอาจจะครอบคลุมบริเวณกว้ างซึงอาจจะมีหลาย    ่
71

อาคาร และแต่ละอาคารอาจมีหลายชัน เครื อข่ายประเภทนี ้อาจจะต้ องเชื่อมต่อกับเครื อข่าย
                                          ้
ของสาขาย่อยหลายเครื อข่าย ของสาขาย่อยหลายเครื อข่าย และในแต่ละสาขาย่อยอาจจะมี
หลายอาคารซึงไม่เป็ นการผิดปกติเลยที่เครื อข่ายแบบอินเตอร์ ไพรซ์นี ้จะประกอบด้ วยอุปกรณ์
                  ่
เครื อข่ายหลายพันเครื่ องและต้ องอาศัยเครื อข่ายหลักหรื อแบ็คโบน (Backbone) ในการเชื่อมต่อ
กันระหว่างเครื อข่ายย่อย ๆ เข้ าด้ วยกัน เครื อข่ายประเภทนี ้มักจะมีอปกรณ์ที่ซบซ้ อนและราคาแพง
                                                                       ุ         ั
ดังนันจึงจาเป็ นต้ องใช้ บคลากรที่มีความชานาญสูงเฉพาะด้ านนี ้เฉพาะเพื่อดูแลและจัดการระบบ
       ้                   ุ
           สาหรับองค์กรขนาดเล็กจะมีความต้ องการทางด้ านเครื อข่ายที่กะทัดรัดกว่า เครื อข่าย
อาจจะประกอบด้ วยเครื่ องลูกข่ายไม่ถึงร้ อยเครื่ อง เครื่ องพิมพ์เลเซอร์ ไม่ถึงสิบเครื่ อง โดยเครื อข่าย
นี ้สามารถอานวยความสะดวกแก่พนักงานขององค์กรในการแชร์ ข้อมูลได้ ด้วย รวมทังเครื่ องพิมพ์  ้
และทรัพยากรเครื อข่ายอื่น ๆ ร่วมกันความต้ องการทางด้ านเครื อข่ายขององค์กรขนาดเล็กนี ้
สามารถที่จะตอบสนองด้ วยระบบเครื อข่ายเล็ก ๆ ซึงเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ อาจหาซื ้อได้ ตามท้ องตลาด
                                                      ่
ทัวไป เครื อข่ายสาหรับองค์กรขนาดเล็กนี ้ไม่จาเป็ นต้ องมีผ้ ดแลระบบที่มีความชานาญและ
   ่                                                          ู ู
ประสบการณ์มากนักไม่เหมือนเครื อข่ายแบบเอ็นเตอร์ ไพรซ์
ถึงแม้ วาเครื อข่ายขององค์กรขนาดเล็กจะมีความซับซ้ อนไม่มากนัก อย่างไรก็ตามยังมีบาง
         ่
ประเด็นที่เหมือนกัน ตัวอย่างเช่น เครื อข่ายทังสองประเภทต้ องถูกออกแบบให้ สามารถตอบสนอง
                                                ้
ความต้ องการของผู้ใช้ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ มีการควบคุมความปลอดภัยของข้ อมูล สามารถที่
จะขยายได้ ง่ายในอนาคตหรื อเมื่อธุรกิจขยายตัวใหญ่ขึ ้นก็สามารถที่จะขยายเครื อข่ายได้ โดยง่าย
และ ไม่ให้ การวางแผนเครื อข่ายในตอนแรกมีผลบังคับต่อการเลือกใช้ เทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกิดขึ ้น
หลังจากการติดตังแล้ วซึ่งอาจจะมีผลกระทบต่อธุรกิจขององค์กรได้
                    ้
           สาหรับองค์กรขนาดใหญ่อาจมีสานักงานย่อยที่ตงอยูในที่หางไกลจากสานักงานใหญ่
                                                           ั้ ่      ่
สานักงานสาขาย่อยเหล่านี ้มักจะได้ รับการสนับสนุนทางด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศจากสานักงาน
ใหญ่ได้ ไม่เต็มที่ ดังนันระบบเครื อข่ายสาหรับสานักงานขนาดเล็กนี ้ควรจะมีการออกแบบให้ อยูใน
                         ้                                                                           ่
ลักษณะที่ไม่ซบซ้ อนจนเกินไป และง่ายต่อการจัดการและดูแล เนื่องจากแต่ละองค์กรมีความ
                ั
ต้ องการที่จะใช้ เครื อข่ายในรูปแบบที่ตางกัน ดังนันจึงเป็ นการยากที่จะออกแบบระบบเครื อข่าย
                                        ่           ้
หนึงแล้ วใช้ งานได้ อย่างเหมาะสมกับทุก ๆ องค์กรได้ เพราะเหตุนี ้ผู้เขียนจะแนะนาหลักการทัว ๆ
     ่                                                                                             ่
ไปที่ใช้ ในการออกแบบระบบเครื อข่าย ผู้เขียนจะยึดหลักการง่ายๆ เพื่อให้ บรรลุวตถุประสงค์ของ
                                                                                       ั
องค์กร
           การใช้ งานเครื อข่ายนันส่วนใหญ่จะไม่จากัดเพียงเฉพาะในองค์กรเท่านัน ตอนนี ้เราควร
                                 ้                                                 ้
จะ ทราบแล้ วว่าองค์กรต้ องการที่จะเชื่อมต่อกับภายนอกอย่างไรบ้ าง สิ่งหนึงที่จะปฏิเสธไม่ได้ ใน
                                                                               ่
ยุคปั จจุบนนันก็คือ การเชื่อมต่อเข้ ากับอินเตอร์ เน็ต แต่สิ่งต่อไปที่ต้องพิจารณาก็คือ การ
            ั ่
เชื่อมต่อด้ วยโมเด็มจะเพียงพอกับความต้ องการหรื อไม่ หรื อว่าองค์กรต้ องการการเชื่อมต่อแบบ
72

ตลอดเวลา แล้ วต้ องการแบนด์วิธเท่าไร องค์กรต้ องการที่จะเชื่อมต่อเข้ ากับเครื อข่ายส่วนบุคคล
อื่น เช่น เครื อข่ายที่ใช้ ที่บ้านหรื อไม่ สิ่งที่ยากอย่างหนึ่งสาหรับการออกแบบเครื อข่ายคือ การ
เชื่อมต่อเข้ ากับเครื อข่ายอื่น ไม่เฉพาะความยุงยากทางด้ านเทคนิคแต่เกี่ยวเนื่องกับราคาที่แพง
                                                       ่
ด้ วย
          หลังจากได้ ศกษาและวิเคราะห์ระบบงานขององค์กรแล้ ว ผู้ออกแบบระบบก็สามารถสรุป
                        ึ
ได้ วาระบบเครื อข่ายควรจะมีขนาดเท่าไร ซึงประมาณได้ โดยการพิจารณาจากจานวนพนักงานที่
      ่                                            ่
ต้ องใช้ คอมพิวเตอร์ ในการทางาน และต้ องการใช้ มากน้ อยเท่าใด จากนันค่อยออกแบบเครื อข่าย
                                                                                 ้
ให้ สามารถรองรับการใช้ งานของผู้ใช้ ทกคนและเผื่อไว้ สาหรับการขยายตัวของเครื อข่ายในอนาคต
                                             ุ
ผู้ออกแบบระบบอาจคานวณความต้ องการที่ต้องใช้ เครื อข่ายขององค์กรในช่วง 2-3 ปี ข้ างหน้ าโดย
การพิจารณาจานวนผู้ใช้ ใหม่ที่จะเพิ่มขึ ้น และอาจคานึงถึงความต้ องการเพิ่ม
          ทางด้ านพื ้นที่เก็บข้ อมูลหรื อขนาดของฮาร์ ดดิสก์ตอผู้ใช้ ซึ่งอาจจะเพิ่มขึ ้นอย่างคาดไม่ถึงก็
                                                                   ่
ได้ เครื อข่ายที่ออกแบบจะต้ องสามารถขยายได้ ง่ายโดยการเพิ่มเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ หรื อเครื่ องลูกข่าย
หรื อการใช้ เทคโนโลยี ใหม่ ๆ กับระบบได้ โดยง่าย
          การเลือกประเภทของเครื อข่ าย
          ในเครื อข่ายใดเครื อข่ายหนึงคอมพิวเตอร์ มกจะทาหน้ าที่ไม่เป็ นเซิร์ฟเวอร์ ก็เป็ นไคลเอนท์
                                         ่                  ั
เครื่ องไคลเอนท์คือ เครื่ องที่ใช้ บริการต่าง ๆ ที่เครื่ องเซิร์ฟเวอร์ มีให้ ซึงบทบาทนี ้จะไม่ตามตัว
                                                                               ่
เสมอไปนันคือ บางเครื่ องอาจจะเป็ นเครื่ องไคลเอนท์ในการทางานลักษณะหนึง หรื ออาจมี
            ่                                                                         ่
บทบาทเป็ นเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ เมื่อทางานอีกอย่างหนึง เครื อข่ายแบบไคลเอนท์เซิร์ฟเวอร์ นี ้ต้ องมี
                                                          ่
เครื่ องคอมพิวเตอร์ เฉพาะที่ทาหน้ าที่ให้ บริการอย่างเดียว การทางานแบบนี ้จะแยกเครื่ อง
เซิร์ฟเวอร์ ออกจากเครื่ องไคลเอนท์อย่างเด็ดขาด สาหรับเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ นนต้ องเลือกใช้
                                                                                   ั้
คอมพิวเตอร์ ทีมีประสิทธิภาพสูง และใช้ เกี่ยวกับการให้ บริการด้ านนัน ๆ โดยเฉพาะ ส่วนไคล
                                                                             ้
เอนท์อาจเป็ นคอมพิวเตอร์ ที่มีประสิทธิภาพธรรมดาหรื อไม่สงมากนัก เนื่องจากไคลเอนท์จะ
                                                                        ู
อาศัยเซิร์ฟเวอร์ คือ ความสะดวกในการบริหารและจัดการเครื อข่ายในเรื่ องต่าง ๆ เช่น ทรั พยากร
เครื อข่าย การรักษาความปลอดภัยและยังทาให้ การวางแผนให้ ระบบมีประสิทธิภาพเพียงพอ
สาหรับการใช้ งานของ องค์กรได้
          เครื อข่ายแบบเพียร์ ทเู พียร์ (Peer – to –Peer) นัน คอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ องอาจทาหน้ าที่
                                                                 ้
เป็ นทังไคลเอนท์และเซิร์ฟเวอร์ ซึงเครื อข่ายประเภทนี ้ไม่จาเป็ นต้ องมีเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ ที่ทางาน
        ้                             ่
เฉพาะในการให้ บริการในเครื อข่ายระบบปฏิบติการที่ใช้ ในปั จจุบน เช่น วินโดวส์ Me/XP,
                                                     ั                    ั
MacOS และ Linux ส่วนใหญ่จะมีฟีเจอร์ ที่สามารถให้ บริการในรูปแบบต่าง ๆ พร้ อมทัง้
เอื ้ออานวยให้ ทางานทัว ๆ ไปได้ เช่นกัน เมื่อใช้ ระบบปฏิบตการเหล่านี ้แล้ วเราสามารถที่จะสร้ าง
                          ่                                        ัิ
เครื อข่ายแบบเพียร์ ทเู พียร์ ได้ เลย ซึงคอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึงสามารถทางานได้ ทงแบบที่เป็ น
                                           ่                          ่                 ั้
73

เครื่ องใช้ งานโดยทัวไปและยังสามารถให้ บริการในเครื อข่ายในรูปแบบต่าง ๆ ได้ เช่น การแชร์
                          ่
ฮาร์ ดดิสก์ เครื่ องพิมพ์ หรื อทรัพยากรอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น ถ้ าหากว่าคอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึงมี             ่
เครื่ องพิมพ์เลเซอร์ เราสามารถที่จะแชร์ เครื่ องพิมพ์นี ้ให้ กบผู้ใช้ คนอื่น ๆ ผ่านเครื อข่ายได้ หรื อเรา
                                                                      ั
ต้ องการแชร์ โฟลเดอร์ ใดโฟลเดอร์ หนึงในฮาร์ ดดิสก์ก็สามารถทาได้ เช่นกัน และระบบปฏิบตการ
                                             ่                                                         ัิ
บางระบบสามารถที่จะใช้ เป็ นเว็บเซิร์ฟเวอร์ ได้ เช่นกัน เครื อข่ายแบบเพียร์ ทเู พียร์ จะมีราคาถูกกว่า
เพราะไม่จาเป็ นต้ องมีเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาแพง แต่เมื่อเครื อข่ายต้ อง
ขยายใหญ่ขึ ้นจนถึงจุด ๆ หนึ่ง ก็จะทาให้ การบริหารและการจัดการระบบเครื อข่ายยากขึ ้น ซึงบาง                ่
ทีอาจทาให้ ระบบเครื อข่ายมีประสิทธิภาพต่าลงได้ และอาจทาให้ เครื อข่ายไม่อาจจะรองรับการ
ทางานตามที่องค์กรต้ องการก็ได้ ถ้ าหากว่าทรัพยากรเครื อข่ายที่แชร์ กนใช้ อยูในเครื่ องศูนย์กลาง
                                                                                 ั        ่
แล้ วก็จะทาให้ ผ้ ใช้ ค้นหาทรัพยากรเหล่านี ้ได้ ง่าย และ ผู้จดการระบบก็สามารถที่จะกาหนดสิทธิ์
                        ู                                               ั
ต่างๆ ของผู้ใช้ ที่จะเข้ ามาใช้ ทรัพยากรเหล่านี ้ได้ ง่าย เช่นกัน ในทางตรงกันข้ ามถ้ าหากว่า
ทรัพยากรเหล่านี ้กระจัดกระจายอยู่ตามเครื่ องผู้ใช้ ทวไปใน เครื อข่ายก็จะทาให้ การค้ นหาข้ อมูล
                                                                   ั่
เหล่านี ้เป็ นไปด้ วยความยากลาบากและซับซ้ อนมาก
              ประสิทธิภาพก็อาจจะเป็ นปั ญหาอย่างหนึงของเครื อข่ายแบบเพียร์ ทเู พียร์ กล่าวคือเรา
                                                             ่
ต้ องมันใจว่าเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายประเภทนี ้มีประสิทธิภาพพอที่จะทางานได้ ทังงานของ
         ่                                                                                           ้
ผู้ใช้ เครื่ องและงานที่ต้องให้ บริการทางเครื อข่ายด้ วย เช่น เราสามารถที่จะใช้ คอมพิวเตอร์ เครื่ อง
หนึงเป็ นทังเว็บเซิร์ฟเวอร์ และในขณะเดียวกันก็ทางานบนแอพพลิเคชันเกี่ยวกับระบบบัญชีของ
     ่          ้
องค์กร เว็บเซิร์ฟเวอร์ อาจจะทางานช้ าในขณะที่ผ้ ใช้ ทางานเกี่ยวกับการคานวณภาษี รายได้ ของ
                                                               ู
องค์กรก็ได้ ซึงงานทังสองประเภทนี ้จะทาในคอมพิวเตอร์ เครื่ องเดียวกันก็ตอเมื่อโหลดของทังสอง
                    ่       ้                                                          ่                      ้
งานไม่มากนัก
              ในโลกของความเป็ นจริงแล้ วเครื อข่ายขององค์กรโดยทัวไปก็จะเป็ นแบบผสมระหว่าง
                                                                          ่
เครื อข่ายสองประเภทนี ้ ตัวอย่างเช่น เครื อข่ายขององค์กรใหญ่ ๆ อาจจะมีคอมพิวเตอร์ ที่ทา
หน้ าที่เป็ นเฉพาะดาต้ าเบสเซิร์ฟเวอร์ ขององค์กร ในขณะเดียวกันอาจมีคอมพิวเตอร์ ของ
ผู้ใช้ เครื่ องหนึงแชร์ โฟลเดอร์ ให้ ผ้ ใช้ คนอื่นเข้ ามาใช้ ก็ได้ แต่การแชร์ ดงกล่าวนี ้อาจจะไม่เป็ นการแชร์
                  ่                     ู                                      ั
แบบทางการ ซึงคณะผู้ทางานทางด้ านไอทีขององค์กรอาจจะไม่รับรองข้ อมูลดังกล่าวก็ได้
                      ่
              ในการพิจารณาเบื ้องต้ นของการสร้ างเครื อข่ายสาหรับธุรกิจขนาดเล็กก็ขอให้ พิจารณา
ความเป็ นไปได้ และความเหมาะสมของเครื อข่ายทังสองประเภทนี ้ เครื อข่ายแบบเพียร์ ทเู พียร์
                                                                 ้
จะเหมาะสาหรับเครื อข่ายขนาดเล็ก ๆ เท่านัน ถ้ าหากการใช้ เครื อข่ายมีความสาคัญอย่างมากต่อ
                                                       ้
การทาธุรกิจขององค์กรแล้ วก็ควรที่จะมีเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ ที่ทางานทางด้ านนันโดยเฉพาะ เพื่อ
                                                                                     ้
ประกัน ประสิทธิภาพ และความเชื่อถือได้ ของการใช้ งานระบบ แต่ถ้าเครื อข่ายที่จะสร้ างเริ่มต้ น
74

โดยมีเครื่ องประมาณ 10-20 เครื่ อง เครื อข่ายแบบเพียร์ ทเู พียร์ ก็นาจะเพียงพอ แต่ก็ให้ วางแผน
                                                                           ่
ล่วงหน้ า เพื่อที่อาจจะต้ องเพิ่มเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ เมื่อต้ องการที่จะขยายเครื อข่าย
           การเลือกเทคโนโลยีเครือข่ าย
           สิ่งหนึงที่สาคัญอย่างยิ่งสาหรับเครื อข่าย คือ การเลือกใช้ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
                  ่
เครื อข่ายที่ได้ รับรองมาตรฐานและได้ ผานการทดสอบเรี ยบร้ อยแล้ ว เนื่องจากลักษณะการทา
                                          ่
ธุรกิจขององค์กรนันอาจเปลี่ยนไป เช่นอาจต้ องมีการเชื่อมต่อเข้ ากับเครื อข่ายขององค์กรอื่น
                        ้
ผู้ออกแบบต้ องออกแบบเครื อข่ายให้ พร้ อมที่จะเชื่อมต่อเข้ ากับเครื อข่ายอื่นได้ ง่าย และจะต้ องไม่
เสียค่าใช้ จายเพิ่มมากนัก เพื่อแก้ ปัญหาที่อาจเกิดขึ ้นเกี่ยวกับการเชื่อมต่อ ถ้ าหากสานักงานของ
              ่
คุณเป็ นสาขาย่อยของสานักงานใหญ่ เครื อข่ายของสานักงานย่อยต้ องใช้ เทคโนโลยีเหมือนหรื อ
คล้ ายกับเครื อข่ายของสานักงานใหญ่และของสาขาย่อยอื่น ๆ ถึงแม้ วาตอนแรกเครื อข่ายอาจยัง
                                                                             ่
ไม่จาเป็ นที่ต้องเชื่อมต่อกับเครื อข่ายของสานักงานใหญ่ แต่ในอนาคตต้ องมีการเชื่อมต่อกันอย่าง
แน่นอน
           หลังจากที่ได้ วิเคราะห์ระบบและประเมินความต้ องการขององค์กรเกี่ยวกับการใช้ เครื อข่าย
แล้ วผู้ออกแบบก็พร้ อมที่จะเริ่ มลงมือออกแบบเครื อข่ายให้ เหมาะสมกับความต้ องการ การ
ออกแบบนันมีหลายอย่างที่ต้องพิจารณา โดยทัวไปผู้ออกแบบต้ องตัดสินใจในเรื่ องต่าง ๆ
                ้                                    ่
ดังต่อไปนี ้
           เทคโนโลยีเครื อข่าย LAN ซึงทางเลือกที่เป็ นไปได้ เช่น อีเธอร์ เน็ต ATM และ Token
                                        ่
Ring เป็ นต้ น ส่วนใหญ่เครื อข่ายขนาดเล็กมักนิยมใช้ เครื อข่ายแบบอีเธอร์ เน็ต อย่างไรก็ตาม
เครื อข่ายประเภทนี ้ยังแบ่งออกเป็ นประเภทย่อย ๆ อีก อีเธอร์ เน็ต ฟาสต์อีเธอร์ เน็ต กิกะบิต อี
เธอร์ เน็ต และเทนกิกะบิตอีเธอร์ เน็ต เป็ นต้ น ซึงเครื อข่ายย่อยนี ้จะแตกต่างในเรื่ องของความเร็ ว
                                                       ่
สายสัญญาณที่ใช้ และที่สาคัญคือราคา ก่อนที่จะตัดสินใจเลือกใช้ เครื อข่ายประเภทใดนัน         ้
ผู้ออกแบบต้ องพิจารณาความต้ องการแบนด์วิธของเครื อข่ายก่อน เช่น ถ้ าเครื อข่ายขององค์กร
ต้ องใช้ งานเกี่ยวกับมัลติมีเดียอย่างมาก เช่น เสียงและวิดีโอ แน่นอนเครื อข่ายต้ องการแบนด์วิธ
สูง ซึงนันก็คือหมายความว่าราคาต้ องแพงกว่า
       ่ ่
           - สายสัญญาณและอุปกรณ์ที่ใช้ สาหรับการติดตังสายสัญญาณ เช่น เต้ าเสียบ, ตู้
                                                                 ้
แร็กค์, แพทช์พาแนล, ท่อร้ อยสาย เป็ นต้ น ซึงอุปกรณ์เหล่านี ้ส่วนใหญ่จะคล้ ายกับอุปกรณ์ที่ใช้
                                                   ่
สาหรับการติดตังสายโทรศัพท์ ส่วนชนิดของสายที่ใช้ นนจะขึ ้นอยูกบประเภทของเครื อข่ายที่
                    ้                                         ั้       ่ ั
เลือกใช้ อุปกรณ์เครื อข่าย เช่น ฮับ, สวิตช์, เราท์เตอร์ , โมเด็ม เป็ นต้ น
           - ระบบปฏิบตการเครื อข่าย ในปั จจุบนวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ และโนเวลเน็ตแวร์ กาลังเป็ น
                            ัิ                           ั
ที่นิยมแต่บางครังเซิร์ฟเวอร์ อาจต้ องใช้ ระบบ UNIX ก็เป็ นไปได้ อีกระบบหนึงซึงกาลังได้ รับความ
                      ้                                                          ่ ่
นิยมใช้ กนเพิ่มขึ ้นเรื่ อย ๆ คือ Linux ซึงก็คือ UNIX ชนิดหนึงนันเอง
           ั                                ่                      ่ ่
75

      - ฮาร์ ดแวร์ ของเครื่ องเซิร์ฟเวอร์
      - อุปกรณ์สาหรับเก็บข้ อมูลสารอง
      - ฮาร์ ดแวร์ และระบบปฏิบตการเครื่ องลูกข่าย เช่น PC, Mac, Sun, Windows,
                                    ัิ
UNIX, Linux เป็ นต้ น
      กล่าวมานันเป็ นขันตอนแรกของการออกแบบเครื อข่าย ซึงเป็ นแค่การวาดภาพบน
                 ้     ้                                   ่
กระดานเท่านัน ขันตอนต่อไปเป็ นการพิจารณาในรายละเอียดของแต่ละหัวข้ อ
            ้ ้

           1. เครือข่ าย LAN
           สิ่งแรกที่ผ้ ออกแบบเครื อข่ายต้ องพิจารณาและตัดสินใจเลือกคือ เทคโนโลยีเครื อข่าย
                        ู
LAN ที่จะใช้ ซงแต่ละประเภทจะมีกลุมของผลิตภัณฑ์ที่ใช้ งานร่วมกันได้ ถึงแม้ ว่าจะถูกผลิตโดย
                  ึ่                     ่
ต่างบริ ษัทกันก็ตาม ผลิตภัณฑ์ตางกลุมกันจะใช้ งานร่วมกันไม่ได้ เช่น เน็ตเวิร์กการ์ ดของ
                                      ่ ่
เครื อข่ายประเภทโทเคนริงจะใช้ กบฮับแบบอีเธอร์ เน็ตไม่ได้ อุปกรณ์เครื อข่ายในแต่ละประเภทจะ
                                       ั
ถูกออกแบบตามมาตรฐานโปรโตคอลที่ใช้ ในแต่ละประเภท ซึงผู้ใช้ ก็มนใจว่าอุปกรณ์เหล่านี ้จะใช้
                                                                  ่      ั่
งานร่วมกันได้ โดยไม่มีปัญหาเกี่ยวกับการรับส่งข้ อมูลเทคโนโลยีเครื อข่ายแบบ LAN ที่เป็ นที่ใช้
ในปั จจุบนมีอยู่ 3 ประเภทคือ อีเธอร์ เน็ต โทเคนริง และ ATM ซึงเทคโนโลยีแต่ละประเภทนี ้มี
           ั                                                        ่
ข้ อดีข้อเสียที่แตกต่างกันรวมทังราคาและประสิทธิภาพด้ วย อีเธอร์ เน็ตเป็ นเทคโนโลยีที่เป็ นที่นิยม
                                 ้
มากที่สดในขณะนี ้ ในขณะที่เครื อข่ายแบบอื่นก็เหมาะกับระบบงานบางประเภท เมื่อเลือกใช้
         ุ
เทคโนโลยีเครื อข่ายประเภทใดแล้ วสายสัญญาณและอุปกรณ์เครื อข่ายที่ใช้ จะต้ องเป็ นของ
เครื อข่ายประเภทนันเท่านัน้  ้
                     1.1 โทเคนริง
                     โทเคนริง (Token Ring) เป็ นเทคโนโลยีที่สวนมากนิยมใช้ กบเครื อข่ายที่ใช้
                                                                ่               ั
อุปกรณ์ของบริษัท IBM เครื อข่ายประเภทนี ้จะใช้ โปรโตคอลแบบ token-Passing หรื อการส่งต่อ
โทเคน หลักการทางานของโปรโตคอลคร่าว ๆ คือ คอมพิวเตอร์ จะเชื่อมต่อกันแบบวงแหวน
โดยคอมพิวเตอร์ ที่มีโทเคนเท่านัน ถึงจะมีสิทธิ์ในการส่งข้ อมูล เมื่อคอมพิวเตอร์ เครื่ องที่มีโทเคนส่ง
                                    ้
ข้ อมูลเสร็จก็จะส่งโทเคนต่อไปให้ คอมพิวเตอร์ ที่อยูถดไป เทคโนโลยีโทเคนริงนี ้นิยมใช้ เครื อข่าย
                                                    ่ ั
เครื่ องมินิคอมพิวเตอร์ ของบริษัท IBM และความนิยมกาลังลดน้ อยลงเรื่ อย ๆ
                     1.2 ATM
                     ATM (Asynchronous Transfer Mode) เป็ นเทคโนโลยีที่มีการออกแบบที่
แตกต่างจากเครื อข่ายอีเธอร์ เน็ต และก็เป็ นคูแข่งที่สาคัญที่ใช้ ในเครื อข่ายหลัก (Backbone) และ
                                                 ่
เครื อข่ายที่ต้องการประสิทธิภาพในการรับส่งข้ อมูลสูง การรับส่งข้ อมูลในเครื อข่ายแบบ ATM
นัน ข้ อมูลจะถูกแบ่งออกเป็ นเซลล์เล็ก ๆ เท่ากันและมีรูปแบบการส่งข้ อมูลแบบวงจรเสมือน
   ้
76

(Virtual Circuits) หรื อมีการสร้ างเส้ นทางส่งข้ อมูลเสมือนขึ ้นระหว่างผู้สงและผู้รับก่อนที่จะมีการ
                                                                           ่
ส่งข้ อมูล ส่วนมากเครื อข่ายแบบ ATM จะมีอตราข้ อมูล (Bandwidth) อยูที่ 155 Mbps ใน
                                                        ั                     ่
ปั จจุบนเครื อข่ายประเภทนี ้นิยมใช้ สาหรับแบ็คโบนขององค์กรขนาดใหญ่ เครื อข่าย ATM สวิตซ์
         ั
ของ ATM จะมีราคาแพงกว่าสวิตซ์แบบอีเธอร์ เน็ตหลายเท่าตัว และยากต่อการกาหนดค่าต่าง ๆ
ของฮาร์ ดแวร์ ด้วย เน็ตเวิร์คการ์ ดแบบ ATM ที่ใช้ กบเครื่ องพีซี ก็จะมีราคาแพงมากกว่า และมี
                                                            ั
จาหน่ายในท้ องตลาดน้ อย สาหรับเครื อข่ายขององค์กรขนาดเล็กควรจะเลือกใช้ เครื อข่ายแบบ
ATM ก็ตอเมื่อองค์กรต้ องการเครื อข่ายที่มีประสิทธิภาพสูง เพื่อรองรับชุดซอฟต์แวร์ ที่ต้องการ
             ่
อัตรารับส่งข้ อมูลสูง เช่น ข้ อมูลที่เป็ นมัลติมีเดีย
                     1.3 Ethernet
                     ส่วนใหญ่องค์กรขนาดเล็กจะเลือกใช้ เครื อข่ายแบบอีเธอร์ เน็ต เพราะเป็ น
เครื อข่ายที่มีราคาค่อนข้ างถูกและมีความยืดหยุนมาก จะเห็นได้ วาจานวนอุปกรณ์เครื อข่ายที่
                                                          ่            ่
โฆษณาในวารสารคอมพิวเตอร์ ตาง ๆ จะมีอปกรณ์เครื อข่ายแบบอีเธอร์ เน็ตมากที่สด
                                          ่           ุ                              ุ
เนื่องจากว่าเครื อข่ายประเภทนี ้เป็ นที่นิยมกันมากบางบริ ษัทที่ผลิตเมนบอร์ ดสาหรับพีซีได้ เพิ่มส่วน
ที่เป็ นเน็ตเวิร์คการ์ ดแบบ            อีเธอร์ เน็ตในตัวเมนบอร์ ดด้ วย
           อีเธอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่ายที่ใช้ โปรโตคอล CSMA/CD(Carrier Sense Multiple Access
with Collision Detection) ซึงกาหนดอย่างเป็ นทางการใน IEEE 802.3
                                     ่




            โปรโตคอลนี ้อธิบายถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ตาง ๆ ที่เชื่อมต่อเข้ ากับ
                                                                    ่
เครื อข่ายอีเธอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่ายแบบแพร่กระจาย (Broadcast) ซึงหมายความว่าแต่ละโหนดจะ
                                                                      ่
มีสิทธิ์เท่ากันที่จะส่งข้ อมูลผ่านเครื อข่าย และทุกโหนดจะเห็นข้ อมูลทุกแพ็กเก็ตในเครื อข่ายแต่
เฉพาะโหนดที่มีที่อยู่ตรงกับที่อยูในแพ็กเก็ตเท่านัน จึงจะนาข้ อมูลไปโพรเซสต่อไป ข้ อมูลที่สงแต่
                                     ่             ้                                         ่
ละครังจะถูกเรี ยกว่า “ดาต้ าเฟรม (Data Frame)”
       ้
77

            ในแต่ละเฟรมจะมีที่อยู่ (Address) ของเครื่ องที่สงและเครื่ องที่รับ และเฉพาะเครื่ องที่มี
                                                                ่
อยูตรงกับที่ระบบเฟรมเท่านันที่จะเปิ ดอ่านเฟรมที่สงในเครื อข่าย ในแต่ละเครื อข่ายสามารถ
     ่                         ้                         ่
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ได้ หลายเครื่ อง ซึงแต่ละเครื่ องสามารถส่งเฟรมได้ ทกเวลา แต่อย่างไรก็
                                           ่                                      ุ
ตามถ้ าโหนดสองโหนดใด ๆ พยายามที่จะส่งเฟรมในเวลาเดียวกัน ก็จะเกิดการชนกันของข้ อมูล
(Collision) ซึงผลก็คือ เฟรมข้ อมูลนันก็จะกลายเป็ นขยะหรื ออ่านไม่ได้ ทนที เพราะฉะนันโหนดที่
                   ่                     ้                                      ั               ้
ส่งเฟรมต้ องตรวจสอบว่ามีการชนกันของข้ อมูลนันก็จะกลายเป็ นขยะหรื ออ่านไม่ได้ ทนที
                                                     ้                                    ั
เพราะฉะนันโหนดที่สงเฟรมต้ องตรวจสอบว่ามีการชนกันของข้ อมูลเกิดขึ ้นหรื อไม่ถ้าหากมีแต่ละ
                 ้       ่
โหนดที่สงต้ องรอในเวลาที่เป็ นเลขสุม แล้ วค่อยเริ่มกระบวนการส่งข้ อมูลใหม่ เหตุที่ต้องรอในเวลา
            ่                          ่
ที่เป็ นเลขสุมก็เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดการชนกันของข้ อมูลอีกครัง
               ่                                                   ้
            แบนด์วิธพื ้นฐานของอีเธอร์ เน็ตอยูที่ 10 Mbps แต่ละโหนดจะแชร์ การใช้ แบนด์วิธนี ้
                                              ่
โหนดที่อยู่ในเซ็กเมนต์เดียวกันจะแชร์ แบนด์วิธนี ้ร่วมกัน และอาจจะก่อให้ เกิดการชนกันของ
ข้ อมูลได้ ดังนันส่วนแบ่งของแบนด์วิธของแต่ละโหนดจะลดลง เมื่อจานวนโหนดที่เชื่อมต่อเข้ าแต่
                     ้
ละเซ็กเมนต์เพิ่มขึ ้น และโอกาสที่จะเกิดการชนกันของข้ อมูลก็จะเพิ่มมากขึ ้นด้ วย ดังนันยิ่ง  ้
จานวนโหนดที่เชื่อมต่อเข้ าเซ็กเมนต์มีจานวนน้ อยเท่าใดยิ่งทาให้ เครื อข่ายมีประสิทธิภาพมากขึ ้น
เท่านัน อุปกรณ์ที่ใช้ กบเครื อข่ายประเภทนี ้จะเรี ยกว่า “ฮับ (Hub) ” ในการแก้ ปัญหาการแชร์
        ้                  ั
แบนด์วิธของโหนดในเซ็กเมนต์เดียวกัน สามารถทาได้ โดยการใช้ สวิตซ์ (Switch) ซึงเป็ นอุปกรณ์่
เครื อข่ายที่ฉลาดกว่าฮับโดยมันจะส่งแพ็กเก็ตไปยังเฉพาะพอร์ ตที่มีโหนดปลายทางเท่านัน            ้
ในขณะที่ฮบนันจะส่งต่อเฟรมไปยังทุก ๆ พอร์ ต
              ั ้
เครื อข่ายอีเธอร์ เน็ต
            2. เครือข่ าย WAN
            การออกแบบเครื อข่ายใหญ่ ๆ มีหลักการอย่างหนึงคือ การแบ่งเครื อข่ายใหญ่ ๆ นี ้
                                                              ่
ออกเป็ นเครื อข่ายย่อย ๆ แล้ วเชื่อมเครื อข่ายย่อย ๆ เหล่านี ้ให้ เป็ นเครื อข่ายใหญ่อีกที สายนา
สัญญาณที่ใช้ เชื่อมต่อเครื อข่ายย่อย ๆ เหล่านี ้เข้ าด้ วยกันเรี ยกว่า “แบ็คโบน (Backbone)” โดย
จะใช้ อปกรณ์เครื อข่ายต่าง ๆ เช่น ฮับ สวิตซ์ และ เราท์เตอร์ เครื อข่ายหลักนี ้จะต้ องถูกออกแบบ
          ุ
ให้ มีความสามารถที่จะถ่ายโอนข้ อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ และมีความเชื่อถือได้ เครื อข่ายหลักนี ้
ส่วนมากจะเป็ นเครื อข่ายประเภทที่มีความเร็วสูง เช่น FDDI ซึงใช้ สายใยแก้ วนาแสงเป็ น
                                                                     ่
สายสัญญาณ หรื อเครื อข่ายแบบ ATM หรื อเทนกิกะบิตอีเธอร์ เน็ต ซึงเป็ นเทคโนโลยีใหม่ที่กาลัง
                                                                             ่
นามาใช้ ในปั จจุบน แต่ในสาหรับเครื อข่ายขนาดเล็กนัน การออกแบบจะเป็ นแบบธรรมดา จะไม่
                       ั                                   ้
ซับซ้ อนมากนักและยังไม่จาเป็ นต้ องมีเครื อข่ายหลักหรื อแบ็คโบนที่มีความเร็ วสูง เครื อข่ายสาหรับ
ธุรกิจขนาดเล็กอาจใช้ ฮบแค่ 2 – 3 เครื่ อง ซึงถ้ ามีฮบหลายเครื่ องก็อาจจะใช้ วิธีการเชื่อมต่อกัน
                             ั                  ่      ั
แบบเป็ นลูกโซ่ หรื อจะใช้ สวิตซ์หนึงเครื่ องในการเชื่อมต่อฮับเหล่านี ้ก็ได้
                                    ่
78




        เครือข่ าย WAN

          วิธีที่ดีกว่าการเชื่อมต่อกับอินเตอร์ เน็ต ไม่ใช่การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ องเข้ ากับ
อินเตอร์ เน็ต แต่เป็ นวิธีที่เครื อข่ายแชร์ ลิงค์ระหว่างเครื อข่ายกับอินเตอร์ เน็ต การที่จะเชื่อมต่อ
          ด้ วยวิธีนี ้องค์กรอาจต้ องใช้ เราท์เตอร์ ในการเชื่อมต่อ สาหรับองค์กรขนาดใหญ่อาจจะใช้
เราท์เตอร์ ที่มีประสิทธิภาพสูงและสามารถจัดการกับหลายสายเชื่อมต่อ ซึงราคาของเราท์เตอร์ ช
                                                                                  ่
นิดนี ้อาจมีราคาแพงและต้ องใช้ ผ้ เู ชี่ยวชาญในการติดตังและดูแล สาหรับเครื อข่ายขนาดเล็กแล้ ว
                                                              ้
จะมีอปกรณ์ที่ซบซ้ อนน้ อยกว่าซึงเรี ยกว่า “แอ็กเซสเราท์เตอร์ (Access Router)” ซึงจะมีพอร์ ต
        ุ           ั                  ่                                                    ่
สาหรับเชื่อมต่อกับอีเธอร์ เน็ตและพอร์ ตสาหรับเชื่อมต่อกับ ISP และจะใช้ ซอฟต์แวร์ ที่ง่ายต่อการ
ใช้ มากกว่าเราท์เตอร์ เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ ในการจัดการเกี่ยวกับการเชื่อมต่อและช่วยให้ การเชื่อมต่อมี
ประสิทธิภาพมากขึ ้น
          การเลือกซื ้ออุปกรณ์เครื อข่าย
          อุปกรณ์สื่อสารข้ อมูลของเครื อข่ายอีเธอร์ เน็ตแบบ 10Base-T ที่มีราคาถูกที่สดคือ ฮับ   ุ
ซึงเป็ นอุปกรณ์แบบที่ต้องแชร์ ชองสัญญาณในการรับส่งข้ อมูล ซึงก็เปรี ยบเสมือน
  ่                                  ่                                     ่
เซ็กเมนต์หนึงของ LAN คอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์เครื อข่ายอื่น ๆที่เชื่อมต่อเข้ ากับพอร์ ตของฮับจะ
               ่
          แชร์ การใช้ แบนด์วิธ 10 Mbps และทุกเครื่ องมีโอกาสที่จะทาให้ เกิดการชนกันของข้ อมูล
ได้ ยังสามารถเชื่อมต่อกันเป็ นลูกโซ่ได้ เพื่อเพิ่มขนาดของเครื อข่ายโดยคอมพิวเตอร์ ทกเครื่ องที่
                                                                                              ุ
เชื่อมต่อเข้ ากับฮับที่พวงกันนี ้จะถือว่าอยูในเซ็กเมนต์เดียวกัน
                           ่                   ่
          การเลือกซื ้อฮับให้ คานึงถึงความยากง่ายในการดูแลและจัดการอุปกรณ์ด้วย ตัวอย่างเช่น
เครื อข่ายที่ขนาดใหญ่พอสมควร อาจจะมีการดูแลและจัดการเครื อข่ายแบบทางไกล (Remote
Management) ซึงอุปกรณ์เครื อข่ายทุกอย่างต้ องสามารถที่จะติดต่อสื่อสารในทุก ๆ เรื่ องกับ
                        ่
อุปกรณ์ที่ทาหน้ าที่เป็ นศูนย์กลางการจัดการ โดยใช้ โปรโตคอล SNMP (Simple Network
79

Management Protocol) และ RMON (Remote Monitoring Protocol) ในระบบเครื อข่าย
ขนาดใหญ่นนมักจะมีคอมพิวเตอร์ หนึงเครื่ องหรื อมากกว่าที่ทาหน้ าที่คอยเฝาดูความเป็ นไปของ
               ั้                           ่                                    ้
เครื อข่าย (Monitoring) เช่น ตรวจสถานภาพการทางานของแต่ละอุปกรณ์วายังทางานได้ ดีอยู่่
หรื อมีปัญหาอะไร ตรวจสอบประสิทธิภาพโดยรวมของเครื อข่าย และแจ้ งเตือนให้ ผ้ ดแลระบบ       ู ู
ทราบถ้ าประสิทธิภาพของเครื อข่ายต่ากว่าค่าที่กาหนดให้ เป็ นค่าต่าสุด คาว่าประสิทธิภาพของ
เครื อข่ายในที่นี ้ หมายถึงการที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องใดเครื่ องหนึงสามารถส่งข้ อมูลผ่าน
                                                                          ่
เครื อข่ายได้ ดีแค่ไหน
           ฮับมีอยู่ 2 ประเภทที่มีจาหน่ายในท้ องตลาด คือ แบบที่สามารถจัดการระยะไกลได้
(Remote Manageable) และแบบที่ไม่สามารถจัดการ (non-manageable) ถ้ าเครื อข่ายของ
องค์กรเป็ นเครื อข่ายค่อนข้ างใหญ่ และใช้ การดูแลและจัดการแบบรวมศูนย์ ก็จาเป็ นที่ต้องซื ้อฮับ
ที่สามารถจัดการระยะไกลได้ ถ้ าหากว่าเครื อข่ายค่อนข้ างเล็กก็อาจจะเลือกซื ้อฮับที่ไม่มี
ความสามารถในการจัดการก็ได้ ซึงอาจจะประหยัดเงินได้ พอสมควร เนื่องจากฮับที่จะสามารถ
                                        ่
จัดการได้ นี ้จะมีราคาแพงกว่าแบบธรรมดา ซึงถ้ าหากซื ้อฮับแบบที่สามารถจัดการได้ แต่ไม่ได้ ใช้
                                                    ่
ประโยชน์ก็อาจจะเป็ นการใช้ อปกรณ์ไม่ค้ มค่า ฉะนันสาหรับเครื อข่ายเล็ก ๆ การใช้ ฮบแบบ
                                  ุ            ุ            ้                                ั
ธรรมดาก็จะยังคงทางานได้ ดี แต่ถ้าเป็ นเครื อข่ายที่มีศนย์กลางควบคุมควรที่จะซื ้อฮับแบบที่
                                                                ู
จัดการได้ เพราะจะเป็ นการง่ายต่อการปรับประสิทธิภาพของเครื อข่าย และช่วยให้ การค้ นหา
สาเหตุในกรณีเครื อข่ายเกิดมีปัญหาได้ ง่ายขึ ้น
           อย่างที่ได้ กล่าวมาแล้ วข้ างต้ นว่า อีเธอร์ เน็ตที่ใช้ ฮบแบบแชร์ แบนด์วิธนันสามารถที่จะพ่วง
                                                                    ั                  ้
ต่อฮับหลาย ๆ ตัวเข้ าด้ วยกันเพื่อเพิ่มจานวนพอร์ ต ซึงคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อเข้ ากับฮับนี ้จะถือว่า
                                                              ่
เป็ นหนึงเซ็กเมนต์ของ LAN เทคโนโลยีอีกอย่างหนึงของอีเธอร์ เน็ตคือ การสวิตซ์ชิ่ง (Switching)
         ่                                                ่
การสวิตซ์ชิ่งนี ้จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมของเครื อข่าย
80

และเพิ่มแบนด์วิธ ต่อผู้ใช้ ด้วย อีกทังยังช่วยลดโอกาสการเกิดข้ อผิดพลาดเนื่องจากการชนกันของ
                                            ้
ข้ อมูลด้ วย ข้ อแตกต่างระหว่างการใช้ สวิตซ์และฮับก็คือ แต่ละพอร์ ตของสวิตซ์จะเป็ นเสมือนเซ็ก
เมนต์หนึงของอีเธอร์ เน็ต คอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์เครื อข่ายที่เชื่อมต่อเข้ ากับพอร์ ตใดพอร์ ตหนึง
           ่                                                                                       ่
ของสวิตซ์จะใช้ แบนด์วิธได้ เต็ม โดยไม่ต้องแชร์ แบนด์วิธนี ้กับคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ที่เชื่อมต่อ
เข้ ากับพอร์ ตอื่นของสวิตซ์นน และการรับส่งข้ อมูลจะไม่ก่อให้ เกิดการชนกันของข้ อมูล (Collision)
                                  ั้
ระหว่างพอร์ ตของสวิตซ์ด้วย และการเชื่อมต่อเข้ ากับสวิตซ์นนไม่จาเป็ นต้ องใช้ อปกรณ์พิเศษเพิ่ม
                                                                    ั้                   ุ
หรื ออีกนัยหนึงคือไม่ต้องใช้ เน็ตเวิร์คการ์ ดแบบพิเศษ แต่อย่างไรก็ตามไม่มีสินค้ าที่ มีคณภาพดีแต่
                   ่                                                                          ุ
ราคาถูกนันคือ สวิตซ์จะแพงกว่าฮับแน่นอน
             ่
             อีเธอร์ เน็ตสวิตซ์
           ลักษณะการใช้ สวิตซ์ที่เป็ นที่นิยมคือ ใช้ เพื่อแบ่งเครื อข่ายใหญ่ ๆ ออกเป็ นหลายเครื อข่าย
ย่อยหรื อเซ็กเมนต์ ในขณะเดียวกันที่เราสามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หนึงของสวิตซ์ได้ เราก็
                                                                                     ่
สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์เครื อข่ายอื่น ๆ เช่น ฮับ ได้ เช่นกัน ถ้ าหากว่าเครื อข่ายมีขนาดใหญ่และ
มีฮบหลายเครื่ อง ก็อาจจะต่อฮับแต่ละเครื่ องนันเข้ ากับแต่ละพอร์ ตของสวิตซ์ ซึงจะทาให้
     ั                                                 ้                                   ่
คอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อเข้ ากับแต่ละฮับนันเป็ นหนึงเซ็กเมนต์ของเครื อข่าย แต่ถ้าพ่วงต่อฮับเป็ น
                                              ้      ่
ลูกโซ่กบสวิตซ์ฮบเหล่านัน ก็จะยังคงเป็ นเสมือนหนึงเซ็กเมนต์เหมือนเดิม
         ั           ั          ้                         ่
           เซิร์ฟเวอร์ และการให้ บริการ
           ในเครื อข่ายใดเครื อข่ายหนึงคอมพิวเตอร์ มักจะทาหน้ าที่ไม่เป็ นเซิร์ฟเวอร์ ก็เป็ นไคลเอนท์
                                        ่
เครื่ องไคลเอนท์คือเครื่ องที่ใช้ บริการต่าง ๆ ที่เครื่ องเซิร์ฟเวอร์ มีให้ เครื อข่ายแบบไคลเอนท์
เซิร์ฟเวอร์ นี ้ต้ องมีเครื่ องคอมพิวเตอร์ เฉพาะที่ทาหน้ าที่ให้ บริการอย่างเดียว




           การทางานแบบนี ้จะแยกเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ ออกจากเครื่ องไคลเอนท์อย่างเด็ดขาด สาหรับ
เครื่ องเซิร์ฟเวอร์ นนต้ องเลือกใช้ คอมพิวเตอร์ ที่มีประสิทธิภาพสูง และใช้ เกี่ยวกับการให้ บริการด้ าน
                     ั้
นัน ๆ โดยเฉพาะ ส่วนไคลเอนท์อาจเป็ นคอมพิวเตอร์ ที่มีประสิทธิภาพธรรมดาหรื อสูงมากนัก
  ้
เนื่องจากไคลเอนท์จะอาศัยเซิร์ฟเวอร์ ในการทางานเพื่อตอบสนองความต้ องการของผู้ใช้

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2pop Jaturong
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานJaraweekorn Udkhammee
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
080 พุดตาน
080 พุดตาน080 พุดตาน
080 พุดตานthana bkk
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์siwaporn_jo
 
การเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าการเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าsripai52
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Sununtha Sukarayothin
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power pointThank Chiro
 
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์อนุชา โคยะทา
 
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริง
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริงโครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริง
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริงWichai Likitponrak
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญาshikapu
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานJanchai Pokmoonphon
 

La actualidad más candente (20)

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
Circulation1
Circulation1 Circulation1
Circulation1
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
080 พุดตาน
080 พุดตาน080 พุดตาน
080 พุดตาน
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
การเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้าการเขียนภาพกระจกเว้า
การเขียนภาพกระจกเว้า
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power point
 
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
โครงงานเชียงคานในวันนี้กับวิถีที่เปลี่ยนไป ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์
 
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริง
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริงโครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริง
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริง
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
 

Similar a บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27sawalee kongyuen
 
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
30879960 geospatial-system-on-cloud-computingAyutthaya GIS
 
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)Justamad Potavin
 
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)Justamad Potavin
 
Cloud computing อรญา อำนาจเจริญพร
Cloud computing อรญา อำนาจเจริญพรCloud computing อรญา อำนาจเจริญพร
Cloud computing อรญา อำนาจเจริญพรKunming Oraya
 
การเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตThanakorn Luanglertpaiboon
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9ninjung
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์galswen
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์katuckkt
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์Min Jidapa
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์Tata Sisira
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9Jaohjaaee
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์junniemellow
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .jamiezaa123
 

Similar a บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย (20)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
 
Cloud computing
Cloud computingCloud computing
Cloud computing
 
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
30879960 geospatial-system-on-cloud-computing
 
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
 
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
 
Cloud computing อรญา อำนาจเจริญพร
Cloud computing อรญา อำนาจเจริญพรCloud computing อรญา อำนาจเจริญพร
Cloud computing อรญา อำนาจเจริญพร
 
Cloud computing-trouble
Cloud computing-troubleCloud computing-trouble
Cloud computing-trouble
 
การเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 

บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย

  • 1. 70 บทที่ 6 การออกแบบระบบเครื อข่ าย ไม่วาจะเป็ นเครื อข่ายสาหรับองค์กรขนาดใดก็ตาม สิ่งที่จาเป็ นต้ องมีคือ บุคลากรที่จะ ่ ดูแลและจัดการระบบเครื อข่าย สาหรับองค์กรขนาดเล็กอาจจะมีแค่หนึงหรื อสองคนที่คอยดูแล ่ และจัดการเรื่ องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และระบบเครื อข่าย ซึงหลายองค์กรมักจะจ้ าง ่ เจ้ าหน้ าที่แบบชัวคราวหรื อทางานแบบไม่เต็มเวลามาดูแลระบบ สาหรับการออกแบบและการ ่ ติดตังระบบเครื อข่ายในครังแรกนันหลายองค์กรอาจใช้ วิธีการจ้ างบริ ษัทที่ปรึกษาทางด้ าน ้ ้ ้ เครื อข่ายในครังแรกนันหลายองค์กรอาจใช้ วิธีการจ้ างบริ ษัทที่ปรึกษาทางด้ านเครื อข่ายทาการ ้ ้ ออกแบบและติดตังระบบให้ ใช้ งานได้ ก่อน เมื่อติดตังเสร็ จแล้ วทางองค์กรที่รับผิดชอบทางด้ านนี ้ ้ ้ เฉพาะ เพื่อทาหน้ าที่เป็ นผู้ประสานงานกับบริษัทที่จะมาออกแบบและติดตังระบบเครื อข่ายให้ กบ ้ ั องค์กรก่อน ในบทนี ้จะเป็ นการให้ คาแนะนาสิ่งต่าง ๆ ที่ควรพิจารณาให้ กบผู้ที่ได้ รับมอบหมาย ั จากองค์กรให้ ทาหน้ าที่นี ้การประเมินความต้ องการ ก่ อนที่จะเริ่มลงมือออกแบบเครื อข่ ายผู้ออกแบบระบบต้ องมีจุดประสงค์ ท่ ีชัดเจน ก่ อน สิ่งหนึ่งที่สาคัญที่ต้องทาก่ อนที่จะออกแบบระบบเครือข่ าย การวิเคราะห์ ระบบ ซึ่ง จะรวมถึงการศึกษาระบบการทางานขององค์ กรแล้ ววิเคราะห์ ว่าสามารถใช้ ระบบ สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานขององค์ กรได้ อย่ างไรขันต้ นก็อาจลอง ้ พิจารณาดูว่ามีระบบงาน อะไรบ้ างถ้ าใช้ เครื อข่ายแล้ วจะช่วยทาให้ การปฏิบตงานนันมีประสิทธิภาพมากขึ ้น ัิ ้ จะต้ องใช้ ซอฟต์แวร์ ทางด้ านธุรกิจอะไรบ้ าง ผู้ใช้ ต้องการที่จะแชร์ ไฟล์ชนิดต่าง ๆ เท่านัน หรื อ ้ องค์กรต้ องการที่จะมีระบบฐานข้ อมูลที่มีผ้ ใช้ หลายคนหรื อไม่ องค์กรต้ องการที่จะใช้ อีเมลหรื อไม่ ู แล้ วเว็บเซิร์ฟเวอร์ จาเป็ นไหม องค์กรต้ องการนาธุรกิจเข้ าสูระบบอีคอมเมิร์ซหรื อไม่ ซึงถ้ าใช่นน ่ ่ ั่ ก็หมายความว่าเครื อข่ายขององค์กรต้ องการที่จะเชื่อมต่อเข้ ากับอินเตอร์ เน็ต ที่กล่าวมาเป็ นส่วน หนึงของหลาย ๆ สิ่งที่ ผู้ออกแบบระบบต้ องศึกษาและค้ นคว้ าก่อนที่จะเริ่มลงมือออกแบบ ่ ระบบ เมื่อได้ ศกษาและวิเคราะห์งานด้ านธุรกิจที่จาเป็ นต้ องใช้ เครื อข่ายแล้ วต่อไปให้ ลาดับ ึ ความสาคัญของแต่ละงาน เพื่อจะได้ วางแผนได้ วาสิ่งไหนที่ต้องทาก่อนหรื อสิ่งใดที่สามารถรอ ่ ก่อนได้ ซึงผู้ออกแบบต้ องให้ ความสาคัญกับงานที่มีผลกระทบกับธุรกิจขององค์กรมากที่สดเป็ น ่ ุ อันดับแรก ลักษณะการใช้ งานคอมพิวเตอร์ ในสานักงานขนาดเล็กจะแตกต่างจากลักษณะการใช้ คอมพิวเตอร์ ในบริษัทขนาดใหญ่ หรื อเอ็นเตอร์ ไพรซ์ (Enterprise) ระบบเครื อข่ายสาหรับองค์กร ขนาดใหญ่มกจะมีผ้ ใช้ หลายพันคน มีเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ หลายสิบเครื่ อง ซึงอาจจะมีเครื่ อง ั ู ่ เมนเฟรมเชื่อมต่อเข้ ากับระบบ และเครื อข่ายอาจจะครอบคลุมบริเวณกว้ างซึงอาจจะมีหลาย ่
  • 2. 71 อาคาร และแต่ละอาคารอาจมีหลายชัน เครื อข่ายประเภทนี ้อาจจะต้ องเชื่อมต่อกับเครื อข่าย ้ ของสาขาย่อยหลายเครื อข่าย ของสาขาย่อยหลายเครื อข่าย และในแต่ละสาขาย่อยอาจจะมี หลายอาคารซึงไม่เป็ นการผิดปกติเลยที่เครื อข่ายแบบอินเตอร์ ไพรซ์นี ้จะประกอบด้ วยอุปกรณ์ ่ เครื อข่ายหลายพันเครื่ องและต้ องอาศัยเครื อข่ายหลักหรื อแบ็คโบน (Backbone) ในการเชื่อมต่อ กันระหว่างเครื อข่ายย่อย ๆ เข้ าด้ วยกัน เครื อข่ายประเภทนี ้มักจะมีอปกรณ์ที่ซบซ้ อนและราคาแพง ุ ั ดังนันจึงจาเป็ นต้ องใช้ บคลากรที่มีความชานาญสูงเฉพาะด้ านนี ้เฉพาะเพื่อดูแลและจัดการระบบ ้ ุ สาหรับองค์กรขนาดเล็กจะมีความต้ องการทางด้ านเครื อข่ายที่กะทัดรัดกว่า เครื อข่าย อาจจะประกอบด้ วยเครื่ องลูกข่ายไม่ถึงร้ อยเครื่ อง เครื่ องพิมพ์เลเซอร์ ไม่ถึงสิบเครื่ อง โดยเครื อข่าย นี ้สามารถอานวยความสะดวกแก่พนักงานขององค์กรในการแชร์ ข้อมูลได้ ด้วย รวมทังเครื่ องพิมพ์ ้ และทรัพยากรเครื อข่ายอื่น ๆ ร่วมกันความต้ องการทางด้ านเครื อข่ายขององค์กรขนาดเล็กนี ้ สามารถที่จะตอบสนองด้ วยระบบเครื อข่ายเล็ก ๆ ซึงเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ อาจหาซื ้อได้ ตามท้ องตลาด ่ ทัวไป เครื อข่ายสาหรับองค์กรขนาดเล็กนี ้ไม่จาเป็ นต้ องมีผ้ ดแลระบบที่มีความชานาญและ ่ ู ู ประสบการณ์มากนักไม่เหมือนเครื อข่ายแบบเอ็นเตอร์ ไพรซ์ ถึงแม้ วาเครื อข่ายขององค์กรขนาดเล็กจะมีความซับซ้ อนไม่มากนัก อย่างไรก็ตามยังมีบาง ่ ประเด็นที่เหมือนกัน ตัวอย่างเช่น เครื อข่ายทังสองประเภทต้ องถูกออกแบบให้ สามารถตอบสนอง ้ ความต้ องการของผู้ใช้ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ มีการควบคุมความปลอดภัยของข้ อมูล สามารถที่ จะขยายได้ ง่ายในอนาคตหรื อเมื่อธุรกิจขยายตัวใหญ่ขึ ้นก็สามารถที่จะขยายเครื อข่ายได้ โดยง่าย และ ไม่ให้ การวางแผนเครื อข่ายในตอนแรกมีผลบังคับต่อการเลือกใช้ เทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกิดขึ ้น หลังจากการติดตังแล้ วซึ่งอาจจะมีผลกระทบต่อธุรกิจขององค์กรได้ ้ สาหรับองค์กรขนาดใหญ่อาจมีสานักงานย่อยที่ตงอยูในที่หางไกลจากสานักงานใหญ่ ั้ ่ ่ สานักงานสาขาย่อยเหล่านี ้มักจะได้ รับการสนับสนุนทางด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศจากสานักงาน ใหญ่ได้ ไม่เต็มที่ ดังนันระบบเครื อข่ายสาหรับสานักงานขนาดเล็กนี ้ควรจะมีการออกแบบให้ อยูใน ้ ่ ลักษณะที่ไม่ซบซ้ อนจนเกินไป และง่ายต่อการจัดการและดูแล เนื่องจากแต่ละองค์กรมีความ ั ต้ องการที่จะใช้ เครื อข่ายในรูปแบบที่ตางกัน ดังนันจึงเป็ นการยากที่จะออกแบบระบบเครื อข่าย ่ ้ หนึงแล้ วใช้ งานได้ อย่างเหมาะสมกับทุก ๆ องค์กรได้ เพราะเหตุนี ้ผู้เขียนจะแนะนาหลักการทัว ๆ ่ ่ ไปที่ใช้ ในการออกแบบระบบเครื อข่าย ผู้เขียนจะยึดหลักการง่ายๆ เพื่อให้ บรรลุวตถุประสงค์ของ ั องค์กร การใช้ งานเครื อข่ายนันส่วนใหญ่จะไม่จากัดเพียงเฉพาะในองค์กรเท่านัน ตอนนี ้เราควร ้ ้ จะ ทราบแล้ วว่าองค์กรต้ องการที่จะเชื่อมต่อกับภายนอกอย่างไรบ้ าง สิ่งหนึงที่จะปฏิเสธไม่ได้ ใน ่ ยุคปั จจุบนนันก็คือ การเชื่อมต่อเข้ ากับอินเตอร์ เน็ต แต่สิ่งต่อไปที่ต้องพิจารณาก็คือ การ ั ่ เชื่อมต่อด้ วยโมเด็มจะเพียงพอกับความต้ องการหรื อไม่ หรื อว่าองค์กรต้ องการการเชื่อมต่อแบบ
  • 3. 72 ตลอดเวลา แล้ วต้ องการแบนด์วิธเท่าไร องค์กรต้ องการที่จะเชื่อมต่อเข้ ากับเครื อข่ายส่วนบุคคล อื่น เช่น เครื อข่ายที่ใช้ ที่บ้านหรื อไม่ สิ่งที่ยากอย่างหนึ่งสาหรับการออกแบบเครื อข่ายคือ การ เชื่อมต่อเข้ ากับเครื อข่ายอื่น ไม่เฉพาะความยุงยากทางด้ านเทคนิคแต่เกี่ยวเนื่องกับราคาที่แพง ่ ด้ วย หลังจากได้ ศกษาและวิเคราะห์ระบบงานขององค์กรแล้ ว ผู้ออกแบบระบบก็สามารถสรุป ึ ได้ วาระบบเครื อข่ายควรจะมีขนาดเท่าไร ซึงประมาณได้ โดยการพิจารณาจากจานวนพนักงานที่ ่ ่ ต้ องใช้ คอมพิวเตอร์ ในการทางาน และต้ องการใช้ มากน้ อยเท่าใด จากนันค่อยออกแบบเครื อข่าย ้ ให้ สามารถรองรับการใช้ งานของผู้ใช้ ทกคนและเผื่อไว้ สาหรับการขยายตัวของเครื อข่ายในอนาคต ุ ผู้ออกแบบระบบอาจคานวณความต้ องการที่ต้องใช้ เครื อข่ายขององค์กรในช่วง 2-3 ปี ข้ างหน้ าโดย การพิจารณาจานวนผู้ใช้ ใหม่ที่จะเพิ่มขึ ้น และอาจคานึงถึงความต้ องการเพิ่ม ทางด้ านพื ้นที่เก็บข้ อมูลหรื อขนาดของฮาร์ ดดิสก์ตอผู้ใช้ ซึ่งอาจจะเพิ่มขึ ้นอย่างคาดไม่ถึงก็ ่ ได้ เครื อข่ายที่ออกแบบจะต้ องสามารถขยายได้ ง่ายโดยการเพิ่มเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ หรื อเครื่ องลูกข่าย หรื อการใช้ เทคโนโลยี ใหม่ ๆ กับระบบได้ โดยง่าย การเลือกประเภทของเครื อข่ าย ในเครื อข่ายใดเครื อข่ายหนึงคอมพิวเตอร์ มกจะทาหน้ าที่ไม่เป็ นเซิร์ฟเวอร์ ก็เป็ นไคลเอนท์ ่ ั เครื่ องไคลเอนท์คือ เครื่ องที่ใช้ บริการต่าง ๆ ที่เครื่ องเซิร์ฟเวอร์ มีให้ ซึงบทบาทนี ้จะไม่ตามตัว ่ เสมอไปนันคือ บางเครื่ องอาจจะเป็ นเครื่ องไคลเอนท์ในการทางานลักษณะหนึง หรื ออาจมี ่ ่ บทบาทเป็ นเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ เมื่อทางานอีกอย่างหนึง เครื อข่ายแบบไคลเอนท์เซิร์ฟเวอร์ นี ้ต้ องมี ่ เครื่ องคอมพิวเตอร์ เฉพาะที่ทาหน้ าที่ให้ บริการอย่างเดียว การทางานแบบนี ้จะแยกเครื่ อง เซิร์ฟเวอร์ ออกจากเครื่ องไคลเอนท์อย่างเด็ดขาด สาหรับเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ นนต้ องเลือกใช้ ั้ คอมพิวเตอร์ ทีมีประสิทธิภาพสูง และใช้ เกี่ยวกับการให้ บริการด้ านนัน ๆ โดยเฉพาะ ส่วนไคล ้ เอนท์อาจเป็ นคอมพิวเตอร์ ที่มีประสิทธิภาพธรรมดาหรื อไม่สงมากนัก เนื่องจากไคลเอนท์จะ ู อาศัยเซิร์ฟเวอร์ คือ ความสะดวกในการบริหารและจัดการเครื อข่ายในเรื่ องต่าง ๆ เช่น ทรั พยากร เครื อข่าย การรักษาความปลอดภัยและยังทาให้ การวางแผนให้ ระบบมีประสิทธิภาพเพียงพอ สาหรับการใช้ งานของ องค์กรได้ เครื อข่ายแบบเพียร์ ทเู พียร์ (Peer – to –Peer) นัน คอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ องอาจทาหน้ าที่ ้ เป็ นทังไคลเอนท์และเซิร์ฟเวอร์ ซึงเครื อข่ายประเภทนี ้ไม่จาเป็ นต้ องมีเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ ที่ทางาน ้ ่ เฉพาะในการให้ บริการในเครื อข่ายระบบปฏิบติการที่ใช้ ในปั จจุบน เช่น วินโดวส์ Me/XP, ั ั MacOS และ Linux ส่วนใหญ่จะมีฟีเจอร์ ที่สามารถให้ บริการในรูปแบบต่าง ๆ พร้ อมทัง้ เอื ้ออานวยให้ ทางานทัว ๆ ไปได้ เช่นกัน เมื่อใช้ ระบบปฏิบตการเหล่านี ้แล้ วเราสามารถที่จะสร้ าง ่ ัิ เครื อข่ายแบบเพียร์ ทเู พียร์ ได้ เลย ซึงคอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึงสามารถทางานได้ ทงแบบที่เป็ น ่ ่ ั้
  • 4. 73 เครื่ องใช้ งานโดยทัวไปและยังสามารถให้ บริการในเครื อข่ายในรูปแบบต่าง ๆ ได้ เช่น การแชร์ ่ ฮาร์ ดดิสก์ เครื่ องพิมพ์ หรื อทรัพยากรอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น ถ้ าหากว่าคอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึงมี ่ เครื่ องพิมพ์เลเซอร์ เราสามารถที่จะแชร์ เครื่ องพิมพ์นี ้ให้ กบผู้ใช้ คนอื่น ๆ ผ่านเครื อข่ายได้ หรื อเรา ั ต้ องการแชร์ โฟลเดอร์ ใดโฟลเดอร์ หนึงในฮาร์ ดดิสก์ก็สามารถทาได้ เช่นกัน และระบบปฏิบตการ ่ ัิ บางระบบสามารถที่จะใช้ เป็ นเว็บเซิร์ฟเวอร์ ได้ เช่นกัน เครื อข่ายแบบเพียร์ ทเู พียร์ จะมีราคาถูกกว่า เพราะไม่จาเป็ นต้ องมีเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาแพง แต่เมื่อเครื อข่ายต้ อง ขยายใหญ่ขึ ้นจนถึงจุด ๆ หนึ่ง ก็จะทาให้ การบริหารและการจัดการระบบเครื อข่ายยากขึ ้น ซึงบาง ่ ทีอาจทาให้ ระบบเครื อข่ายมีประสิทธิภาพต่าลงได้ และอาจทาให้ เครื อข่ายไม่อาจจะรองรับการ ทางานตามที่องค์กรต้ องการก็ได้ ถ้ าหากว่าทรัพยากรเครื อข่ายที่แชร์ กนใช้ อยูในเครื่ องศูนย์กลาง ั ่ แล้ วก็จะทาให้ ผ้ ใช้ ค้นหาทรัพยากรเหล่านี ้ได้ ง่าย และ ผู้จดการระบบก็สามารถที่จะกาหนดสิทธิ์ ู ั ต่างๆ ของผู้ใช้ ที่จะเข้ ามาใช้ ทรัพยากรเหล่านี ้ได้ ง่าย เช่นกัน ในทางตรงกันข้ ามถ้ าหากว่า ทรัพยากรเหล่านี ้กระจัดกระจายอยู่ตามเครื่ องผู้ใช้ ทวไปใน เครื อข่ายก็จะทาให้ การค้ นหาข้ อมูล ั่ เหล่านี ้เป็ นไปด้ วยความยากลาบากและซับซ้ อนมาก ประสิทธิภาพก็อาจจะเป็ นปั ญหาอย่างหนึงของเครื อข่ายแบบเพียร์ ทเู พียร์ กล่าวคือเรา ่ ต้ องมันใจว่าเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายประเภทนี ้มีประสิทธิภาพพอที่จะทางานได้ ทังงานของ ่ ้ ผู้ใช้ เครื่ องและงานที่ต้องให้ บริการทางเครื อข่ายด้ วย เช่น เราสามารถที่จะใช้ คอมพิวเตอร์ เครื่ อง หนึงเป็ นทังเว็บเซิร์ฟเวอร์ และในขณะเดียวกันก็ทางานบนแอพพลิเคชันเกี่ยวกับระบบบัญชีของ ่ ้ องค์กร เว็บเซิร์ฟเวอร์ อาจจะทางานช้ าในขณะที่ผ้ ใช้ ทางานเกี่ยวกับการคานวณภาษี รายได้ ของ ู องค์กรก็ได้ ซึงงานทังสองประเภทนี ้จะทาในคอมพิวเตอร์ เครื่ องเดียวกันก็ตอเมื่อโหลดของทังสอง ่ ้ ่ ้ งานไม่มากนัก ในโลกของความเป็ นจริงแล้ วเครื อข่ายขององค์กรโดยทัวไปก็จะเป็ นแบบผสมระหว่าง ่ เครื อข่ายสองประเภทนี ้ ตัวอย่างเช่น เครื อข่ายขององค์กรใหญ่ ๆ อาจจะมีคอมพิวเตอร์ ที่ทา หน้ าที่เป็ นเฉพาะดาต้ าเบสเซิร์ฟเวอร์ ขององค์กร ในขณะเดียวกันอาจมีคอมพิวเตอร์ ของ ผู้ใช้ เครื่ องหนึงแชร์ โฟลเดอร์ ให้ ผ้ ใช้ คนอื่นเข้ ามาใช้ ก็ได้ แต่การแชร์ ดงกล่าวนี ้อาจจะไม่เป็ นการแชร์ ่ ู ั แบบทางการ ซึงคณะผู้ทางานทางด้ านไอทีขององค์กรอาจจะไม่รับรองข้ อมูลดังกล่าวก็ได้ ่ ในการพิจารณาเบื ้องต้ นของการสร้ างเครื อข่ายสาหรับธุรกิจขนาดเล็กก็ขอให้ พิจารณา ความเป็ นไปได้ และความเหมาะสมของเครื อข่ายทังสองประเภทนี ้ เครื อข่ายแบบเพียร์ ทเู พียร์ ้ จะเหมาะสาหรับเครื อข่ายขนาดเล็ก ๆ เท่านัน ถ้ าหากการใช้ เครื อข่ายมีความสาคัญอย่างมากต่อ ้ การทาธุรกิจขององค์กรแล้ วก็ควรที่จะมีเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ ที่ทางานทางด้ านนันโดยเฉพาะ เพื่อ ้ ประกัน ประสิทธิภาพ และความเชื่อถือได้ ของการใช้ งานระบบ แต่ถ้าเครื อข่ายที่จะสร้ างเริ่มต้ น
  • 5. 74 โดยมีเครื่ องประมาณ 10-20 เครื่ อง เครื อข่ายแบบเพียร์ ทเู พียร์ ก็นาจะเพียงพอ แต่ก็ให้ วางแผน ่ ล่วงหน้ า เพื่อที่อาจจะต้ องเพิ่มเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ เมื่อต้ องการที่จะขยายเครื อข่าย การเลือกเทคโนโลยีเครือข่ าย สิ่งหนึงที่สาคัญอย่างยิ่งสาหรับเครื อข่าย คือ การเลือกใช้ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ่ เครื อข่ายที่ได้ รับรองมาตรฐานและได้ ผานการทดสอบเรี ยบร้ อยแล้ ว เนื่องจากลักษณะการทา ่ ธุรกิจขององค์กรนันอาจเปลี่ยนไป เช่นอาจต้ องมีการเชื่อมต่อเข้ ากับเครื อข่ายขององค์กรอื่น ้ ผู้ออกแบบต้ องออกแบบเครื อข่ายให้ พร้ อมที่จะเชื่อมต่อเข้ ากับเครื อข่ายอื่นได้ ง่าย และจะต้ องไม่ เสียค่าใช้ จายเพิ่มมากนัก เพื่อแก้ ปัญหาที่อาจเกิดขึ ้นเกี่ยวกับการเชื่อมต่อ ถ้ าหากสานักงานของ ่ คุณเป็ นสาขาย่อยของสานักงานใหญ่ เครื อข่ายของสานักงานย่อยต้ องใช้ เทคโนโลยีเหมือนหรื อ คล้ ายกับเครื อข่ายของสานักงานใหญ่และของสาขาย่อยอื่น ๆ ถึงแม้ วาตอนแรกเครื อข่ายอาจยัง ่ ไม่จาเป็ นที่ต้องเชื่อมต่อกับเครื อข่ายของสานักงานใหญ่ แต่ในอนาคตต้ องมีการเชื่อมต่อกันอย่าง แน่นอน หลังจากที่ได้ วิเคราะห์ระบบและประเมินความต้ องการขององค์กรเกี่ยวกับการใช้ เครื อข่าย แล้ วผู้ออกแบบก็พร้ อมที่จะเริ่ มลงมือออกแบบเครื อข่ายให้ เหมาะสมกับความต้ องการ การ ออกแบบนันมีหลายอย่างที่ต้องพิจารณา โดยทัวไปผู้ออกแบบต้ องตัดสินใจในเรื่ องต่าง ๆ ้ ่ ดังต่อไปนี ้ เทคโนโลยีเครื อข่าย LAN ซึงทางเลือกที่เป็ นไปได้ เช่น อีเธอร์ เน็ต ATM และ Token ่ Ring เป็ นต้ น ส่วนใหญ่เครื อข่ายขนาดเล็กมักนิยมใช้ เครื อข่ายแบบอีเธอร์ เน็ต อย่างไรก็ตาม เครื อข่ายประเภทนี ้ยังแบ่งออกเป็ นประเภทย่อย ๆ อีก อีเธอร์ เน็ต ฟาสต์อีเธอร์ เน็ต กิกะบิต อี เธอร์ เน็ต และเทนกิกะบิตอีเธอร์ เน็ต เป็ นต้ น ซึงเครื อข่ายย่อยนี ้จะแตกต่างในเรื่ องของความเร็ ว ่ สายสัญญาณที่ใช้ และที่สาคัญคือราคา ก่อนที่จะตัดสินใจเลือกใช้ เครื อข่ายประเภทใดนัน ้ ผู้ออกแบบต้ องพิจารณาความต้ องการแบนด์วิธของเครื อข่ายก่อน เช่น ถ้ าเครื อข่ายขององค์กร ต้ องใช้ งานเกี่ยวกับมัลติมีเดียอย่างมาก เช่น เสียงและวิดีโอ แน่นอนเครื อข่ายต้ องการแบนด์วิธ สูง ซึงนันก็คือหมายความว่าราคาต้ องแพงกว่า ่ ่ - สายสัญญาณและอุปกรณ์ที่ใช้ สาหรับการติดตังสายสัญญาณ เช่น เต้ าเสียบ, ตู้ ้ แร็กค์, แพทช์พาแนล, ท่อร้ อยสาย เป็ นต้ น ซึงอุปกรณ์เหล่านี ้ส่วนใหญ่จะคล้ ายกับอุปกรณ์ที่ใช้ ่ สาหรับการติดตังสายโทรศัพท์ ส่วนชนิดของสายที่ใช้ นนจะขึ ้นอยูกบประเภทของเครื อข่ายที่ ้ ั้ ่ ั เลือกใช้ อุปกรณ์เครื อข่าย เช่น ฮับ, สวิตช์, เราท์เตอร์ , โมเด็ม เป็ นต้ น - ระบบปฏิบตการเครื อข่าย ในปั จจุบนวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ และโนเวลเน็ตแวร์ กาลังเป็ น ัิ ั ที่นิยมแต่บางครังเซิร์ฟเวอร์ อาจต้ องใช้ ระบบ UNIX ก็เป็ นไปได้ อีกระบบหนึงซึงกาลังได้ รับความ ้ ่ ่ นิยมใช้ กนเพิ่มขึ ้นเรื่ อย ๆ คือ Linux ซึงก็คือ UNIX ชนิดหนึงนันเอง ั ่ ่ ่
  • 6. 75 - ฮาร์ ดแวร์ ของเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ - อุปกรณ์สาหรับเก็บข้ อมูลสารอง - ฮาร์ ดแวร์ และระบบปฏิบตการเครื่ องลูกข่าย เช่น PC, Mac, Sun, Windows, ัิ UNIX, Linux เป็ นต้ น กล่าวมานันเป็ นขันตอนแรกของการออกแบบเครื อข่าย ซึงเป็ นแค่การวาดภาพบน ้ ้ ่ กระดานเท่านัน ขันตอนต่อไปเป็ นการพิจารณาในรายละเอียดของแต่ละหัวข้ อ ้ ้ 1. เครือข่ าย LAN สิ่งแรกที่ผ้ ออกแบบเครื อข่ายต้ องพิจารณาและตัดสินใจเลือกคือ เทคโนโลยีเครื อข่าย ู LAN ที่จะใช้ ซงแต่ละประเภทจะมีกลุมของผลิตภัณฑ์ที่ใช้ งานร่วมกันได้ ถึงแม้ ว่าจะถูกผลิตโดย ึ่ ่ ต่างบริ ษัทกันก็ตาม ผลิตภัณฑ์ตางกลุมกันจะใช้ งานร่วมกันไม่ได้ เช่น เน็ตเวิร์กการ์ ดของ ่ ่ เครื อข่ายประเภทโทเคนริงจะใช้ กบฮับแบบอีเธอร์ เน็ตไม่ได้ อุปกรณ์เครื อข่ายในแต่ละประเภทจะ ั ถูกออกแบบตามมาตรฐานโปรโตคอลที่ใช้ ในแต่ละประเภท ซึงผู้ใช้ ก็มนใจว่าอุปกรณ์เหล่านี ้จะใช้ ่ ั่ งานร่วมกันได้ โดยไม่มีปัญหาเกี่ยวกับการรับส่งข้ อมูลเทคโนโลยีเครื อข่ายแบบ LAN ที่เป็ นที่ใช้ ในปั จจุบนมีอยู่ 3 ประเภทคือ อีเธอร์ เน็ต โทเคนริง และ ATM ซึงเทคโนโลยีแต่ละประเภทนี ้มี ั ่ ข้ อดีข้อเสียที่แตกต่างกันรวมทังราคาและประสิทธิภาพด้ วย อีเธอร์ เน็ตเป็ นเทคโนโลยีที่เป็ นที่นิยม ้ มากที่สดในขณะนี ้ ในขณะที่เครื อข่ายแบบอื่นก็เหมาะกับระบบงานบางประเภท เมื่อเลือกใช้ ุ เทคโนโลยีเครื อข่ายประเภทใดแล้ วสายสัญญาณและอุปกรณ์เครื อข่ายที่ใช้ จะต้ องเป็ นของ เครื อข่ายประเภทนันเท่านัน้ ้ 1.1 โทเคนริง โทเคนริง (Token Ring) เป็ นเทคโนโลยีที่สวนมากนิยมใช้ กบเครื อข่ายที่ใช้ ่ ั อุปกรณ์ของบริษัท IBM เครื อข่ายประเภทนี ้จะใช้ โปรโตคอลแบบ token-Passing หรื อการส่งต่อ โทเคน หลักการทางานของโปรโตคอลคร่าว ๆ คือ คอมพิวเตอร์ จะเชื่อมต่อกันแบบวงแหวน โดยคอมพิวเตอร์ ที่มีโทเคนเท่านัน ถึงจะมีสิทธิ์ในการส่งข้ อมูล เมื่อคอมพิวเตอร์ เครื่ องที่มีโทเคนส่ง ้ ข้ อมูลเสร็จก็จะส่งโทเคนต่อไปให้ คอมพิวเตอร์ ที่อยูถดไป เทคโนโลยีโทเคนริงนี ้นิยมใช้ เครื อข่าย ่ ั เครื่ องมินิคอมพิวเตอร์ ของบริษัท IBM และความนิยมกาลังลดน้ อยลงเรื่ อย ๆ 1.2 ATM ATM (Asynchronous Transfer Mode) เป็ นเทคโนโลยีที่มีการออกแบบที่ แตกต่างจากเครื อข่ายอีเธอร์ เน็ต และก็เป็ นคูแข่งที่สาคัญที่ใช้ ในเครื อข่ายหลัก (Backbone) และ ่ เครื อข่ายที่ต้องการประสิทธิภาพในการรับส่งข้ อมูลสูง การรับส่งข้ อมูลในเครื อข่ายแบบ ATM นัน ข้ อมูลจะถูกแบ่งออกเป็ นเซลล์เล็ก ๆ เท่ากันและมีรูปแบบการส่งข้ อมูลแบบวงจรเสมือน ้
  • 7. 76 (Virtual Circuits) หรื อมีการสร้ างเส้ นทางส่งข้ อมูลเสมือนขึ ้นระหว่างผู้สงและผู้รับก่อนที่จะมีการ ่ ส่งข้ อมูล ส่วนมากเครื อข่ายแบบ ATM จะมีอตราข้ อมูล (Bandwidth) อยูที่ 155 Mbps ใน ั ่ ปั จจุบนเครื อข่ายประเภทนี ้นิยมใช้ สาหรับแบ็คโบนขององค์กรขนาดใหญ่ เครื อข่าย ATM สวิตซ์ ั ของ ATM จะมีราคาแพงกว่าสวิตซ์แบบอีเธอร์ เน็ตหลายเท่าตัว และยากต่อการกาหนดค่าต่าง ๆ ของฮาร์ ดแวร์ ด้วย เน็ตเวิร์คการ์ ดแบบ ATM ที่ใช้ กบเครื่ องพีซี ก็จะมีราคาแพงมากกว่า และมี ั จาหน่ายในท้ องตลาดน้ อย สาหรับเครื อข่ายขององค์กรขนาดเล็กควรจะเลือกใช้ เครื อข่ายแบบ ATM ก็ตอเมื่อองค์กรต้ องการเครื อข่ายที่มีประสิทธิภาพสูง เพื่อรองรับชุดซอฟต์แวร์ ที่ต้องการ ่ อัตรารับส่งข้ อมูลสูง เช่น ข้ อมูลที่เป็ นมัลติมีเดีย 1.3 Ethernet ส่วนใหญ่องค์กรขนาดเล็กจะเลือกใช้ เครื อข่ายแบบอีเธอร์ เน็ต เพราะเป็ น เครื อข่ายที่มีราคาค่อนข้ างถูกและมีความยืดหยุนมาก จะเห็นได้ วาจานวนอุปกรณ์เครื อข่ายที่ ่ ่ โฆษณาในวารสารคอมพิวเตอร์ ตาง ๆ จะมีอปกรณ์เครื อข่ายแบบอีเธอร์ เน็ตมากที่สด ่ ุ ุ เนื่องจากว่าเครื อข่ายประเภทนี ้เป็ นที่นิยมกันมากบางบริ ษัทที่ผลิตเมนบอร์ ดสาหรับพีซีได้ เพิ่มส่วน ที่เป็ นเน็ตเวิร์คการ์ ดแบบ อีเธอร์ เน็ตในตัวเมนบอร์ ดด้ วย อีเธอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่ายที่ใช้ โปรโตคอล CSMA/CD(Carrier Sense Multiple Access with Collision Detection) ซึงกาหนดอย่างเป็ นทางการใน IEEE 802.3 ่ โปรโตคอลนี ้อธิบายถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ตาง ๆ ที่เชื่อมต่อเข้ ากับ ่ เครื อข่ายอีเธอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่ายแบบแพร่กระจาย (Broadcast) ซึงหมายความว่าแต่ละโหนดจะ ่ มีสิทธิ์เท่ากันที่จะส่งข้ อมูลผ่านเครื อข่าย และทุกโหนดจะเห็นข้ อมูลทุกแพ็กเก็ตในเครื อข่ายแต่ เฉพาะโหนดที่มีที่อยู่ตรงกับที่อยูในแพ็กเก็ตเท่านัน จึงจะนาข้ อมูลไปโพรเซสต่อไป ข้ อมูลที่สงแต่ ่ ้ ่ ละครังจะถูกเรี ยกว่า “ดาต้ าเฟรม (Data Frame)” ้
  • 8. 77 ในแต่ละเฟรมจะมีที่อยู่ (Address) ของเครื่ องที่สงและเครื่ องที่รับ และเฉพาะเครื่ องที่มี ่ อยูตรงกับที่ระบบเฟรมเท่านันที่จะเปิ ดอ่านเฟรมที่สงในเครื อข่าย ในแต่ละเครื อข่ายสามารถ ่ ้ ่ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ได้ หลายเครื่ อง ซึงแต่ละเครื่ องสามารถส่งเฟรมได้ ทกเวลา แต่อย่างไรก็ ่ ุ ตามถ้ าโหนดสองโหนดใด ๆ พยายามที่จะส่งเฟรมในเวลาเดียวกัน ก็จะเกิดการชนกันของข้ อมูล (Collision) ซึงผลก็คือ เฟรมข้ อมูลนันก็จะกลายเป็ นขยะหรื ออ่านไม่ได้ ทนที เพราะฉะนันโหนดที่ ่ ้ ั ้ ส่งเฟรมต้ องตรวจสอบว่ามีการชนกันของข้ อมูลนันก็จะกลายเป็ นขยะหรื ออ่านไม่ได้ ทนที ้ ั เพราะฉะนันโหนดที่สงเฟรมต้ องตรวจสอบว่ามีการชนกันของข้ อมูลเกิดขึ ้นหรื อไม่ถ้าหากมีแต่ละ ้ ่ โหนดที่สงต้ องรอในเวลาที่เป็ นเลขสุม แล้ วค่อยเริ่มกระบวนการส่งข้ อมูลใหม่ เหตุที่ต้องรอในเวลา ่ ่ ที่เป็ นเลขสุมก็เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดการชนกันของข้ อมูลอีกครัง ่ ้ แบนด์วิธพื ้นฐานของอีเธอร์ เน็ตอยูที่ 10 Mbps แต่ละโหนดจะแชร์ การใช้ แบนด์วิธนี ้ ่ โหนดที่อยู่ในเซ็กเมนต์เดียวกันจะแชร์ แบนด์วิธนี ้ร่วมกัน และอาจจะก่อให้ เกิดการชนกันของ ข้ อมูลได้ ดังนันส่วนแบ่งของแบนด์วิธของแต่ละโหนดจะลดลง เมื่อจานวนโหนดที่เชื่อมต่อเข้ าแต่ ้ ละเซ็กเมนต์เพิ่มขึ ้น และโอกาสที่จะเกิดการชนกันของข้ อมูลก็จะเพิ่มมากขึ ้นด้ วย ดังนันยิ่ง ้ จานวนโหนดที่เชื่อมต่อเข้ าเซ็กเมนต์มีจานวนน้ อยเท่าใดยิ่งทาให้ เครื อข่ายมีประสิทธิภาพมากขึ ้น เท่านัน อุปกรณ์ที่ใช้ กบเครื อข่ายประเภทนี ้จะเรี ยกว่า “ฮับ (Hub) ” ในการแก้ ปัญหาการแชร์ ้ ั แบนด์วิธของโหนดในเซ็กเมนต์เดียวกัน สามารถทาได้ โดยการใช้ สวิตซ์ (Switch) ซึงเป็ นอุปกรณ์่ เครื อข่ายที่ฉลาดกว่าฮับโดยมันจะส่งแพ็กเก็ตไปยังเฉพาะพอร์ ตที่มีโหนดปลายทางเท่านัน ้ ในขณะที่ฮบนันจะส่งต่อเฟรมไปยังทุก ๆ พอร์ ต ั ้ เครื อข่ายอีเธอร์ เน็ต 2. เครือข่ าย WAN การออกแบบเครื อข่ายใหญ่ ๆ มีหลักการอย่างหนึงคือ การแบ่งเครื อข่ายใหญ่ ๆ นี ้ ่ ออกเป็ นเครื อข่ายย่อย ๆ แล้ วเชื่อมเครื อข่ายย่อย ๆ เหล่านี ้ให้ เป็ นเครื อข่ายใหญ่อีกที สายนา สัญญาณที่ใช้ เชื่อมต่อเครื อข่ายย่อย ๆ เหล่านี ้เข้ าด้ วยกันเรี ยกว่า “แบ็คโบน (Backbone)” โดย จะใช้ อปกรณ์เครื อข่ายต่าง ๆ เช่น ฮับ สวิตซ์ และ เราท์เตอร์ เครื อข่ายหลักนี ้จะต้ องถูกออกแบบ ุ ให้ มีความสามารถที่จะถ่ายโอนข้ อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ และมีความเชื่อถือได้ เครื อข่ายหลักนี ้ ส่วนมากจะเป็ นเครื อข่ายประเภทที่มีความเร็วสูง เช่น FDDI ซึงใช้ สายใยแก้ วนาแสงเป็ น ่ สายสัญญาณ หรื อเครื อข่ายแบบ ATM หรื อเทนกิกะบิตอีเธอร์ เน็ต ซึงเป็ นเทคโนโลยีใหม่ที่กาลัง ่ นามาใช้ ในปั จจุบน แต่ในสาหรับเครื อข่ายขนาดเล็กนัน การออกแบบจะเป็ นแบบธรรมดา จะไม่ ั ้ ซับซ้ อนมากนักและยังไม่จาเป็ นต้ องมีเครื อข่ายหลักหรื อแบ็คโบนที่มีความเร็ วสูง เครื อข่ายสาหรับ ธุรกิจขนาดเล็กอาจใช้ ฮบแค่ 2 – 3 เครื่ อง ซึงถ้ ามีฮบหลายเครื่ องก็อาจจะใช้ วิธีการเชื่อมต่อกัน ั ่ ั แบบเป็ นลูกโซ่ หรื อจะใช้ สวิตซ์หนึงเครื่ องในการเชื่อมต่อฮับเหล่านี ้ก็ได้ ่
  • 9. 78 เครือข่ าย WAN วิธีที่ดีกว่าการเชื่อมต่อกับอินเตอร์ เน็ต ไม่ใช่การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ องเข้ ากับ อินเตอร์ เน็ต แต่เป็ นวิธีที่เครื อข่ายแชร์ ลิงค์ระหว่างเครื อข่ายกับอินเตอร์ เน็ต การที่จะเชื่อมต่อ ด้ วยวิธีนี ้องค์กรอาจต้ องใช้ เราท์เตอร์ ในการเชื่อมต่อ สาหรับองค์กรขนาดใหญ่อาจจะใช้ เราท์เตอร์ ที่มีประสิทธิภาพสูงและสามารถจัดการกับหลายสายเชื่อมต่อ ซึงราคาของเราท์เตอร์ ช ่ นิดนี ้อาจมีราคาแพงและต้ องใช้ ผ้ เู ชี่ยวชาญในการติดตังและดูแล สาหรับเครื อข่ายขนาดเล็กแล้ ว ้ จะมีอปกรณ์ที่ซบซ้ อนน้ อยกว่าซึงเรี ยกว่า “แอ็กเซสเราท์เตอร์ (Access Router)” ซึงจะมีพอร์ ต ุ ั ่ ่ สาหรับเชื่อมต่อกับอีเธอร์ เน็ตและพอร์ ตสาหรับเชื่อมต่อกับ ISP และจะใช้ ซอฟต์แวร์ ที่ง่ายต่อการ ใช้ มากกว่าเราท์เตอร์ เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ ในการจัดการเกี่ยวกับการเชื่อมต่อและช่วยให้ การเชื่อมต่อมี ประสิทธิภาพมากขึ ้น การเลือกซื ้ออุปกรณ์เครื อข่าย อุปกรณ์สื่อสารข้ อมูลของเครื อข่ายอีเธอร์ เน็ตแบบ 10Base-T ที่มีราคาถูกที่สดคือ ฮับ ุ ซึงเป็ นอุปกรณ์แบบที่ต้องแชร์ ชองสัญญาณในการรับส่งข้ อมูล ซึงก็เปรี ยบเสมือน ่ ่ ่ เซ็กเมนต์หนึงของ LAN คอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์เครื อข่ายอื่น ๆที่เชื่อมต่อเข้ ากับพอร์ ตของฮับจะ ่ แชร์ การใช้ แบนด์วิธ 10 Mbps และทุกเครื่ องมีโอกาสที่จะทาให้ เกิดการชนกันของข้ อมูล ได้ ยังสามารถเชื่อมต่อกันเป็ นลูกโซ่ได้ เพื่อเพิ่มขนาดของเครื อข่ายโดยคอมพิวเตอร์ ทกเครื่ องที่ ุ เชื่อมต่อเข้ ากับฮับที่พวงกันนี ้จะถือว่าอยูในเซ็กเมนต์เดียวกัน ่ ่ การเลือกซื ้อฮับให้ คานึงถึงความยากง่ายในการดูแลและจัดการอุปกรณ์ด้วย ตัวอย่างเช่น เครื อข่ายที่ขนาดใหญ่พอสมควร อาจจะมีการดูแลและจัดการเครื อข่ายแบบทางไกล (Remote Management) ซึงอุปกรณ์เครื อข่ายทุกอย่างต้ องสามารถที่จะติดต่อสื่อสารในทุก ๆ เรื่ องกับ ่ อุปกรณ์ที่ทาหน้ าที่เป็ นศูนย์กลางการจัดการ โดยใช้ โปรโตคอล SNMP (Simple Network
  • 10. 79 Management Protocol) และ RMON (Remote Monitoring Protocol) ในระบบเครื อข่าย ขนาดใหญ่นนมักจะมีคอมพิวเตอร์ หนึงเครื่ องหรื อมากกว่าที่ทาหน้ าที่คอยเฝาดูความเป็ นไปของ ั้ ่ ้ เครื อข่าย (Monitoring) เช่น ตรวจสถานภาพการทางานของแต่ละอุปกรณ์วายังทางานได้ ดีอยู่่ หรื อมีปัญหาอะไร ตรวจสอบประสิทธิภาพโดยรวมของเครื อข่าย และแจ้ งเตือนให้ ผ้ ดแลระบบ ู ู ทราบถ้ าประสิทธิภาพของเครื อข่ายต่ากว่าค่าที่กาหนดให้ เป็ นค่าต่าสุด คาว่าประสิทธิภาพของ เครื อข่ายในที่นี ้ หมายถึงการที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องใดเครื่ องหนึงสามารถส่งข้ อมูลผ่าน ่ เครื อข่ายได้ ดีแค่ไหน ฮับมีอยู่ 2 ประเภทที่มีจาหน่ายในท้ องตลาด คือ แบบที่สามารถจัดการระยะไกลได้ (Remote Manageable) และแบบที่ไม่สามารถจัดการ (non-manageable) ถ้ าเครื อข่ายของ องค์กรเป็ นเครื อข่ายค่อนข้ างใหญ่ และใช้ การดูแลและจัดการแบบรวมศูนย์ ก็จาเป็ นที่ต้องซื ้อฮับ ที่สามารถจัดการระยะไกลได้ ถ้ าหากว่าเครื อข่ายค่อนข้ างเล็กก็อาจจะเลือกซื ้อฮับที่ไม่มี ความสามารถในการจัดการก็ได้ ซึงอาจจะประหยัดเงินได้ พอสมควร เนื่องจากฮับที่จะสามารถ ่ จัดการได้ นี ้จะมีราคาแพงกว่าแบบธรรมดา ซึงถ้ าหากซื ้อฮับแบบที่สามารถจัดการได้ แต่ไม่ได้ ใช้ ่ ประโยชน์ก็อาจจะเป็ นการใช้ อปกรณ์ไม่ค้ มค่า ฉะนันสาหรับเครื อข่ายเล็ก ๆ การใช้ ฮบแบบ ุ ุ ้ ั ธรรมดาก็จะยังคงทางานได้ ดี แต่ถ้าเป็ นเครื อข่ายที่มีศนย์กลางควบคุมควรที่จะซื ้อฮับแบบที่ ู จัดการได้ เพราะจะเป็ นการง่ายต่อการปรับประสิทธิภาพของเครื อข่าย และช่วยให้ การค้ นหา สาเหตุในกรณีเครื อข่ายเกิดมีปัญหาได้ ง่ายขึ ้น อย่างที่ได้ กล่าวมาแล้ วข้ างต้ นว่า อีเธอร์ เน็ตที่ใช้ ฮบแบบแชร์ แบนด์วิธนันสามารถที่จะพ่วง ั ้ ต่อฮับหลาย ๆ ตัวเข้ าด้ วยกันเพื่อเพิ่มจานวนพอร์ ต ซึงคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อเข้ ากับฮับนี ้จะถือว่า ่ เป็ นหนึงเซ็กเมนต์ของ LAN เทคโนโลยีอีกอย่างหนึงของอีเธอร์ เน็ตคือ การสวิตซ์ชิ่ง (Switching) ่ ่ การสวิตซ์ชิ่งนี ้จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมของเครื อข่าย
  • 11. 80 และเพิ่มแบนด์วิธ ต่อผู้ใช้ ด้วย อีกทังยังช่วยลดโอกาสการเกิดข้ อผิดพลาดเนื่องจากการชนกันของ ้ ข้ อมูลด้ วย ข้ อแตกต่างระหว่างการใช้ สวิตซ์และฮับก็คือ แต่ละพอร์ ตของสวิตซ์จะเป็ นเสมือนเซ็ก เมนต์หนึงของอีเธอร์ เน็ต คอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์เครื อข่ายที่เชื่อมต่อเข้ ากับพอร์ ตใดพอร์ ตหนึง ่ ่ ของสวิตซ์จะใช้ แบนด์วิธได้ เต็ม โดยไม่ต้องแชร์ แบนด์วิธนี ้กับคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ที่เชื่อมต่อ เข้ ากับพอร์ ตอื่นของสวิตซ์นน และการรับส่งข้ อมูลจะไม่ก่อให้ เกิดการชนกันของข้ อมูล (Collision) ั้ ระหว่างพอร์ ตของสวิตซ์ด้วย และการเชื่อมต่อเข้ ากับสวิตซ์นนไม่จาเป็ นต้ องใช้ อปกรณ์พิเศษเพิ่ม ั้ ุ หรื ออีกนัยหนึงคือไม่ต้องใช้ เน็ตเวิร์คการ์ ดแบบพิเศษ แต่อย่างไรก็ตามไม่มีสินค้ าที่ มีคณภาพดีแต่ ่ ุ ราคาถูกนันคือ สวิตซ์จะแพงกว่าฮับแน่นอน ่ อีเธอร์ เน็ตสวิตซ์ ลักษณะการใช้ สวิตซ์ที่เป็ นที่นิยมคือ ใช้ เพื่อแบ่งเครื อข่ายใหญ่ ๆ ออกเป็ นหลายเครื อข่าย ย่อยหรื อเซ็กเมนต์ ในขณะเดียวกันที่เราสามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หนึงของสวิตซ์ได้ เราก็ ่ สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์เครื อข่ายอื่น ๆ เช่น ฮับ ได้ เช่นกัน ถ้ าหากว่าเครื อข่ายมีขนาดใหญ่และ มีฮบหลายเครื่ อง ก็อาจจะต่อฮับแต่ละเครื่ องนันเข้ ากับแต่ละพอร์ ตของสวิตซ์ ซึงจะทาให้ ั ้ ่ คอมพิวเตอร์ เชื่อมต่อเข้ ากับแต่ละฮับนันเป็ นหนึงเซ็กเมนต์ของเครื อข่าย แต่ถ้าพ่วงต่อฮับเป็ น ้ ่ ลูกโซ่กบสวิตซ์ฮบเหล่านัน ก็จะยังคงเป็ นเสมือนหนึงเซ็กเมนต์เหมือนเดิม ั ั ้ ่ เซิร์ฟเวอร์ และการให้ บริการ ในเครื อข่ายใดเครื อข่ายหนึงคอมพิวเตอร์ มักจะทาหน้ าที่ไม่เป็ นเซิร์ฟเวอร์ ก็เป็ นไคลเอนท์ ่ เครื่ องไคลเอนท์คือเครื่ องที่ใช้ บริการต่าง ๆ ที่เครื่ องเซิร์ฟเวอร์ มีให้ เครื อข่ายแบบไคลเอนท์ เซิร์ฟเวอร์ นี ้ต้ องมีเครื่ องคอมพิวเตอร์ เฉพาะที่ทาหน้ าที่ให้ บริการอย่างเดียว การทางานแบบนี ้จะแยกเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ ออกจากเครื่ องไคลเอนท์อย่างเด็ดขาด สาหรับ เครื่ องเซิร์ฟเวอร์ นนต้ องเลือกใช้ คอมพิวเตอร์ ที่มีประสิทธิภาพสูง และใช้ เกี่ยวกับการให้ บริการด้ าน ั้ นัน ๆ โดยเฉพาะ ส่วนไคลเอนท์อาจเป็ นคอมพิวเตอร์ ที่มีประสิทธิภาพธรรมดาหรื อสูงมากนัก ้ เนื่องจากไคลเอนท์จะอาศัยเซิร์ฟเวอร์ ในการทางานเพื่อตอบสนองความต้ องการของผู้ใช้