SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 16
Descargar para leer sin conexión
1
แผนกลยุทธ์พัฒนาท้องถิ่น ด้านสุขภาพ
ขั้นตอนที่ 1 : การจัดอันดับความสาคัญของปัญหาและประเด็นการพัฒนาด้วยเกณฑ์ Risk Cost Volume
Policy
1.1 ประเด็นปัญหาการพัฒนาท้องถิ่น
1. ปัญหาโรคเรื้อรัง (โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดใน
สมอง)
2. การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์แผนไทย
3. ขาดการรวบรวมองค์ความรู้เพื่อการศึกษาและการเผยแพร่ทั้งในประเทศ และกลุ่มประเทศอาเซียน
4. มีระบบ อสม.ที่เป็นผู้จัดการสุขภาพชุมชน ร่วมกับภาคีเครือข่าย ( อปท.และอื่นๆ) เข้มแข็ง
5. มีภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่ได้รับการยอมรับทั้งในประเทศและระดับสากล
6. นโยบายของรัฐบาลสนับสนุนด้านการแพทย์แผนไทย
1.2 กาหนดน้าหนักความสาคัญของแต่ละเกณฑ์
Risk: ความเสี่ยงน้าหนักความสาคัญ คือ ระดับความรุนแรง
Cost: ต้นทุนน้าหนักความสาคัญ คือ ผลรวมของต้นทุน
Volume: ผู้มีส่วนได้เสียน้าหนักความสาคัญ คือ จานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
Policy: ระดับนโยบายน้าหนักความสาคัญ คือ ความเร่งด่วน
1.3 การกาหนดเกณฑ์ให้คะแนนของแต่ละเกณฑ์
1) เกณฑ์Risk
5 คะแนน หมายถึง ระดับความรุนแรงมากที่สุด
4 คะแนน หมายถึง ระดับความรุนแรงมาก
3 คะแนน หมายถึง ระดับความรุนแรงปานกลาง
2 คะแนน หมายถึง ระดับความรุนแรงน้อย
1 คะแนน หมายถึง ระดับความรุนแรงน้อยที่สุด
2
2) เกณฑ์Cost
5 คะแนน หมายถึง ผลรวมของต้นทุนน้อยที่สุด
4 คะแนน หมายถึง ผลรวมของต้นทุนน้อย
3 คะแนน หมายถึง ผลรวมของต้นทุนปานกลาง
2 คะแนน หมายถึง ผลรวมของต้นทุนมาก
1 คะแนน หมายถึง ผลรวมของต้นทุนมากที่สุด
3) เกณฑ์Volume
5 คะแนน หมายถึง จานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมากที่สุด
4 คะแนน หมายถึง จานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาก
3 คะแนน หมายถึง จานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียปานกลาง
2 คะแนน หมายถึง จานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียน้อย
1 คะแนน หมายถึง จานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียน้อยที่สุด
4) เกณฑ์Policy
5 คะแนน หมายถึง นโยบายเร่งด่วนมากที่สุด
4 คะแนน หมายถึง นโยบายเร่งด่วนมาก
3 คะแนน หมายถึง นโยบายเร่งด่วนปานกลาง
2 คะแนน หมายถึง นโยบายเร่งด่วนน้อย
1 คะแนน หมายถึง นโยบายเร่งด่วนน้อยที่สุด
3
1.4 การคานวณหาค่าคะแนนถ่วงน้าหนักเพื่อจัดลาดับความสาคัญของปัญหา
1. ปัญหาโรคเรื้อรัง (โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดใน
สมอง)
หัวข้อ
เกณฑ์
น้าหนัก คะแนน ผลรวม
Risk 30 5 150
Cost 25 5 125
Volume 15 4 60
Policy 30 4 120
2. การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านแพทย์แผนไทย
หัวข้อ
เกณฑ์
น้าหนัก คะแนน ผลรวม
Risk 20 3 60
Cost 35 4 140
Volume 25 4 100
Policy 20 3 60
3. ขาดการรวบรวมองค์ความรู้เพื่อการศึกษาและการเผยแพร่ทั้งในประเทศและกลุ่มประเทศ
อาเซียน
หัวข้อ
เกณฑ์
น้าหนัก คะแนน ผลรวม
Risk 20 3 60
Cost 30 4 120
Volume 30 5 150
Policy 20 4 80
4
4. มีระบบ อสม. ที่เป็นผู้จัดการสุขภาพชุมชน ร่วมกับภาคีเครือข่าย ( อปท.และอื่นๆ) เข้มแข็ง
หัวข้อ
เกณฑ์
น้าหนัก คะแนน ผลรวม
Risk 10 3 30
Cost 20 3 60
Volume 40 5 200
Policy 30 4 120
5. มีภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่ได้รับการยอมรับทั้งในประเทศและระดับสากล
หัวข้อ
เกณฑ์
น้าหนัก คะแนน ผลรวม
Risk 20 5 100
Cost 20 5 100
Volume 40 5 200
Policy 20 2 40
6. นโยบายของรัฐบาลส่งเสริมด้านการแพทย์แผนไทย
หัวข้อ
เกณฑ์
น้าหนัก คะแนน ผลรวม
Risk 10 3 30
Cost 10 3 30
Volume 30 4 120
Policy 50 5 250
5
ตารางสรุปการคานวณหาค่าคะแนนถ่วงน้าหนักสามารถจัดลาดับความสาคัญของปัญหา
ปัญหาและประเด็นพัฒนา Risk Cost Volume Policy ผลรวม
1. ปัญหาโรคเรื้อรัง (โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรค
ความดันโลหิต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดใน
สมอง)
150 125 60 120 455
2. การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน
การแพทย์แผนไทย
60 140 100 60 360
3. ขาดการรวบรวมองค์ความรู้เพื่อการศึกษาและ
การเผยแพร่ทั้งในประเทศและกลุ่มประเทศ
อาเซียน
60 120 150 80 410
4. มีระบบ อสม. ที่เป็นผู้จัดการสุขภาพชุมชน
ร่วมกับภาคีเครือข่าย ( อปท.และอื่นๆ) เข้มแข็ง
30 60 200 120 410
5. มีภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่ได้รับการ
ยอมรับทั้งในประเทศและระดับสากล
100 100 200 40 440
6. นโยบายของรัฐบาลส่งเสริมด้านการแพทย์แผน
ไทย
30 30 120 250 430
จากการคานวณหาค่าคะแนนถ่วงน้าหนักสามารถจัดลาดับความสาคัญของปัญหาได้ดังนี้
อันดับที่ 1: ปัญหาโรคเรื้อรัง (โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดใน
สมอง)
อันดับที่ 2: มีภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่ได้รับการยอมรับทั้งในประเทศและระดับสากล
อันดับที่ 3: นโยบายของรัฐบาลส่งเสริมด้านการแพทย์แผนไทย
อันดับที่ 4: ขาดการรวบรวมองค์ความรู้เพื่อการศึกษาและการเผยแพร่ทั้งในประเทศและกลุ่มประเทศ
อาเซียน
อันดับที่ 5: มีระบบ อสม. ที่เป็นผู้จัดการสุขภาพชุมชน ร่วมกับภาคีเครือข่าย ( อปท.และอื่นๆ) เข้มแข็ง
อันดับที่ 6: การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์แผนไทย
6
1.5 วิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจากัด ของประเด็นปัญหาและการพัฒนาท้องถิ่น
TOWS Analysis ประเด็นปัญหาและการพัฒนาท้องถิ่น
W ปัญหาโรคเรื้อรัง (โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต โรคหัวใจ โรค
หลอดเลือดในสมอง)
T การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์แผนไทย
W
ขาดการรวบรวมองค์ความรู้เพื่อการศึกษาและการเผยแพร่ทั้งในประเทศ และกลุ่ม
ประเทศอาเซียน
S
มีระบบ อสม.ที่เป็นผู้จัดการสุขภาพชุมชน ร่วมกับภาคีเครือข่าย ( อปท.และอื่นๆ)
เข้มแข็ง
S มีภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่ได้รับการยอมรับทั้งในประเทศและระดับสากล
O นโยบายของรัฐบาลส่งเสริมด้านการแพทย์แผนไทย
ขั้นตอนที่ 2 : ประเด็นปัญหาและการพัฒนาท้องถิ่นมาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมองค์การด้วย TOWS
Analysis
ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน
T = การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน
แพทย์แผนไทย
O= นโยบายของรัฐบาลส่งเสริมด้านการแพทย์แผน
ไทย
W = ปัญหาโรคเรื้อรัง (โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดใน
สมอง)
W = ขาดการรวบรวมองค์ความรู้เพื่อการศึกษาและ
การเผยแพร่ทั้งในประเทศ และกลุ่มประเทศอาเซียน
S = มีระบบ อสม.ที่เป็นผู้จัดการสุขภาพชุมชน
ร่วมกับภาคีเครือข่าย ( อปท.และอื่นๆ) เข้มแข็ง
S = ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่ได้รับการ
ยอมรับทั้งในประเทศและระดับสากล
7
ขั้นตอนที่ 3 : กาหนดกลยุทธ์ด้วย TOWS Matrix ที่ได้จาก TOWS Analysis
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยภายนอก
จุดแข็ง S จุดอ่อน W
โอกาส O SO ผู้นาด้านการแพทย์แผนไทยใน
ระดับประเทศและระดับสากล
WO พัฒนาการแพทย์แผนไทยที่
ใช้ในการรักษาโรคเรื้อรัง
ข้อจากัด T ST พัฒนาระบบสาธารณสุขด้าน
การแพทย์แผนไทย
WT สร้างและพัฒนาสื่อการเรียนรู้
ภูมิ-ปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์
แผนไทย
ขั้นตอนที่ 4: เขียนแผนกลยุทธ์ ด้วยการนา TOWS Matrix มากาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าประสงค์
เชิงกลยุทธ์ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ค่านิยมหลัก และกลยุทธ์
4.1 วิสัยทัศน์ (Vision)
“แพทย์แผนไทยเป็นเลิศ ระบบสาธารณสุขได้มาตรฐาน มุ่งสู่การเป็นผู้นาด้านสุขภาพใน
กลุ่มประเทศอาเซียน”
4.2 พันธกิจ (Missions)
1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพท้องถิ่น
2. ส่งเสริมและพัฒนาการแพทย์แผนไทยให้ทัดเทียมกับการแพทย์แผนปัจจุบัน
3. ส่งเสริมและพัฒนาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการรักษาโรคเรื้อรัง
4.3 เป้ าประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Purposes)
1. ประชาชนได้รับการบริการอย่างรวดเร็วและทั่วถึง
2. จานวนผู้ใช้บริการการแพทย์แผนไทยทั้งในและนอกประเทศเพิ่มขึ้น
3. ให้บริการการแพทย์แผนไทยมีรายได้เพิ่มขึ้น
4. ประชาชนที่ใช้การแพทย์แผนไทย(ยาสมุนไพร)ในการป้ องกันและรักษาโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น
8
4.4 วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Objectives)
Roadmap 1 ประชาชนได้รับการบริการอย่างรวดเร็วและทั่วถึง
ปี 2556 2557 2558
เพึ่มขึ้น 3% เพึ่มขึ้น 5% เพึ่มขึ้น 7%
1. การประสานงาน FR เพื่อ
ส่งต่อผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน
2. เข้าถึงผู้ด้อยโอกาสทุก
กลุ่มด้วยการจัดสวัสดิการ
สังคมและการสงเคราะห์
3.ให้บริการเชิงรุกที่บ้าน
ผู้ป่ วยเพื่อวินิจฉัยและบาบัด
โรค
4.จัดตั้งศูนย์วินิจฉัย บาบัด
ป้องกันโรคเรื้อรัง
1. การประสานงาน FR เพื่อส่ง
ต่อผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน
2. เข้าถึงผู้ด้อยโอกาสทุกกลุ่ม
ด้วยการจัดสวัสดิการสังคมและ
การสงเคราะห์
3.ให้บริการเชิงรุกที่บ้านผู้ป่วย
เพื่อวินิจฉัยและบาบัดโรค
1. การประสานงาน FR เพื่อ
ส่งต่อผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน
2. เข้าถึงผู้ด้อยโอกาสทุกกลุ่ม
ด้วยการจัดสวัสดิ- การสังคม
และการสงเคราะห์
Roadmap 2 จานวนผู้ใช้บริการการแพทย์แผนไทยทั้งในและนอกประเทศเพิ่มขึ้น
ปี 2556 2557 2558
เพึ่มขึ้น 3% เพึ่มขึ้น 5% เพึ่มขึ้น 7%
1.จานวนประชาชนและ
ชาวต่างชาติ ให้ความสนใจ
การแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น
2.จานวนข้อมูลการแพทย์
แผนไทยใน Social network
เพิ่มขึ้น
3.จานวนผู้ประกอบการใน
ประเทศที่ร่วมมือให้บริการ
แพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น
4. จานวนผู้ประกอบการใน
กลุ่มประเทศอาเซียนร่วมมือ
ให้บริการแพทย์แผนไทย
เพิ่มขึ้น
1.จานวนประชาชนและ
ชาวต่างชาติ ให้ความสนใจ
การแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น
2.จานวนข้อมูลการแพทย์แผน
ไทยใน Social network เพิ่มขึ้น
3.จานวนภาคีเครือข่ายใน
ประเทศที่ร่วมมือให้บริการ
แพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น
1.จานวนประชาชนและ
ชาวต่างชาติ ให้ความสนใจ
การแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น
2.จานวนข้อมูลการแพทย์แผน
ไทยใน Social network เพิ่มขึ้น
9
Roadmap 3 รายได้ของผู้ประกอบการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น
ปี 2556 2557 2558
เพึ่มขึ้น 3% เพึ่มขึ้น 5% เพึ่มขึ้น 7%
1.จานวนประชาชนมีทักษะ
ในการให้บริการการนวด
แผนไทยเพิ่มขึ้น
2.ร่วมมือกับองค์การเภสัช
กรรมในการผลิต ผลิตภัณฑ์
ที่เกี่ยวกับยาสมุนไพร
3. จานวนผลิตภัณฑ์จากการ
แปรรูปสมุนไพรเพิ่มขึ้น
4. จานวนการให้บริการร้านยา
สมุนไพรเพิ่มขึ้น
1.จานวนประชาชนมีทักษะใน
การให้บริการการนวดแผน
ไทยเพิ่มขึ้น
2.ร่วมมือกับองค์กรเภสัชกรรม
ในการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่
เกี่ยวกับยาสมุนไพร
3. จานวนผลิตภัณฑ์จากการ
แปรรูปสมุนไพรเพิ่มขึ้น
1.จานวนประชาชนมีทักษะใน
การให้บริการการนวดแผน
ไทยเพิ่มขึ้น
2.ร่วมมือกับองค์กรเภสัชกรรม
ในการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่
เกี่ยวกับยาสมุนไพร
Roadmap 4 จานวนประชาชนที่ใช้แพทย์แผนไทย(ยาสมุนไพร)ในการป้องกันและรักษาโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น
ปี 2556 2557 2558
เพึ่มขึ้น 3% เพึ่มขึ้น 5% เพึ่มขึ้น 7%
1. จานวนประชาชนมีการ
ปลูกพืชสมุนไพรเพิ่มขึ้น
2.จัดตั้งสมาคม/ชมรมของ
เครือข่าย
3.จัดนิทรรศการด้านการแผน
แผนไทยระดับชาติ
4.จานวนประชาชนมีทักษะ
ในการใช้สมุน- ไพรเพิ่มขึ้น
1. จานวนประชาชนมีการ
ปลูกพืชสมุนไพรเพิ่มขึ้น
2.จานวนประชาชนมีทักษะ
ในการใช้สมุน- ไพรเพิ่มขึ้น
3.จัดนิทรรศการด้านการแผน
แผนไทยระดับชาติ
1. จานวนประชาชนมีการปลูก
พืชสมุนไพรเพิ่มขึ้น
2.จัดตั้งสมาคม/ชมรมของ
เครือข่าย
10
4.5 ค่านิยมหลักขององค์การ (Core Values)
ยึดมั่นในความซื่อสัตย์จิตใจพร้อมให้บริการ ทางานเป็นทีมร่วมกับเครือข่าย พัฒนาตนสู่ความเป็นเลิศ
4.6 กลยุทธ์ (Strategies)
SO : ผู้นาด้านการแพทย์แผนไทยในระดับประเทศและระดับสากล
ST : พัฒนาระบบสาธารณสุขด้านการแพทย์แผนไทย
WO : พัฒนาการแพทย์แผนไทยที่ใช้ในการรักษาโรคเรื้อรัง
WT : สร้างและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์แผนไทย
11
ขั้นตอนที่ 5: นาแผนกลยุทธ์ที่ได้จากข้อ 4 แปลงสู่การปฏิบัติด้วย Balance Scorecard เพื่อกาหนด
ผลสัมฤทธิ์รวมที่คาดหวัง (Key Results Area)
5.1 จัดทาตาราง Balance Scorecard Matrix
ตารางแสดงแผนกลยุทธ์สู่การปฏิบัติด้วย Balance Scorecard กาหนดผลสัมฤทธิ์รวมที่คาดหวัง
(Key Results Area) จากความสัมพันธ์ของกลยุทธ์และ BSC (ตาราง BSC Matrix)
BSC
Strategies
ผู้ใช้บริการ และผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสีย
มาตรฐานการ
พัฒนา และการ
บริหารทั้งองค์กร
การเรียนรู้การ
พัฒนา
การบริหารการเงิน
การคลัง
SO: ผู้นาด้าน
การแพทย์แผน
ไทยใน
ระดับประเทศและ
ระดับสากล
KRA 11 ประชาชน
และชาวต่างชาติให้
การยอมรับการแพทย์
แผนไทย
KRA 21 จัดทา
เกณฑ์มาตรฐานการ
ให้บริการการ แพทย์
แผนไทย
KRA 31 เป็นผู้นาใน
การเรียนการสอน
ถ่ายทอดความรู้
ศาสตร์การแพทย์
แผนไทยในระดับ
อาเซียน
KRA 41 ได้รับเงิน
สนับ สนุน
งบประมาณจาก
สาธารณสุขจังหวัด
ST: พัฒนาระบบ
สาธารณสุขด้าน
การแพทย์แผน
ไทย
KRA 12 ประชาชน
และชาวต่างชาติเข้าถึง
การบริการการ แพทย์
แผนไทยเพิ่มขึ้น
KRA 22 บูรณาการ
ความร่วมมือ
การแพทย์แผนไทย
กับเครือข่ายกับโรง-
พยาบาลของรัฐและ
เอกชน
KRA 32 เกิด
เครือข่ายภูมิปัญญา
การแพทย์แผนไทย
ในการดูแลรักษา
โรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น
KRA 42 ลด
ค่าใช้จ่ายของ อปท.
ในการจัดสวัสดิการ
ให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
WO: พัฒนา
การแพทย์แผน
ไทยที่ใช้ในการ
รักษาโรคเรื้อรัง
KRA 13 ประชาชนใช้
การ แพทย์แผนไทย
ในการรักษาโรค
เรื้อรังเพิ่มขึ้น
KRA 23 เจ้าหน้าที่
สาธารณ- สุข
และอสม.ใช้แพทย์
แผนไทยในการ
บาบัดและฟื้นฟู
ผู้ป่วยจากโรคเรื้อรัง
KRA 33 เกิดชุมชน
ต้นแบบด้าน
การแพทย์แผนไทย
ในการรักษาโรค
เรื้อรังเพิ่มขึ้น
KRA 43 ลด
ค่าใช้จ่ายในการ
รักษาค่าพยาบาล
ด้วยการแพทย์แผน
ปัจจุบัน
WT: สร้างและ
พัฒนาสื่อการ
เรียนรู้ ภูมิปัญญา
ท้องถิ่นด้าน
การแพทย์แผนไทย
KRA 14 ประชาชน
รับรู้ ข้อมูลข่าวสาร
การแพทย์แผนไทย
เพิ่มขึ้น
KRA 24 ร่วมมือกับ
เครือ- ข่าย สถาบัน
การศึกษา และ
สื่อมวลชนในการสร้าง
สื่อการเรียนรู้และ
ประชาพันธ์ด้าน
การแพทย์แผนไทย
KRA 34 เกิดการ
เผยแพร่ข้อมูล
ข่าวสารด้าน
การแพทย์แผนไทย
KRA 44 อปท.ให้
เงินสนับ- สนุนใน
การสร้างสื่อการ
เรียนรู้ด้าน
การแพทย์แผนไทย
12
5.2 (1) แผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map)
ผู้ใช้บริการ และผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสีย C
KRA 11 ประชาชน
และชาวต่างชาติให้
การยอมรับ
การแพทย์แผนไทย
KRA 12 ประชาชน
และชาวต่างชาติ
เข้าถึงการบริการ
การแพทย์แผนไทย
เพิ่มขึ้น
KRA 13 ประชาชน
ใช้การแพทย์แผน
ไทยในการรักษา
โรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น
KRA 14 ประชาชน
รับรู้ ข้อมูลข่าวสาร
การแพทย์แผนไทย
เพิ่มขึ้น
มาตรฐานการ
พัฒนา และการ
บริหารทั้งองค์กร
I
KRA 21 จัดทา
เกณฑ์มาตรฐาน
การให้บริการการ
แพทย์แผนไทย
2
KRA 22 บูรณาการ
ความร่วมมือ
การแพทย์แผนไทย
กับเครือข่ายกับ
โรงพยาบาลของรัฐ
และเอกชน 4
KRA 23 เจ้าหน้าที่
สาธารณ- สุข
และอสม.ใช้
การแพทย์แผนไทย
ในการบาบัดและ
ฟื้นฟูผู้ป่วยจากโรค
เรื้อรัง 3
KRA 24 ร่วมมือ
กับเครือ ข่าย
สถาบันการ ศึกษา
และสื่อ มวลชนใน
การสร้างสื่อการ
เรียนรู้และประชา
พันธ์ด้าน
การแพทย์แผนไทย
การเรียนรู้การ
พัฒนา
L
KRA 31 เป็นผู้นา
ในการเรียนการ
สอนถ่ายทอด
ความรู้ศาสตร์
การแพทย์แผนไทย
ในระดับอาเซียน 1
KRA 32 เกิด
เครือข่ายภูมิปัญญา
การแพทย์แผนไทย
ในการดูแลรักษา
โรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น
KRA 33 เกิดชุมชน
ต้นแบบด้าน
การแพทย์แผนไทย
ในการรักษาโรค
เรื้อรังเพิ่มขึ้น
KRA 34 เกิดการ
เผยแพร่ข้อมูล
ข่าวสารด้าน
การแพทย์แผนไทย
การบริหารการเงิน
การคลัง
F
KRA 41 ได้รับเงิน
สนับสนุน
งบประมาณจาก
สาธารณสุขจังหวัด
KRA 42 ลด
ค่าใช้จ่ายของ
อปท.ในการจัด
สวัสดิการให้ผู้ป่วย
โรคเรื้อรัง 5
KRA 43 ลด
ค่าใช้จ่ายในการ
รักษาค่าพยาบาล
ด้วยแพทย์แผน
ปัจจุบัน 5
KRA 44 อปท.ให้
เงินสนับสนุนใน
การสร้างสื่อการ
เรียนรู้ด้าน
การแพทย์แผนไทย
13
5.2 (2) แผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map)
ผู้ใช้บริการและ
ผู้มีส่วนได้เสีย
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรฐานการพัฒนา
และบริหารคุณภาพ
ทั่วทั้งองค์กร
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การเรียนรู้และ
การพัฒนา
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การบริหารการเงิน
การคลัง
วิสัยทัศน์
พันธกิจ3พันธกิจ2พันธกิจ1
KRA 42 ลดค่าใช้จ่ายของ
อปท.ในการจัดสวัสดิการให้
ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
KRA 43 ลดค่าใช้จ่ายในการ
รักษาค่าพยาบาลด้วยแพทย์
แผนปัจจุบัน
KRA 11 ประชาชนและ
ชาวต่างชาติให้การยอมรับ
การแพทย์แผนไทย
KRA 12 ประชาชนและ
ชาวต่างชาติเข้าถึงการ
บริการการแพทย์แผนไทย
เพิ่มขึ้น
KRA 13 ประชาชนใช้
การแพทย์แผนไทยในการ
รักษาโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น
KRA 31 เป็นผู้นาในการ
เรียนการสอนถ่ายทอดความรู้
ศาสตร์การแพทย์แผนไทยใน
ระดับอาเซียน
KRA 22 บูรณาการความ
ร่วมมือการแพทย์แผนไทยกับ
เครือข่ายกับโรงพยาบาลของรัฐ
และเอกชน
KRA 23 เจ้าหน้าที่
สาธารณสุข และอสม.ใช้
การแพทย์แผนไทยในการบาบัด
และฟื้นฟูผู้ป่วยจากโรคเรื้อรัง
KRA 24 ร่วมมือกับเครือ
ข่ายสถาบันการศึกษาและสื่อ
มวลชนในการสร้างสื่อการ
เรียนรู้และประชาพันธ์ด้าน
การแพทย์แผนไทย
KRA 21 จัดทาเกณฑ์
มาตรฐานการให้บริการ
การ แพทย์แผนไทย
14
5.3 ตัวชี้วัดและค่าเป้ าหมายที่ท้าทาย 5 ด้าน
ความท้าทาย
เชิงกลยุทธ์
ผลสัมฤทธิ์รวมที่
คาดหวังจากแผนที่กล
ยุทธ์
ตัวชี้วัดและค่าเป้ าหมาย
ผลการดาเนินงาน
ค่าเป้ าหมายจากการ
พยากรณ์
53 54 55 56 57 58 59 60
ด้านผลิตภัณฑ์
แ ล ะ
กระบวนการ
เป็ นผู้นาในการเรียน
การสอนถ่ายทอด
ค ว า ม รู้ ศ า ส ต ร์
การแพทย์แผนไทยใน
ระดับอาเซียน
จานวนเครือข่ายของ
สถาบันการศึกษาและ
สื่อมวลชนเพิ่มขึ้น ร้อย
ละ 12
N/A N/A N/A 5 6 8 10 12
ด้านการมุ่งเน้น
ลูกค้า
จัดทาเกณฑ์มาตรฐาน
ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร
การแพทย์แผนไทย
จานวนประชาชนและ
ชาวต่างชาติมาใช้บริการ
การแพทย์แผนไทย
เพิ่มขึ้น ร้อยละ 30
N/A N/A N/A 9 14 19 24 30
ด้านการมุ่งเน้น
บุคลากร
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
และอสม.ใช้การแพทย์
แผนไทยในการวินิจฉัย
บาบัดและฟื้นฟูผู้ป่ วย
จากโรคเรื้อรัง
จานวนประชาชนและ
ชาวต่างชาติได้รับการ
ตรวจวินิจฉัย บาบัดและ
ฟื้นฟูโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น
40
N/A N/A N/A 8 15 20 30 40
ด้ า น ก า ร น า
อ ง ค์ ก ร แ ล ะ
ก า กั บ ดู แ ล
องค์กร
บูรณาการความร่วมมือ
การแพทย์แผนไทยกับ
เ ค รื อ ข่ า ย กั บ
โรงพยาบาลของรัฐ
และเอกชน
จ า น ว น เ ค รื อ ข่ า ย
โรงพยาบาลรัฐและ
เอกชนที่ให้ความร่วมมือ
ด้านการแพทย์แผนไทย
เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50
N/A N/A N/A 10 20 30 40 50
ด้านการเงินและ
การตลาด
ลดค่าใช้จ่ายของอปท.
ในการจัดสวัสดิการ
ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ร้ อ ย ล ะ ข อ ง เ งิ น
งบประมาณ อปท.ด้าน
การจัดสวัสดิการให้
ผู้ป่ วยโรคเรื้อรังลดลง
10
N/A N/A N/A 2 4 6 8 10
15
ขั้นตอนที่ 6 : นาตัวชี้วัดและค่าเป้ าหมายที่ท้าทายมาเขียนโครงการเชิงบูรณาการ
ลาดับ โครงการ งาน กิจกรรม
1. โครงการเสริม สร้าง
ภาคีเครือข่าย
1.1 ประสานความร่วมมือกับ
สถาบันการศึกษา
1. ประชุมร่วมมือกับสถาบันการศึกษาและ
ลงนามความร่วมมือ(MOU)
2. อมรมบุคลากรเกี่ยวกับการผลิตสื่อการ
เรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทย
1.2 ประสานความร่วมมือกับ
สื่อมวลชน
1. ประชุมร่วมมือกับสื่อมวลชนและลง
นามความร่วมมือ(MOU)
2. บุคลากรศึกษาดูงานการเผยแพร่และ
ประชาสัมพันธ์สื่อ
2. โครงการแพทย์แผน
ไทยใช้ได้ทุกมุมโลก
2.1 งานสนับสนุนบุคลากรด้าน
การแพทย์แผนไทย
1. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการแพทย์
แผนไทย
2. ประเมินความรู้และนาแพทย์แผนไทย
ไปใช้ในชีวิตประจาวันของบุคลากร
ด้านการแพทย์เอง
2.2 งานเผยแพร่การใช้แพทย์แผนไทย
ในการบารุง ป้องกัน และการรักษา
โรค
1. จัดกิจกรรมประจาปีด้านการดูแล
สุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
2. ประชาสัมพันธ์การแพทย์แผนไทย ใน
การบารุง ป้องกัน และรักษาโรค โดยใช้
สื่อ Social network และสื่อวิทยุ
โทรทัศน์เป็นตัวกลางในการ
ประชาสัมพันธ์
3. โครงการสร้างความ
ร่วมมือเครือข่ายด้าน
การแพทย์แผนไทย
3.1 งานจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้าน
การแพทย์แผนไทย
1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์เชิญชวน
โรงพยาบาลของรัฐและเอกชนเข้าร่วม
ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ความรู้
แก่ประชาชนในด้านการแพทย์แผนไทย
2. กิจกรรมสาธิตการรักษาโรคด้วยการใช้
แพทย์แผนไทย เช่น การนวดแผนไทย การ
ใช้สมุนไพรในการบารุงร่างกายและรักษา
โรค
16
3.2 งานทาข้อตกลง(MOU)ร่วมกับ
โรงพยาบาลของรัฐและเอกชนด้าน
การแพทย์แผนไทย
1. กิจกรรมจัดเวทีลงนามร่วมกันระหว่าง
อปท. โรงพยาบาลของรัฐและ
โรงพยาบาลเอกชน
2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์กลุ่ม MOU โดย
ใช้สื่อทางอินเตอร์เน็ตเป็นตัวกลางใน
การประชาสัมพันธ์ให้โรงพยาบาลหรือ
หน่วยงานด้านการแพทย์หรือ อปท.
ใกล้เคียงที่สนใจรับทราบข้อมูลข่าวสาร
ด้านการแพทย์แผนไทยและเชิญชวนให้
ร่วมเป็นเครือข่ายในด้านการแพทย์แผน
ไทย
4. โครงการแพทย์แผน
ไทยใส่ใจกับสุขภาพ
4.1 งานอบรมพัฒนาศักยภาพ
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม.ใน
การใช้การแพทย์แผนไทย
1. อบรมการใช้แพทย์แผนไทยอย่างถูกวิธี
2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่ม
4.2 งานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้าน
แพทย์แผนไทย
1. กิจกรรมสร้างความเชื่อมั่นในการใช้
แพทย์แผนไทยรักษาโรค
2. ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านแพทย์แผนไทย
ให้กับผู้ที่สนใจ
5. โครงการภูมิปัญญา
การแพทย์แผนไทย
5.1 ส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรใน
ครัวเรือน
1. แจกเมล็ดพันธ์และต้นกล้าสมุนไพรให้แก่
ประชาชน
2. อบรมการใช้สมุนไพรในการรักษาโรคให้แก่
ประชาชน
5.2 จัดตั้งสมาคม/ชมรมการแพทย์แผน
ไทยในชุมชน
1. ประชุมร่วมกับผู้นาชุมชนเกี่ยวกับการจัดตั้ง
ชมรมการแพทย์แผนไทย
2. ศึกษาดูงานการแพทย์แผนไทยของ
โรงพยาบาลรัฐและเอกชน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1kamonporn_kiriya
 
ข้อกำหนด กติกา และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคม...
ข้อกำหนด  กติกา  และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคม...ข้อกำหนด  กติกา  และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคม...
ข้อกำหนด กติกา และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคม...Totsaporn Inthanin
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5Thanawut Rattanadon
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).docแบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).docAnuwatBhumthavorn
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...Nat Wrkt
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
หน่วย2 เซลล์ไฟฟ้า
หน่วย2 เซลล์ไฟฟ้าหน่วย2 เซลล์ไฟฟ้า
หน่วย2 เซลล์ไฟฟ้าPornsak Tongma
 
ข้อสอบ O net การงานฯ ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net การงานฯ ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net การงานฯ ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net การงานฯ ป.6 ชุด 1Manas Panjai
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมUtai Sukviwatsirikul
 
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงานแผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงานSumalee Klom
 
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท. การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท. Pongsatorn Sirisakorn
 
อช21003
อช21003อช21003
อช21003patara4
 
คอมโครงงาน
คอมโครงงานคอมโครงงาน
คอมโครงงานAoy Zied
 

La actualidad más candente (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
ข้อกำหนด กติกา และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคม...
ข้อกำหนด  กติกา  และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคม...ข้อกำหนด  กติกา  และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคม...
ข้อกำหนด กติกา และเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคม...
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).docแบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
 
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหารแนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
แนวข้อสอบเจาะข้อสอบผู้บริหาร
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)
แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)
แนวข้อสอบเหตุการณ์ปัจจุบันที่เคยออก (Pun)
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
อักษร
อักษรอักษร
อักษร
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
 
หน่วย2 เซลล์ไฟฟ้า
หน่วย2 เซลล์ไฟฟ้าหน่วย2 เซลล์ไฟฟ้า
หน่วย2 เซลล์ไฟฟ้า
 
ข้อสอบ O net การงานฯ ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net การงานฯ ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net การงานฯ ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net การงานฯ ป.6 ชุด 1
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
 
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงานแผนการสอนคอม ป. 6  การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
แผนการสอนคอม ป. 6 การใช้คอมสร้างชิ้นงาน
 
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท. การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
การจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย สำหรับ อปท.
 
อช21003
อช21003อช21003
อช21003
 
คอมโครงงาน
คอมโครงงานคอมโครงงาน
คอมโครงงาน
 

Similar a แผนกลยุทธ์พัฒนาท้องถิ่นด้านสุขภาพ

สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57หมอปอ ขจีรัตน์
 
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57หมอปอ ขจีรัตน์
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมโรงพยาบาลสารภี
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับอำเภอ
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับอำเภอแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับอำเภอ
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับอำเภอAuamporn Junthong
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
ทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวChuchai Sornchumni
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง Tuang Thidarat Apinya
 
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...jitisak poonsrisawat, M.D.
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Resilient for health innovation
Resilient for health innovationResilient for health innovation
Resilient for health innovationPhathai Singkham
 
หนังสือ เสริมคุณค่าปฐมภูมิ
หนังสือ เสริมคุณค่าปฐมภูมิหนังสือ เสริมคุณค่าปฐมภูมิ
หนังสือ เสริมคุณค่าปฐมภูมิChuchai Sornchumni
 
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอหนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ Utai Sukviwatsirikul
 

Similar a แผนกลยุทธ์พัฒนาท้องถิ่นด้านสุขภาพ (20)

สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
 
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
 
District health system
District health systemDistrict health system
District health system
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับอำเภอ
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับอำเภอแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับอำเภอ
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับอำเภอ
 
Communty diagnosis
Communty diagnosisCommunty diagnosis
Communty diagnosis
 
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59 นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
ทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัว
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...
Template for a project of the ranking of aspects for identified and determine...
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
 
Resilient for health innovation
Resilient for health innovationResilient for health innovation
Resilient for health innovation
 
หนังสือ เสริมคุณค่าปฐมภูมิ
หนังสือ เสริมคุณค่าปฐมภูมิหนังสือ เสริมคุณค่าปฐมภูมิ
หนังสือ เสริมคุณค่าปฐมภูมิ
 
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอหนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 

แผนกลยุทธ์พัฒนาท้องถิ่นด้านสุขภาพ

  • 1. 1 แผนกลยุทธ์พัฒนาท้องถิ่น ด้านสุขภาพ ขั้นตอนที่ 1 : การจัดอันดับความสาคัญของปัญหาและประเด็นการพัฒนาด้วยเกณฑ์ Risk Cost Volume Policy 1.1 ประเด็นปัญหาการพัฒนาท้องถิ่น 1. ปัญหาโรคเรื้อรัง (โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดใน สมอง) 2. การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์แผนไทย 3. ขาดการรวบรวมองค์ความรู้เพื่อการศึกษาและการเผยแพร่ทั้งในประเทศ และกลุ่มประเทศอาเซียน 4. มีระบบ อสม.ที่เป็นผู้จัดการสุขภาพชุมชน ร่วมกับภาคีเครือข่าย ( อปท.และอื่นๆ) เข้มแข็ง 5. มีภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่ได้รับการยอมรับทั้งในประเทศและระดับสากล 6. นโยบายของรัฐบาลสนับสนุนด้านการแพทย์แผนไทย 1.2 กาหนดน้าหนักความสาคัญของแต่ละเกณฑ์ Risk: ความเสี่ยงน้าหนักความสาคัญ คือ ระดับความรุนแรง Cost: ต้นทุนน้าหนักความสาคัญ คือ ผลรวมของต้นทุน Volume: ผู้มีส่วนได้เสียน้าหนักความสาคัญ คือ จานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Policy: ระดับนโยบายน้าหนักความสาคัญ คือ ความเร่งด่วน 1.3 การกาหนดเกณฑ์ให้คะแนนของแต่ละเกณฑ์ 1) เกณฑ์Risk 5 คะแนน หมายถึง ระดับความรุนแรงมากที่สุด 4 คะแนน หมายถึง ระดับความรุนแรงมาก 3 คะแนน หมายถึง ระดับความรุนแรงปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง ระดับความรุนแรงน้อย 1 คะแนน หมายถึง ระดับความรุนแรงน้อยที่สุด
  • 2. 2 2) เกณฑ์Cost 5 คะแนน หมายถึง ผลรวมของต้นทุนน้อยที่สุด 4 คะแนน หมายถึง ผลรวมของต้นทุนน้อย 3 คะแนน หมายถึง ผลรวมของต้นทุนปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง ผลรวมของต้นทุนมาก 1 คะแนน หมายถึง ผลรวมของต้นทุนมากที่สุด 3) เกณฑ์Volume 5 คะแนน หมายถึง จานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมากที่สุด 4 คะแนน หมายถึง จานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาก 3 คะแนน หมายถึง จานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง จานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียน้อย 1 คะแนน หมายถึง จานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียน้อยที่สุด 4) เกณฑ์Policy 5 คะแนน หมายถึง นโยบายเร่งด่วนมากที่สุด 4 คะแนน หมายถึง นโยบายเร่งด่วนมาก 3 คะแนน หมายถึง นโยบายเร่งด่วนปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง นโยบายเร่งด่วนน้อย 1 คะแนน หมายถึง นโยบายเร่งด่วนน้อยที่สุด
  • 3. 3 1.4 การคานวณหาค่าคะแนนถ่วงน้าหนักเพื่อจัดลาดับความสาคัญของปัญหา 1. ปัญหาโรคเรื้อรัง (โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดใน สมอง) หัวข้อ เกณฑ์ น้าหนัก คะแนน ผลรวม Risk 30 5 150 Cost 25 5 125 Volume 15 4 60 Policy 30 4 120 2. การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านแพทย์แผนไทย หัวข้อ เกณฑ์ น้าหนัก คะแนน ผลรวม Risk 20 3 60 Cost 35 4 140 Volume 25 4 100 Policy 20 3 60 3. ขาดการรวบรวมองค์ความรู้เพื่อการศึกษาและการเผยแพร่ทั้งในประเทศและกลุ่มประเทศ อาเซียน หัวข้อ เกณฑ์ น้าหนัก คะแนน ผลรวม Risk 20 3 60 Cost 30 4 120 Volume 30 5 150 Policy 20 4 80
  • 4. 4 4. มีระบบ อสม. ที่เป็นผู้จัดการสุขภาพชุมชน ร่วมกับภาคีเครือข่าย ( อปท.และอื่นๆ) เข้มแข็ง หัวข้อ เกณฑ์ น้าหนัก คะแนน ผลรวม Risk 10 3 30 Cost 20 3 60 Volume 40 5 200 Policy 30 4 120 5. มีภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่ได้รับการยอมรับทั้งในประเทศและระดับสากล หัวข้อ เกณฑ์ น้าหนัก คะแนน ผลรวม Risk 20 5 100 Cost 20 5 100 Volume 40 5 200 Policy 20 2 40 6. นโยบายของรัฐบาลส่งเสริมด้านการแพทย์แผนไทย หัวข้อ เกณฑ์ น้าหนัก คะแนน ผลรวม Risk 10 3 30 Cost 10 3 30 Volume 30 4 120 Policy 50 5 250
  • 5. 5 ตารางสรุปการคานวณหาค่าคะแนนถ่วงน้าหนักสามารถจัดลาดับความสาคัญของปัญหา ปัญหาและประเด็นพัฒนา Risk Cost Volume Policy ผลรวม 1. ปัญหาโรคเรื้อรัง (โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรค ความดันโลหิต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดใน สมอง) 150 125 60 120 455 2. การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน การแพทย์แผนไทย 60 140 100 60 360 3. ขาดการรวบรวมองค์ความรู้เพื่อการศึกษาและ การเผยแพร่ทั้งในประเทศและกลุ่มประเทศ อาเซียน 60 120 150 80 410 4. มีระบบ อสม. ที่เป็นผู้จัดการสุขภาพชุมชน ร่วมกับภาคีเครือข่าย ( อปท.และอื่นๆ) เข้มแข็ง 30 60 200 120 410 5. มีภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่ได้รับการ ยอมรับทั้งในประเทศและระดับสากล 100 100 200 40 440 6. นโยบายของรัฐบาลส่งเสริมด้านการแพทย์แผน ไทย 30 30 120 250 430 จากการคานวณหาค่าคะแนนถ่วงน้าหนักสามารถจัดลาดับความสาคัญของปัญหาได้ดังนี้ อันดับที่ 1: ปัญหาโรคเรื้อรัง (โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดใน สมอง) อันดับที่ 2: มีภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่ได้รับการยอมรับทั้งในประเทศและระดับสากล อันดับที่ 3: นโยบายของรัฐบาลส่งเสริมด้านการแพทย์แผนไทย อันดับที่ 4: ขาดการรวบรวมองค์ความรู้เพื่อการศึกษาและการเผยแพร่ทั้งในประเทศและกลุ่มประเทศ อาเซียน อันดับที่ 5: มีระบบ อสม. ที่เป็นผู้จัดการสุขภาพชุมชน ร่วมกับภาคีเครือข่าย ( อปท.และอื่นๆ) เข้มแข็ง อันดับที่ 6: การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์แผนไทย
  • 6. 6 1.5 วิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจากัด ของประเด็นปัญหาและการพัฒนาท้องถิ่น TOWS Analysis ประเด็นปัญหาและการพัฒนาท้องถิ่น W ปัญหาโรคเรื้อรัง (โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต โรคหัวใจ โรค หลอดเลือดในสมอง) T การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์แผนไทย W ขาดการรวบรวมองค์ความรู้เพื่อการศึกษาและการเผยแพร่ทั้งในประเทศ และกลุ่ม ประเทศอาเซียน S มีระบบ อสม.ที่เป็นผู้จัดการสุขภาพชุมชน ร่วมกับภาคีเครือข่าย ( อปท.และอื่นๆ) เข้มแข็ง S มีภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่ได้รับการยอมรับทั้งในประเทศและระดับสากล O นโยบายของรัฐบาลส่งเสริมด้านการแพทย์แผนไทย ขั้นตอนที่ 2 : ประเด็นปัญหาและการพัฒนาท้องถิ่นมาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมองค์การด้วย TOWS Analysis ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน T = การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน แพทย์แผนไทย O= นโยบายของรัฐบาลส่งเสริมด้านการแพทย์แผน ไทย W = ปัญหาโรคเรื้อรัง (โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดใน สมอง) W = ขาดการรวบรวมองค์ความรู้เพื่อการศึกษาและ การเผยแพร่ทั้งในประเทศ และกลุ่มประเทศอาเซียน S = มีระบบ อสม.ที่เป็นผู้จัดการสุขภาพชุมชน ร่วมกับภาคีเครือข่าย ( อปท.และอื่นๆ) เข้มแข็ง S = ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่ได้รับการ ยอมรับทั้งในประเทศและระดับสากล
  • 7. 7 ขั้นตอนที่ 3 : กาหนดกลยุทธ์ด้วย TOWS Matrix ที่ได้จาก TOWS Analysis ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก จุดแข็ง S จุดอ่อน W โอกาส O SO ผู้นาด้านการแพทย์แผนไทยใน ระดับประเทศและระดับสากล WO พัฒนาการแพทย์แผนไทยที่ ใช้ในการรักษาโรคเรื้อรัง ข้อจากัด T ST พัฒนาระบบสาธารณสุขด้าน การแพทย์แผนไทย WT สร้างและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ภูมิ-ปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์ แผนไทย ขั้นตอนที่ 4: เขียนแผนกลยุทธ์ ด้วยการนา TOWS Matrix มากาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าประสงค์ เชิงกลยุทธ์ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ค่านิยมหลัก และกลยุทธ์ 4.1 วิสัยทัศน์ (Vision) “แพทย์แผนไทยเป็นเลิศ ระบบสาธารณสุขได้มาตรฐาน มุ่งสู่การเป็นผู้นาด้านสุขภาพใน กลุ่มประเทศอาเซียน” 4.2 พันธกิจ (Missions) 1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพท้องถิ่น 2. ส่งเสริมและพัฒนาการแพทย์แผนไทยให้ทัดเทียมกับการแพทย์แผนปัจจุบัน 3. ส่งเสริมและพัฒนาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการรักษาโรคเรื้อรัง 4.3 เป้ าประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Purposes) 1. ประชาชนได้รับการบริการอย่างรวดเร็วและทั่วถึง 2. จานวนผู้ใช้บริการการแพทย์แผนไทยทั้งในและนอกประเทศเพิ่มขึ้น 3. ให้บริการการแพทย์แผนไทยมีรายได้เพิ่มขึ้น 4. ประชาชนที่ใช้การแพทย์แผนไทย(ยาสมุนไพร)ในการป้ องกันและรักษาโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น
  • 8. 8 4.4 วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Objectives) Roadmap 1 ประชาชนได้รับการบริการอย่างรวดเร็วและทั่วถึง ปี 2556 2557 2558 เพึ่มขึ้น 3% เพึ่มขึ้น 5% เพึ่มขึ้น 7% 1. การประสานงาน FR เพื่อ ส่งต่อผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน 2. เข้าถึงผู้ด้อยโอกาสทุก กลุ่มด้วยการจัดสวัสดิการ สังคมและการสงเคราะห์ 3.ให้บริการเชิงรุกที่บ้าน ผู้ป่ วยเพื่อวินิจฉัยและบาบัด โรค 4.จัดตั้งศูนย์วินิจฉัย บาบัด ป้องกันโรคเรื้อรัง 1. การประสานงาน FR เพื่อส่ง ต่อผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน 2. เข้าถึงผู้ด้อยโอกาสทุกกลุ่ม ด้วยการจัดสวัสดิการสังคมและ การสงเคราะห์ 3.ให้บริการเชิงรุกที่บ้านผู้ป่วย เพื่อวินิจฉัยและบาบัดโรค 1. การประสานงาน FR เพื่อ ส่งต่อผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน 2. เข้าถึงผู้ด้อยโอกาสทุกกลุ่ม ด้วยการจัดสวัสดิ- การสังคม และการสงเคราะห์ Roadmap 2 จานวนผู้ใช้บริการการแพทย์แผนไทยทั้งในและนอกประเทศเพิ่มขึ้น ปี 2556 2557 2558 เพึ่มขึ้น 3% เพึ่มขึ้น 5% เพึ่มขึ้น 7% 1.จานวนประชาชนและ ชาวต่างชาติ ให้ความสนใจ การแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น 2.จานวนข้อมูลการแพทย์ แผนไทยใน Social network เพิ่มขึ้น 3.จานวนผู้ประกอบการใน ประเทศที่ร่วมมือให้บริการ แพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น 4. จานวนผู้ประกอบการใน กลุ่มประเทศอาเซียนร่วมมือ ให้บริการแพทย์แผนไทย เพิ่มขึ้น 1.จานวนประชาชนและ ชาวต่างชาติ ให้ความสนใจ การแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น 2.จานวนข้อมูลการแพทย์แผน ไทยใน Social network เพิ่มขึ้น 3.จานวนภาคีเครือข่ายใน ประเทศที่ร่วมมือให้บริการ แพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น 1.จานวนประชาชนและ ชาวต่างชาติ ให้ความสนใจ การแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น 2.จานวนข้อมูลการแพทย์แผน ไทยใน Social network เพิ่มขึ้น
  • 9. 9 Roadmap 3 รายได้ของผู้ประกอบการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น ปี 2556 2557 2558 เพึ่มขึ้น 3% เพึ่มขึ้น 5% เพึ่มขึ้น 7% 1.จานวนประชาชนมีทักษะ ในการให้บริการการนวด แผนไทยเพิ่มขึ้น 2.ร่วมมือกับองค์การเภสัช กรรมในการผลิต ผลิตภัณฑ์ ที่เกี่ยวกับยาสมุนไพร 3. จานวนผลิตภัณฑ์จากการ แปรรูปสมุนไพรเพิ่มขึ้น 4. จานวนการให้บริการร้านยา สมุนไพรเพิ่มขึ้น 1.จานวนประชาชนมีทักษะใน การให้บริการการนวดแผน ไทยเพิ่มขึ้น 2.ร่วมมือกับองค์กรเภสัชกรรม ในการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่ เกี่ยวกับยาสมุนไพร 3. จานวนผลิตภัณฑ์จากการ แปรรูปสมุนไพรเพิ่มขึ้น 1.จานวนประชาชนมีทักษะใน การให้บริการการนวดแผน ไทยเพิ่มขึ้น 2.ร่วมมือกับองค์กรเภสัชกรรม ในการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่ เกี่ยวกับยาสมุนไพร Roadmap 4 จานวนประชาชนที่ใช้แพทย์แผนไทย(ยาสมุนไพร)ในการป้องกันและรักษาโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น ปี 2556 2557 2558 เพึ่มขึ้น 3% เพึ่มขึ้น 5% เพึ่มขึ้น 7% 1. จานวนประชาชนมีการ ปลูกพืชสมุนไพรเพิ่มขึ้น 2.จัดตั้งสมาคม/ชมรมของ เครือข่าย 3.จัดนิทรรศการด้านการแผน แผนไทยระดับชาติ 4.จานวนประชาชนมีทักษะ ในการใช้สมุน- ไพรเพิ่มขึ้น 1. จานวนประชาชนมีการ ปลูกพืชสมุนไพรเพิ่มขึ้น 2.จานวนประชาชนมีทักษะ ในการใช้สมุน- ไพรเพิ่มขึ้น 3.จัดนิทรรศการด้านการแผน แผนไทยระดับชาติ 1. จานวนประชาชนมีการปลูก พืชสมุนไพรเพิ่มขึ้น 2.จัดตั้งสมาคม/ชมรมของ เครือข่าย
  • 10. 10 4.5 ค่านิยมหลักขององค์การ (Core Values) ยึดมั่นในความซื่อสัตย์จิตใจพร้อมให้บริการ ทางานเป็นทีมร่วมกับเครือข่าย พัฒนาตนสู่ความเป็นเลิศ 4.6 กลยุทธ์ (Strategies) SO : ผู้นาด้านการแพทย์แผนไทยในระดับประเทศและระดับสากล ST : พัฒนาระบบสาธารณสุขด้านการแพทย์แผนไทย WO : พัฒนาการแพทย์แผนไทยที่ใช้ในการรักษาโรคเรื้อรัง WT : สร้างและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแพทย์แผนไทย
  • 11. 11 ขั้นตอนที่ 5: นาแผนกลยุทธ์ที่ได้จากข้อ 4 แปลงสู่การปฏิบัติด้วย Balance Scorecard เพื่อกาหนด ผลสัมฤทธิ์รวมที่คาดหวัง (Key Results Area) 5.1 จัดทาตาราง Balance Scorecard Matrix ตารางแสดงแผนกลยุทธ์สู่การปฏิบัติด้วย Balance Scorecard กาหนดผลสัมฤทธิ์รวมที่คาดหวัง (Key Results Area) จากความสัมพันธ์ของกลยุทธ์และ BSC (ตาราง BSC Matrix) BSC Strategies ผู้ใช้บริการ และผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย มาตรฐานการ พัฒนา และการ บริหารทั้งองค์กร การเรียนรู้การ พัฒนา การบริหารการเงิน การคลัง SO: ผู้นาด้าน การแพทย์แผน ไทยใน ระดับประเทศและ ระดับสากล KRA 11 ประชาชน และชาวต่างชาติให้ การยอมรับการแพทย์ แผนไทย KRA 21 จัดทา เกณฑ์มาตรฐานการ ให้บริการการ แพทย์ แผนไทย KRA 31 เป็นผู้นาใน การเรียนการสอน ถ่ายทอดความรู้ ศาสตร์การแพทย์ แผนไทยในระดับ อาเซียน KRA 41 ได้รับเงิน สนับ สนุน งบประมาณจาก สาธารณสุขจังหวัด ST: พัฒนาระบบ สาธารณสุขด้าน การแพทย์แผน ไทย KRA 12 ประชาชน และชาวต่างชาติเข้าถึง การบริการการ แพทย์ แผนไทยเพิ่มขึ้น KRA 22 บูรณาการ ความร่วมมือ การแพทย์แผนไทย กับเครือข่ายกับโรง- พยาบาลของรัฐและ เอกชน KRA 32 เกิด เครือข่ายภูมิปัญญา การแพทย์แผนไทย ในการดูแลรักษา โรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น KRA 42 ลด ค่าใช้จ่ายของ อปท. ในการจัดสวัสดิการ ให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง WO: พัฒนา การแพทย์แผน ไทยที่ใช้ในการ รักษาโรคเรื้อรัง KRA 13 ประชาชนใช้ การ แพทย์แผนไทย ในการรักษาโรค เรื้อรังเพิ่มขึ้น KRA 23 เจ้าหน้าที่ สาธารณ- สุข และอสม.ใช้แพทย์ แผนไทยในการ บาบัดและฟื้นฟู ผู้ป่วยจากโรคเรื้อรัง KRA 33 เกิดชุมชน ต้นแบบด้าน การแพทย์แผนไทย ในการรักษาโรค เรื้อรังเพิ่มขึ้น KRA 43 ลด ค่าใช้จ่ายในการ รักษาค่าพยาบาล ด้วยการแพทย์แผน ปัจจุบัน WT: สร้างและ พัฒนาสื่อการ เรียนรู้ ภูมิปัญญา ท้องถิ่นด้าน การแพทย์แผนไทย KRA 14 ประชาชน รับรู้ ข้อมูลข่าวสาร การแพทย์แผนไทย เพิ่มขึ้น KRA 24 ร่วมมือกับ เครือ- ข่าย สถาบัน การศึกษา และ สื่อมวลชนในการสร้าง สื่อการเรียนรู้และ ประชาพันธ์ด้าน การแพทย์แผนไทย KRA 34 เกิดการ เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารด้าน การแพทย์แผนไทย KRA 44 อปท.ให้ เงินสนับ- สนุนใน การสร้างสื่อการ เรียนรู้ด้าน การแพทย์แผนไทย
  • 12. 12 5.2 (1) แผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map) ผู้ใช้บริการ และผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย C KRA 11 ประชาชน และชาวต่างชาติให้ การยอมรับ การแพทย์แผนไทย KRA 12 ประชาชน และชาวต่างชาติ เข้าถึงการบริการ การแพทย์แผนไทย เพิ่มขึ้น KRA 13 ประชาชน ใช้การแพทย์แผน ไทยในการรักษา โรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น KRA 14 ประชาชน รับรู้ ข้อมูลข่าวสาร การแพทย์แผนไทย เพิ่มขึ้น มาตรฐานการ พัฒนา และการ บริหารทั้งองค์กร I KRA 21 จัดทา เกณฑ์มาตรฐาน การให้บริการการ แพทย์แผนไทย 2 KRA 22 บูรณาการ ความร่วมมือ การแพทย์แผนไทย กับเครือข่ายกับ โรงพยาบาลของรัฐ และเอกชน 4 KRA 23 เจ้าหน้าที่ สาธารณ- สุข และอสม.ใช้ การแพทย์แผนไทย ในการบาบัดและ ฟื้นฟูผู้ป่วยจากโรค เรื้อรัง 3 KRA 24 ร่วมมือ กับเครือ ข่าย สถาบันการ ศึกษา และสื่อ มวลชนใน การสร้างสื่อการ เรียนรู้และประชา พันธ์ด้าน การแพทย์แผนไทย การเรียนรู้การ พัฒนา L KRA 31 เป็นผู้นา ในการเรียนการ สอนถ่ายทอด ความรู้ศาสตร์ การแพทย์แผนไทย ในระดับอาเซียน 1 KRA 32 เกิด เครือข่ายภูมิปัญญา การแพทย์แผนไทย ในการดูแลรักษา โรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น KRA 33 เกิดชุมชน ต้นแบบด้าน การแพทย์แผนไทย ในการรักษาโรค เรื้อรังเพิ่มขึ้น KRA 34 เกิดการ เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารด้าน การแพทย์แผนไทย การบริหารการเงิน การคลัง F KRA 41 ได้รับเงิน สนับสนุน งบประมาณจาก สาธารณสุขจังหวัด KRA 42 ลด ค่าใช้จ่ายของ อปท.ในการจัด สวัสดิการให้ผู้ป่วย โรคเรื้อรัง 5 KRA 43 ลด ค่าใช้จ่ายในการ รักษาค่าพยาบาล ด้วยแพทย์แผน ปัจจุบัน 5 KRA 44 อปท.ให้ เงินสนับสนุนใน การสร้างสื่อการ เรียนรู้ด้าน การแพทย์แผนไทย
  • 13. 13 5.2 (2) แผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map) ผู้ใช้บริการและ ผู้มีส่วนได้เสีย ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการพัฒนา และบริหารคุณภาพ ทั่วทั้งองค์กร -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การเรียนรู้และ การพัฒนา ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การบริหารการเงิน การคลัง วิสัยทัศน์ พันธกิจ3พันธกิจ2พันธกิจ1 KRA 42 ลดค่าใช้จ่ายของ อปท.ในการจัดสวัสดิการให้ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง KRA 43 ลดค่าใช้จ่ายในการ รักษาค่าพยาบาลด้วยแพทย์ แผนปัจจุบัน KRA 11 ประชาชนและ ชาวต่างชาติให้การยอมรับ การแพทย์แผนไทย KRA 12 ประชาชนและ ชาวต่างชาติเข้าถึงการ บริการการแพทย์แผนไทย เพิ่มขึ้น KRA 13 ประชาชนใช้ การแพทย์แผนไทยในการ รักษาโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น KRA 31 เป็นผู้นาในการ เรียนการสอนถ่ายทอดความรู้ ศาสตร์การแพทย์แผนไทยใน ระดับอาเซียน KRA 22 บูรณาการความ ร่วมมือการแพทย์แผนไทยกับ เครือข่ายกับโรงพยาบาลของรัฐ และเอกชน KRA 23 เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข และอสม.ใช้ การแพทย์แผนไทยในการบาบัด และฟื้นฟูผู้ป่วยจากโรคเรื้อรัง KRA 24 ร่วมมือกับเครือ ข่ายสถาบันการศึกษาและสื่อ มวลชนในการสร้างสื่อการ เรียนรู้และประชาพันธ์ด้าน การแพทย์แผนไทย KRA 21 จัดทาเกณฑ์ มาตรฐานการให้บริการ การ แพทย์แผนไทย
  • 14. 14 5.3 ตัวชี้วัดและค่าเป้ าหมายที่ท้าทาย 5 ด้าน ความท้าทาย เชิงกลยุทธ์ ผลสัมฤทธิ์รวมที่ คาดหวังจากแผนที่กล ยุทธ์ ตัวชี้วัดและค่าเป้ าหมาย ผลการดาเนินงาน ค่าเป้ าหมายจากการ พยากรณ์ 53 54 55 56 57 58 59 60 ด้านผลิตภัณฑ์ แ ล ะ กระบวนการ เป็ นผู้นาในการเรียน การสอนถ่ายทอด ค ว า ม รู้ ศ า ส ต ร์ การแพทย์แผนไทยใน ระดับอาเซียน จานวนเครือข่ายของ สถาบันการศึกษาและ สื่อมวลชนเพิ่มขึ้น ร้อย ละ 12 N/A N/A N/A 5 6 8 10 12 ด้านการมุ่งเน้น ลูกค้า จัดทาเกณฑ์มาตรฐาน ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร การแพทย์แผนไทย จานวนประชาชนและ ชาวต่างชาติมาใช้บริการ การแพทย์แผนไทย เพิ่มขึ้น ร้อยละ 30 N/A N/A N/A 9 14 19 24 30 ด้านการมุ่งเน้น บุคลากร เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม.ใช้การแพทย์ แผนไทยในการวินิจฉัย บาบัดและฟื้นฟูผู้ป่ วย จากโรคเรื้อรัง จานวนประชาชนและ ชาวต่างชาติได้รับการ ตรวจวินิจฉัย บาบัดและ ฟื้นฟูโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น 40 N/A N/A N/A 8 15 20 30 40 ด้ า น ก า ร น า อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ก า กั บ ดู แ ล องค์กร บูรณาการความร่วมมือ การแพทย์แผนไทยกับ เ ค รื อ ข่ า ย กั บ โรงพยาบาลของรัฐ และเอกชน จ า น ว น เ ค รื อ ข่ า ย โรงพยาบาลรัฐและ เอกชนที่ให้ความร่วมมือ ด้านการแพทย์แผนไทย เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 N/A N/A N/A 10 20 30 40 50 ด้านการเงินและ การตลาด ลดค่าใช้จ่ายของอปท. ในการจัดสวัสดิการ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ร้ อ ย ล ะ ข อ ง เ งิ น งบประมาณ อปท.ด้าน การจัดสวัสดิการให้ ผู้ป่ วยโรคเรื้อรังลดลง 10 N/A N/A N/A 2 4 6 8 10
  • 15. 15 ขั้นตอนที่ 6 : นาตัวชี้วัดและค่าเป้ าหมายที่ท้าทายมาเขียนโครงการเชิงบูรณาการ ลาดับ โครงการ งาน กิจกรรม 1. โครงการเสริม สร้าง ภาคีเครือข่าย 1.1 ประสานความร่วมมือกับ สถาบันการศึกษา 1. ประชุมร่วมมือกับสถาบันการศึกษาและ ลงนามความร่วมมือ(MOU) 2. อมรมบุคลากรเกี่ยวกับการผลิตสื่อการ เรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทย 1.2 ประสานความร่วมมือกับ สื่อมวลชน 1. ประชุมร่วมมือกับสื่อมวลชนและลง นามความร่วมมือ(MOU) 2. บุคลากรศึกษาดูงานการเผยแพร่และ ประชาสัมพันธ์สื่อ 2. โครงการแพทย์แผน ไทยใช้ได้ทุกมุมโลก 2.1 งานสนับสนุนบุคลากรด้าน การแพทย์แผนไทย 1. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการแพทย์ แผนไทย 2. ประเมินความรู้และนาแพทย์แผนไทย ไปใช้ในชีวิตประจาวันของบุคลากร ด้านการแพทย์เอง 2.2 งานเผยแพร่การใช้แพทย์แผนไทย ในการบารุง ป้องกัน และการรักษา โรค 1. จัดกิจกรรมประจาปีด้านการดูแล สุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย 2. ประชาสัมพันธ์การแพทย์แผนไทย ใน การบารุง ป้องกัน และรักษาโรค โดยใช้ สื่อ Social network และสื่อวิทยุ โทรทัศน์เป็นตัวกลางในการ ประชาสัมพันธ์ 3. โครงการสร้างความ ร่วมมือเครือข่ายด้าน การแพทย์แผนไทย 3.1 งานจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้าน การแพทย์แผนไทย 1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์เชิญชวน โรงพยาบาลของรัฐและเอกชนเข้าร่วม ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ความรู้ แก่ประชาชนในด้านการแพทย์แผนไทย 2. กิจกรรมสาธิตการรักษาโรคด้วยการใช้ แพทย์แผนไทย เช่น การนวดแผนไทย การ ใช้สมุนไพรในการบารุงร่างกายและรักษา โรค
  • 16. 16 3.2 งานทาข้อตกลง(MOU)ร่วมกับ โรงพยาบาลของรัฐและเอกชนด้าน การแพทย์แผนไทย 1. กิจกรรมจัดเวทีลงนามร่วมกันระหว่าง อปท. โรงพยาบาลของรัฐและ โรงพยาบาลเอกชน 2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์กลุ่ม MOU โดย ใช้สื่อทางอินเตอร์เน็ตเป็นตัวกลางใน การประชาสัมพันธ์ให้โรงพยาบาลหรือ หน่วยงานด้านการแพทย์หรือ อปท. ใกล้เคียงที่สนใจรับทราบข้อมูลข่าวสาร ด้านการแพทย์แผนไทยและเชิญชวนให้ ร่วมเป็นเครือข่ายในด้านการแพทย์แผน ไทย 4. โครงการแพทย์แผน ไทยใส่ใจกับสุขภาพ 4.1 งานอบรมพัฒนาศักยภาพ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม.ใน การใช้การแพทย์แผนไทย 1. อบรมการใช้แพทย์แผนไทยอย่างถูกวิธี 2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่ม 4.2 งานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้าน แพทย์แผนไทย 1. กิจกรรมสร้างความเชื่อมั่นในการใช้ แพทย์แผนไทยรักษาโรค 2. ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านแพทย์แผนไทย ให้กับผู้ที่สนใจ 5. โครงการภูมิปัญญา การแพทย์แผนไทย 5.1 ส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรใน ครัวเรือน 1. แจกเมล็ดพันธ์และต้นกล้าสมุนไพรให้แก่ ประชาชน 2. อบรมการใช้สมุนไพรในการรักษาโรคให้แก่ ประชาชน 5.2 จัดตั้งสมาคม/ชมรมการแพทย์แผน ไทยในชุมชน 1. ประชุมร่วมกับผู้นาชุมชนเกี่ยวกับการจัดตั้ง ชมรมการแพทย์แผนไทย 2. ศึกษาดูงานการแพทย์แผนไทยของ โรงพยาบาลรัฐและเอกชน