SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 16
Descargar para leer sin conexión
เฉลย ENT 48 คณิตศาสตร์ ตอนที่ 1
1. ตอบ 4
แนวคิด
= AB(BC)
= AB
= A – B
สรุปว่าโจทย์ให้ n[(AB)(BC)] = 4
ซึ่งคือ n(A – B) = 4
และ n(B) = 5
n(AB) = 2
จากสูตร n(A – B) = n(A) – n(AB)
n(A) = n(A – B) + n(AB)
= 4 + 2
= 6
n(P(A)) – n(P(B)) = )B(n)A(n
22  = 56
22  = 32 ตอบ
2. ตอบ 3
ขอบอก เรื่องทฤษฎีบทเศษเหลือ ปัจจุบันออกสอบทุกปี (ปีละ 1 ข้อ) อย่าลืมอ่านไปนะครับ!
แนวคิด x – p หาร P(x) = 3x7x2
 เศษคือ 3p7p2

x + q หาร P(x) = 3x7x2
 เศษคือ 3)q(7)q( 2

โจทย์บอกว่า เศษเท่ากัน
3q7p2
 = 3q7q2

q7p7)qp( 22
 = 0 สูตรที่ใช้ x – c หาร p(x) จะเหลือเศษ p(c)
)qp(7)qp)(qp(  = 0
]7qp)[qp(  = 0
แต่โจทย์ว่า p  -q  p – q + 7 = 0
p – q = –7 ตอบ
3. ตอบ 2
ข้อนี้จัดว่ายากสาหรับคนที่ไม่เคยเจอโจทย์แบบนี้มาก่อน แต่ถ้าน้อง ๆ สังเกตข้อสอบ Ent
ในช่วงหลัง ๆ จะออกลักษณะแบบนี้มาหลายครั้งแล้ว จึงควรทาความคุ้นเคยเอาไว้ครับ
แนวคิด
หรม. ของ x กับ 100 = 1
และ 100 = 52
22 
สรุปว่า x คือจานวนที่ 2 หารไม่ลงตัว และ 5 หารไม่ลงตัว
ใช้แผนภาพช่วย
บริเวณแรเงา = AB
= U – (AB)
จากกฎ   (   ? ) = 
ดังนั้น B(BC) = B
และอย่าลืมว่า A  B = A – B
สูตรที่ใช้
(1)   (  ? ) = 
(2)n(A – B) = n(A) – n(AB)
(3)n[P(A)] = )A(n
2
หาร 5 ลง หาร 2 ลง
A B
A = xU2 หาร x ลงตัว
= 2, 4, 6, …, 100
ผลบวกสมาชิกเซต A
= 2 + 4 + 6 + … + 100
= 2
50 [2 + 100] = 2550
B = xU5 หาร x ลงตัว
= 5, 10, 15, …, 100
ผลบวกสมาชิกเซต B
= 5 + 10 + 15 + … + 100
= 2
20 [5 + 100] = 1050
AB = xU2 และ 5 หาร x ลงตัว = xU10 หาร x ลงตัว
= 10, 20, 30, …, 100
ผลบวกสมาชิกเซต AB U = 1, 2, 3, …, 100
= 2
10 [1 + 100] = 550 ผลบวกใน U = 1 + 2 + … + 100
n(U) = 2
100 [1 + 100] = 550
n(AB) = n(U) – n(AB)
= n(U) – [n(A) + n(B) – n(AB)]
ผลบวกก็เช่นกัน
= 5050 – [2550 + 1050 – 550]
= 2,000 ตอบ
สูตรที่ใช้ (1) เรื่องเซต n(AB) = n(A) + n(B) – n(AB)
(2) ผลบวก nS = 2
n [ naa 1 ]
4. ตอบ 1
ข้อนี้คล้ายกับข้อสอบ En มีนา 47 ที่พึ่งผ่านมา แบบการหาค่าความจริงแนวใหม่
(p  q)  (p  q)
F
T F (ทาต่อไม่ได้ล่ะสิ)
เนื่องจาก p  q เป็นเท็จ
สรุปได้ว่า p, q มีค่าความจริงตรงข้ามกันซึ่งอาจเป็น
qจริ งpเท็ จ)2(
qเท็ จpจริ ง)1(
แต่ p  q เป็นจริง (1) จึงเป็นไม่ได้
pเป็นเท็จ, q เป็นจริง เท่านั้น
พิจารณาตัวเลือก 1] (F  T)  r  F  r  T ตอบเลยเหอะ
2] T  (Fr)  T  F  F
3] F~T  F
4] F~T  F
5. ตอบ 2
ข้อนี้เป็นโจทย์ย้อนกลับของเรื่องตัวบ่งปริมาณ
ผลบวก สูตร อนุกรมเลขคณิต
nS = 2
n [ n1 aa  ]
หรือ
nS = 2
จานวนพจน์ [พจน์แรก+ท้าย]
01
ส่งไปจับกับ {a, b}
(ส่วนที่เหลือ 1 ตัว เลือกได้วิธีเดียว)
เลือก
ได้วิธีเดียว)
เลือก 2 ตัว จาก 3 ตัว
ที่เลือกไว้ใน * เพื่อจะไปจับกับ {a, b}
* เลือก 3 ตัวจาก
{1,2,3,4,5}
 !2
2
3
3
4












 !2
2
3
3
4












การที่ ]03x2x[x 2
 จะเป็นจริง x ทุกตัวใน U จะต้องแทนแล้วจริง
นั่นก็คือ U  เซตคาตอบอสมการ
03x2x2

0)1x)(3x( 
เซตคาตอบอสมการ
U ในตัวเลือก 2 เป็นสับเซตของเซตคาตอบ
6. ตอบ 3
f(x) = x + 1
)x(fg = 1x จะหา )x(gf ได้ = )x(f
แสดงว่า g(x) = x = 1x 
หา fgR 
จาก )x(fg = 1x 
y = 1x 
จะได้ว่า y  0
fgR  = yy  0
หา gfR 
จาก )x(gf = 1x 
y = 1x 
เนื่องจาก x  0
1x   1
y  1
fgR 
gfR 
fgR  – gfR  คือ [0, 1) ตอบ
วิธีลัด fgR  – gfR  แสดงว่า ค่าที่ใช้ได้ต้องอยู่ใน fgR 
แต่ไม่อยู่ใน gfR 
ดูช้อย fg : y = 1x  สังเกตว่า y = 1 ใช้ได้ (x=0ไง)
 ข้อที่ถูกต้องมี y = 1 (ตัดตัวเลือก 2, 4)
และสังเกตว่า y = -1 ก็เป็นไปไม่ได้ ดังนั้น ตัดข้อ 1 ตอบข้อ3 ไปเลย จิ
7. ตอบ 4
การหา จานวนสมาชิกเซต A ก็คืจานวน f ที่ fR = {a, b} นั่นเอง
มีสมาชิก 3 ตัว สร้างได้
เมื่อคานวณแล้วจะได้ = 4(3)(2) = 24 วิธี ตอบ
-3 0
-2 -1
-1
0
1
8. ตอบ 2
แนวคิด )x(g 1 = 1x f(2x – 1) = 4x – a
จะได้ g(x) = 1x2
 f(x) =  2
1x4  – a ........(ระบบ )
= 2x + 2 – a
)a(gf = f(g(a)) = 20a2
 (โจทย์บอกมา)
)1a(f 2
 = 20a2

a2)1a(2 2
 = 20a2

a22a2 2
 = 20a2

20aa2
 = 0
(a – 5) (a – 4)= 0
a= 5, – 4 แต่โจทย์ว่า a > 0
 a = 5
f(x) = 2x + 2 – a
f(x) = 2x – 3
f(a) = 2a – 3 = 2(5) – 3 = 7 ตอบ
ความรู้ที่ต้องมี 1. หา f(x) จาก f (ไม่ใช่ x )
2. )x(gf = f(g(x))
3. การหา Inverse ของ f(x)
9. ตอบ 4 (ข้อนี้เป็นข้อสอบ En 43 มี.ค. ซึ่งคล้าย ๆ En 47 มี.ค. เลยเอามาให้ดู)
วิธีจริงวาดรูป
จาก Law of sine

75sin
20 = 
60sin
AB
AB = 

75sin
60sin20
AB =
22
13
2
320






AB = 




13
22310
จากสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC จะได้ sin 45
= AB
h
หรือ h = AB sin 45
….(แตก AB sin แบบ physics )
พ.ท.สามเหลี่ยม ABC= 2
1  ฐาน  สูง
= )h)(AC(2
1
=
2
1
13
320)20(2
1

A D C
B
75
60

45
มุม 15
, 75
ควรจาได้เพราะออกสอบบ่อย
13 
13 
15

75

22
=
13
3200

ตอบ
วิธีลัด
20 = h[cot 45
+ cot 60
]
พท. =











3
11
20)20)(20(2
1
=
13
3200

ตอบ
10. ตอบ 2
ให้เส้นตรง 1L ผ่านจุด (– 4, 1) และ (0, 3
8 )
เส้นตรง 2L มีสมการเป็น 5x – 12y – 20 = 0
ถ้าเส้นตรง 1L และ 2L สัมผัสวงกลม C ข้อใดเป็นสมการวงกลม C
1L ผ่านจุด (– 4, 1) และ (0, 3
8 ) ความชัน 1L = )4(0
13
8


= 12
5
สมการ 1L คือ 5x – 12y + k = 0
ผ่านจุด (– 4, 1) : 5(-4) – 12(1) + k = 0  k = 32
สมการ 1L : 5x – 12y + 32 = 0
2L : 5x – 15y – 20 = 0
จะเห็นได้ว่า 1L ขนานกับ 2L
ดูจากช้อย 1, 3, 4 จะมี (h, k) วงกลม = (–6, 3) …. แต่ข้อ 2 (h, k) = (6, 3)
ลอง (h, k) = (–6, 3)
ระยะ (h, k) ถึง 1L = ระยะ (h, k) ถึง 2L
22
125
32)3(12)6(5


=
22
125
20)3(12)6(5


ซึ่งไม่จริง จึงตอบ 2 เลย
11. ตอบ 1
เซต A 1xx
66 
 = 2x1xx
222 

)61(6x
 = )221(2 2x

76x
 = 72x

x
6 = x
2
 x = 0 A = { 0 } (จริง ๆ น่าจะตอบข้อ 1 เลย เพราะ 0 คูณอะไรก็ได้ 0)
เซต B ควรรู้ สูตรลัด dxlogloglog abc 
60
45
20
h
A B
h
x
สูตร Genius
x = h[cotA + cotB]
(h,k)
1L
2L
dc
b
ax 
ดังนั้น )1x2(logloglog 327  = 0
2x – 1 =
07
2
3 = 2
3
2x – 1 = 9
x = 5  B = { 5 }
ผลคูณ สมาชิกเซต A กับ B = 0  5 = 0 ตอบ
15x12x4x4 2
 = 0 15x12x4x4 2
 = 0
12. ตอบ 3
ไม่อยากบอกเลยว่า เรื่อง cofactor ของเมตริกซ์ นี้ออกสอบทุกปี ข้อนี้จึงไม่ควรพลาดนะ
แนวคิด จาก A =











0
7
6
2
0
4
1
2
5
)A(C13 = 21
02
)1( 31 
 
)A(C13 = 21
45
)1( 32

= (1) [– 4 – 0] = – 4 = (–1) [10 – 4] = –6
จึงได้ว่า B =










xx6
2
5x24
2
ซึ่ง det B = 0 (เพราะโจทย์บอกว่า B เป็นเมตริกซ์เอกฐาน)
คูณลง – คูณขึ้น = 0
)2
5x2)(6()xx(4 2
 = 0
15x12x4x4 2
 = 0
154 2
 x16x = 0
ผลบวกคาตอบ = 4
)16( = 4
13. ตอบ 1 (เรื่องนี้ออก En ปีละ 1 ข้อ มาตลอดนะครับ)
วาดรูป จุดมุมมี 4 จุด
จุด A เป็นจุดตัด 2x + 3y = 100 ----- 
y – x = 5 ----- 
ซึ่งแก้สมการได้ x = 21 , y = 26
 A (21, 26)
A
D
B
C y = 2
(60,0)(10,0)
(0,10)
(0,40)
x+y = 10
2x+3y = 120
x–y = 5
จุด B เป็นจุดตัด x + y = 10 ………. จุด C x + y = 10 แต่ y = 2
y – x = 5 ……….  C(8, 2)
ซึ่ง B = )2
15,2
5( ฝากคิดเองนิดนึงนะ จุด D 2x + 3y = 120 แต่ y = 2
 D = (57, 2)
นา 4 จุดมุม แทนลง P
P = 3x + y
(21, 26) P = 89
)2
15,2
5( P = 15  min
(8, 2) P = 26
(57, 2) P = 173  max
14. ตอบ 3
เรื่องขนาด vector ออกสอบทุกปีเช่นกัน (อย่าพลาดนะ)
ถ้ากาหนด AB = v
AB = u
จะได้ AC = vu ซึ่ง vu  = 5
BD = vu ซึ่ง vu  = 1
จาก 2vu = vu2vu 22 
แทนสิ่งที่รู้ลงไป
2
5 = vu2vu 22  --------- 
จาก 2vu = vu2vu 22 
2
1 = vu2vu 22  ----------
 –  24 = vu4 
6 = vu
ดังนั้น vu = ABAD = 6 ตอบ
วิธีลัด ใช้สูตรลัด 2vu – 2vu = vu4 
22
15  = vu4 
 vu = 6 ตอบเลยอิอิ…
15. ตอบ 1
z9iz4 1

= 26
z9z
i4  = 26
a = max = 173
b = min = 15
a – b = 173 – 15 = 158
A B
CD
u
v
0z,
z
1z 1

z
zz9i4  = 26
z
zz9i4 
= 26
2z9i4  = z26
222
)z9(4  = z26
4z8116 = 2z72 ยกกาลัง 2 สองข้าง
16z72z81 24  = 0
22 )4z9(  = 0
4z9 2  = 0
2z =
9
4
z = 3
2 ตอบครับ
16. ตอบ 4
ข้อความ ก. ถูก ให้ z = a + bi  2z = 22
ba 
z = a – bi  2z = 22
ba 
zz = 2a  2zz = 2
a4
zz = 2bi  2zz = 2
b4
ดังนั้น 22 zzzz  = 22
b4a4 
= )ba(2)ba(2 2222

= 22 z2z2 
วิธีลัด อาจแทนค่า z ง่าย ๆ เช่น 3 + 4i ดูว่าใช้ได้จริงหรือไม่ (ทาเองนะ)
ข้อความ ข. ผิด z = 2
i
2
3  50
z = 6
2sini6
2cos 
z =
66



sinico s = 3sini3cos 
50
z = 650sini650cos  = i3
3
2
1 
หมายเหตุ - เรื่องสมบัติ z
- เรื่องทฤษฎีเดอมัวร์ ออก EN ประจา (ไม่ควรพลาดเช่นกัน)
17. ตอบ 4
3333
4
n n...321
1nlim



=
  2
4
n
2
1nn
1nlim





 


.....ตรงนี้คือEN39
=
.........n4
1
.........nlim 4
4
n


ลัด กาลัง เท่า  ตอบผลหาร ส.ป.ส. =
4
1
1 = 4
วิธีจริง nb = x31x3x1x4 22

zzz 
22
)พส่วนจินตภา()ส่วนจริง(z 
= )x1x3x()x21x4( 22

=















x1x3x
x1x3x)x1x3x(
x21x4
x21x4)x21x4(
2
2
2
2
2
2
=
x1x3x
x1x3x
x21x4
x41x4
2
22
2
22




n
n
blim

=
xxx
x
lim
xx
lim



 
13
13
214
1
22
= 2
30 
วิธีลัด nb x31x3x1x4lim 22
n


= 2
3 ทันที (ใช้สูตร GNM.)
โจทย์หา )ba(lim nn
n


= 2
34
= 2
11 = 5.5
หมายเหตุ ข้อ 17 นี้ ผู้ออกเลียนแบบมาจาก EN 47 มี.ค. ที่ออก Concept นี้
18. ตอบ 3
)x(flim
3x 

)ax(flim
3x 

f(3)








 3x3
9x3lim
3x
แทนได้ 0
0  DIFF
3 x = 3
x32
3 6
= )a6ax(lim 2
3x


= 9a – 6a
= 3a
= 69)3(a 2

= 9a – 6a
= 3a
ฟังก์ชันต่อเนื่อง “3 กรอบ ตอบต้องเท่ากัน”
f(x) 6 = 3a = 3a
a = 2
แทนค่า f(x) = 12x2 2
 ,x  3
f(x) = 4x ,x  3
f(a) = f(2) = 8 ตอบ
19. ตอบ 2
เส้นตรง x + 4y = 10 มีความชัน = 4
1  เส้นที่ตั้งฉากความชัน = 4
เส้นโค้ง y = 23
xx2 
y = x2x6 2

หาm ณ จุดใดๆ = x2x6 2

เส้นสัมผัสความชัน = 4
x2x6 2
 = 4
xx3 2
 = 2
(3x + 2)(x – 1) = 0
x = 1, 3
2
ดังนั้น จุดสัมผัสในควอดรันต์ที่ 1 คือ (1, 1)
สมการเส้นสัมผัส  มีความชัน 4
ได้  : 4x – y + c = 0
ผ่าน (1, 1)  c = –3
สมการ 4x – y – 3 = 0
ระยะตัดแกน y (x = 0)
–y – 3 = 0
Y = –3 ตอบ
20. ตอบ 1
หมายเหตุ ข้อสอบ Calculus ปัจจุบันจะนิยมออกผสมกับฟังก์ชัน fg,gf  ประจาเลยนะ
แนวคิด จาก f(x) = 1x3 
)x(gf = 1x2

จะได้ g(x) = 3
1)1x( 22
 = 3
1)1x(3
1 22

f(x) + g(x) = )x2)(1x(3
2
1x32
3 2


f(1) + g(1)= 3
8
4
3  = 12
41
21. ตอบ 2
แนวคิด
รูปแบบการ Integrate พื้นที่ออกทุกปีนะครับ
y = 10ax4xa 22

พื้นที่ A =  1
0
22
dx)10ax4xa(
= 1
0
232
)x10ax23
xa( 
= 10a23
a2

 สมการ A = 10a23
a2

หาค่าน้อยสุด
A = 23
a2  = 0
2a = –6
a = –3
 พื้นที่น้อยสุด คิดจาก a = –3
ซึ่งคือ A = 10)3(23
)3( 2
 = 7 ตอบ
22. ตอบ 3 (ห้ามตอบข้อ 4 นะ)
เรื่องนี้ถึงยังไม่ได้เรียน แต่น้องก็อย่าลืมอ่านไปนะ (เพราะเรื่องนี้ชอบไปเป็นขาแจมกับเรื่องอื่น)
และโจทย์ หยิบของเนี่ย ออกทุกปีเลย!
แนวคิด P (ได้สีเดียวกัน) = P(ได้สีขาว 2) + P(ได้สีแดง 2) + P(ได้สีน้าเงิน 2)
=






































2
12
2
5
2
12
2
4
2
12
2
3
= 66
10
66
6
66
3 
= 66
19
23. ตอบ 4
แนวคิด เลือกเลข 4 ตัวจาก 8 ตัว ทาได้ 





4
8
= 70 วิธี
เหตุการณ์ที่ผลคูณของเลข 4 ตัว คูณกันน้อยกว่า 0
และเป็นจานวนคี่ คือ หยิบได้เลขคี่ทั้งหมด 4 ตัว ซึ่งมี 1 วิธี
 ความน่าจะเป็น = 70
1 (ง่ายเนอะ)
24. ตอบ 3
แนวคิด หลายคนชอบทิ้งความน่าจะเป็น ทั้ง ๆ ที่ข้อนี้ คือเรื่องเซตแท้ ๆ
ให้ A = เหตุการณ์ที่หลอดไฟฟ้าห้องน้าเสีย
B = เหตุการณ์ที่หลอดไฟฟ้าในครัวเสีย
จาก P(AB) = P(A) + P(B) – P(AB)
P(AB) = 0.1 + 0.2 – 0.25 = 0.05
25. ตอบ 2
ปรับตารางให้คุ้นเคยก่อนนะ
ช่วง f ความถี่สะสม
46 – 55
56 – 65
66 – 75
76 – 85
86 – 95
96 – 105
4
x
y
10
7
3
4
4 + x
4 + x + y
14 + x + y
21 + x + y
24 + x + y
24 + x + y
Note ข้อนี้น้อง ๆ ควรรู้ว่า ถ้าตาแหน่ง Q,D,P ที่จะหาพอดีตาแหน่งสุดท้ายของชั้นแล้ว
(วิธีลัด) ค่า Q, D, P ของตาแหน่งชั้น = ขอบบน ได้เลย
1Q ตรงกับตาแหน่งที่ )(
4
1
N
= )yx24(4
1 
Med ตรงกับตาแหน่งที่ )(
2
1
N
= )yx24(2
1 
1Q = 65.5 บังเอิ้น บังเอิญ ตรงกับขอบบนของชั้น 56 – 65
 ความถี่สะสม 4 + x = )yx24(4
1  …………..(ลัดเลย)
16 + 4x= 24 + x + y
3x – y= 8 ……………
Med = 75.5 บังเอิญตรงขอบบนชั้น 66 – 75 (เหมือนเดิมเลย)
 ความถี่สะสม 4 + x + y = )yx24(2
1 
8 + 2x + 2y = 24 + x + y
x + y = 16 ……………
แก้  และ  ได้ x = 6, y = 10  N = 40 จานวน
ต่อไปหา 3Q ซึ่งตรงกับตาแหน่ง 30)40(4
3)N(4
3 
ซึ่งอยู่ในชั้นที่ 4 (ตาแหน่งสุดท้ายของชั้นอีกแล้ว)
 3Q ตรงขอบบน คือ 3Q = 85.5
โจทย์ถาม ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์
 Q.D. = 2
QQ 13 
= 2
5.655.35 
= 10 ตอบ
26. ตอบ 2
แนวคิด สัมประสิทธิ์ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย = x
D.M
แทนค่า 1.2 = x
4.14
x = 12
ต่อไปหา S.D. = 2
2
)(x
N
x


= 2
)12(10
1530 
= 3
 สัมประสิทธิ์การแปรผัน = x
.D.S
= 12
3 = 4
1 = 0.25
27. ตอบ 1
ลัด จาก z ต่างกัน 1.96 – (–0.44) = 2.5
0.17 0.475
0.33
SD=10
z = 1.96
5.47P
z = 1.44
33P
ซึ่งก็คือคะแนนต่างกัน 2.5 (SD)
= 2.5 (10)
= 25 คะแนน
คะแนนต่างกัน = พิสัย = 25
สูตร 1. Z = .D.S
xx ออกทุกปี
2. พิสัย = minmax xx 
28. ตอบ 1
4647 I,I = ดัชนีราคาอย่างง่ายแบบใช้ค่าเฉลี่ยราคาสัมพัทธ์ปี 47 และ 46 โดยเทียบกับปี 45 (ปีฐาน)
47I = 3
100P
P
45
47 




=
     
3
1001250
11251001500
18751002000
2360 
= 111
47I =
3
100
1250
1250
100
1500
1800
100
2000



















a
= 3
220a05.0 
โจทย์บอกว่า 4647 II  = 1
 111 – )3
200a05.0(  = 1
333 – (0.05a + 200 ) = 3
แก้หา a = 05.0
110 = 2,200 ตอบ
ตอนที่ 2 ข้อ 1 – 8 เป็นข้อสอบแบบอัตนัย ข้อละ 2 คะแนน
1. ตอบ 15
ข้อนี้ถือว่าง่ายมาก ๆ หวังว่า น้อง ๆ คงจะทากันได้นะครับ
มาดูเซต A กัน 16x6x2
  0 เซต B  2 – x  < 5
(x – 8) (x + 2)  0  x – 2  < 5
–5 < x – 2 < 5
–2 8 –3 < x < 7
ดังนั้นเซต A = [-2, 8] ดังนั้นเซต B = (-3, 7)
+ – +
a – b = b – a
นะจ๊ะ

– 3
– 2 8 A
B
A – B
87
7
A – B = [7, 8] = [a, b]
ดังนั้น a + b = 7 + 8 = 15
2. ตอบ 0.5
 5ecarccos5secarc2
1arcsinsin 
=  22
1arcsinsin  อยู่ 2Q
=  2
1arcsinsin
= 2
1 = 0.5
 หมายเหตุ ปัจจุบันเรื่อง arc เนี่ย ออก En เป็นประจา
ดังนั้นน้อง ๆ ควรเตรียมตัวอ่านไว้เยอะ ๆ นะครับ
วิธีลัด น้อง ๆ ควรมีความรู้ว่า
arcsin x + arccos x
arcsec x + arccosec x = 2

arctan x + arccot x
ดังนั้น arcsec 5 + arccosec 5 = 2
 ทันที ก็จะเร็วขึ้น
3. ตอบ 2
ข้อนี้ง่ายอีกแล้ว (แรก part 2 คะแนน ไม่อยากใจร้ายอ่ะ)
วิธีจริง 199y64x18y16x9 22
 = 0 วิธีลัด 0FEyCxByAx 22

)4y4y(16)1x2x(9 22
 = 199 + 9 – 64 จุดศูนย์กลางคือ  B2
E,A2
C 
22
2)16(y1)9( x = 144 ดังนั้น 199y64x18y16x9 22
 = 0
9
)2y(
16
)1x( 22 
 = 1 จุดศูนย์กลางคือ  )16(2
64,)9(2
)18(

 = (1, 2)
เป็นไฮเปอร์โบลามีจุดศูนย์กลางที่ (1, 2) และ  นาไปหา d = 2 เช่นกัน
ระยะทางสั้นที่สุด (ตั้งฉาก) จากจุด (1, 2) ไปเส้นตรง
3x + 4y – 21 = 0
คือ
169
21)2(4)1(3
d


 = 2
4. ตอบ 18
ให้ xlog2 = A จะได้ว่า 2logx = A
1
จากโจทย์ 2log2xlog x2   3
A
2A  3
3A
2A   0
A32A2
  0 เนื่องจาก A  0
2A3A2
  0
(A – 2) (A – 1)  0
ให้ A = arcsec 5 นามาวาดเป็น
สามเหลี่ยม
1
สังเกตได้ว่า B = arccosec 5
 A + B = 90
นั่นคือ arcsec 5 + arccosec 5 = 2

A
B
5
24
1  A < 2
1  xlog2  2 , x  0
1  xlog2  4
41
2x2 
2  x  16
เซตคาตอบ (2, 16)
a, b คือค่าขอบเขตบนน้อยที่สุด และขอบเขตล่างมากที่สุด  a + b = 16 + 2 = 18
Note ข้อสอบ En ระบบใหม่ นิยมออก อสมการ log เป็นอัตนัย 2 คะแนนบ่อย ๆ
พี่จึงนามาเก็งไว้ 1 ข้อ นะครับ
5. ตอบ 5
จาก (2A –B )  (A + 2B ) = 5
2A A + 4A B – 2B A – 2B B = 5
2A 2
+ 3A B – 2B 2
= 5
แทนค่า 2
)5(2 + 3A B – 2
)10(2 = 5
A B = 5
จากสูตร A +B 2
= A 2
+ B 2
+ 2A B u
A +B 2
= 5 + 2(5) + 10
A +B  = 5
6. ตอบ 8
A =












110
114
111
จะได้ เมตริกซ์ของไมเนอร์ คือ Mij =













532
112
440
…..จากการปิดแถว_ปิดหลัก
จะได้ เมตริกซ์ของโคแฟคเตอร์คือ Cij =












532
112
440
……..จากการ(-1)I+j
Mij
จะได้ เมตริกซ์ผูกพันธ์ Adj(A) =












514
314
220
……..จากการ Transpose Cij
det (AdjA) = =
514
314
220


14
14
20

 =
-8+ 0 -40
0+ 24 -8
คูณลง-คูณขึ้น =16 - -48 = 64
det (
2
adjA
) = )det(
2
1
3
adjA





= 8)64(
8
1

7. ตอบ 1.33
parabola which Directrix y = 4
5
Vertex (0, 1)
 para eQuation is 2
)0x(  =   )14(4
14 
2
x = – y + 1
Y = 2
x1
Find the area covered by parabola & x – axis
A = 


1
1
2
dx)x1(
= 1x
1x
)3
xx(
3



= )3
11()3
11( 
= 3
4 = 1.33 Ans (แปลออกป่ะ?)
8. ตอบ 9.8 (หน่วยพันล้าน)
ข้อนี้จัดว่าง่ายมากอีกข้อ เพราะคิดตรง ๆ เลย (เพียงแต่น้อง ๆ หลายคนไม่ได้อ่านมาเพราะเป็นสถิติ ม.6)
พ.ศ. x (ทอนค่า) มูลค่า (y) xy 2
x
2542
2543
2544
2545
2546
–2
–1
0
1
2
1
3
4
5
9
–2
–3
0
5
18
4
1
0
1
4
 0x  22y  18xy  10x2
สมการหลัก y = mx + C (เส้นตรง)
หา m , C จาก  y = nCxm   22 = m(0) + 5C
 xy =   xCxm 2  18 = m(10) + C(0)
 C = 5
22 = 4.4 และ m = 10
18 = 1.8
สมการความสัมพันธ์ y = 1.8x + 4.4
ปี 2547 (x = 3) y = 1.8(3) + 4.4 = 9.8 (หน่วยพันล้าน)
วิธีลัด det (AdjA)= (detA)มิติ-1
= (8) 3 – 1
.....ลองหา detA เอง
= 64
det (
2
adjA
) = )det(
2
1
3
adjA





= 8)64(
8
1
 เท่ากัน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบMike Polsit
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชันsawed kodnara
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558Tonson Lalitkanjanakul
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคNinnin Ja
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานแบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานNittaya Noinan
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netพัน พัน
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 

La actualidad más candente (20)

ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานแบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 

Similar a เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1

เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2Destiny Nooppynuchy
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
9545068 a 1e20-4080-859c-80740568bb73
9545068 a 1e20-4080-859c-80740568bb739545068 a 1e20-4080-859c-80740568bb73
9545068 a 1e20-4080-859c-80740568bb73peter dontoom
 
เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50Chawasanan Yisu
 
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10Kuntoonbut Wissanu
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสkrurutsamee
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2556
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2556เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2556
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2556Tonson Lalitkanjanakul
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557Tonson Lalitkanjanakul
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์wisita42
 
Tedet 2559 grade9_math
Tedet 2559 grade9_mathTedet 2559 grade9_math
Tedet 2559 grade9_mathPintohedfang
 

Similar a เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1 (20)

เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
9545068 a 1e20-4080-859c-80740568bb73
9545068 a 1e20-4080-859c-80740568bb739545068 a 1e20-4080-859c-80740568bb73
9545068 a 1e20-4080-859c-80740568bb73
 
เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
 
01
0101
01
 
Satit tue134008
Satit tue134008Satit tue134008
Satit tue134008
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2556
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2556เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2556
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2556
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2
 
Pre 7-วิชา 2
Pre  7-วิชา 2Pre  7-วิชา 2
Pre 7-วิชา 2
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
Tedet 2559 grade9_math
Tedet 2559 grade9_mathTedet 2559 grade9_math
Tedet 2559 grade9_math
 
Cal 1
Cal 1Cal 1
Cal 1
 
P2a
P2aP2a
P2a
 

Más de Unity' Aing

โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerUnity' Aing
 
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา นันตาดี ม6/9 เลขที่17
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา  นันตาดี  ม6/9 เลขที่17ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา  นันตาดี  ม6/9 เลขที่17
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา นันตาดี ม6/9 เลขที่17Unity' Aing
 
สัสังคม Ent 48
สัสังคม Ent 48สัสังคม Ent 48
สัสังคม Ent 48Unity' Aing
 
ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48Unity' Aing
 
ชีวะ Ent48
ชีวะ Ent48ชีวะ Ent48
ชีวะ Ent48Unity' Aing
 
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fเฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fUnity' Aing
 
เฉลย สังคม Ent 48
เฉลย สังคม Ent 48เฉลย สังคม Ent 48
เฉลย สังคม Ent 48Unity' Aing
 
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48Unity' Aing
 
เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48Unity' Aing
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48Unity' Aing
 
เคมี Ent48
เคมี Ent48เคมี Ent48
เคมี Ent48Unity' Aing
 
ภาษาไทย Ent 48
ภาษาไทย Ent 48ภาษาไทย Ent 48
ภาษาไทย Ent 48Unity' Aing
 

Más de Unity' Aing (18)

โครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart rullerโครงงาน Smart ruller
โครงงาน Smart ruller
 
Onet53
Onet53Onet53
Onet53
 
Onet52
Onet52Onet52
Onet52
 
Onet51
Onet51Onet51
Onet51
 
Onet50
Onet50Onet50
Onet50
 
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา นันตาดี ม6/9 เลขที่17
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา  นันตาดี  ม6/9 เลขที่17ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา  นันตาดี  ม6/9 เลขที่17
ใบงานที่ 2-16 _น.ส.อังคณา นันตาดี ม6/9 เลขที่17
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
สัสังคม Ent 48
สัสังคม Ent 48สัสังคม Ent 48
สัสังคม Ent 48
 
ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48
 
ชีวะ Ent48
ชีวะ Ent48ชีวะ Ent48
ชีวะ Ent48
 
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48fเฉลยภาษาไทย Ent 48f
เฉลยภาษาไทย Ent 48f
 
เฉลย สังคม Ent 48
เฉลย สังคม Ent 48เฉลย สังคม Ent 48
เฉลย สังคม Ent 48
 
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
เฉลย ฟิสิกส์ Ent 48
 
เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48
 
เคมี Ent48
เคมี Ent48เคมี Ent48
เคมี Ent48
 
002 eng
002 eng002 eng
002 eng
 
ภาษาไทย Ent 48
ภาษาไทย Ent 48ภาษาไทย Ent 48
ภาษาไทย Ent 48
 

เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1

  • 1. เฉลย ENT 48 คณิตศาสตร์ ตอนที่ 1 1. ตอบ 4 แนวคิด = AB(BC) = AB = A – B สรุปว่าโจทย์ให้ n[(AB)(BC)] = 4 ซึ่งคือ n(A – B) = 4 และ n(B) = 5 n(AB) = 2 จากสูตร n(A – B) = n(A) – n(AB) n(A) = n(A – B) + n(AB) = 4 + 2 = 6 n(P(A)) – n(P(B)) = )B(n)A(n 22  = 56 22  = 32 ตอบ 2. ตอบ 3 ขอบอก เรื่องทฤษฎีบทเศษเหลือ ปัจจุบันออกสอบทุกปี (ปีละ 1 ข้อ) อย่าลืมอ่านไปนะครับ! แนวคิด x – p หาร P(x) = 3x7x2  เศษคือ 3p7p2  x + q หาร P(x) = 3x7x2  เศษคือ 3)q(7)q( 2  โจทย์บอกว่า เศษเท่ากัน 3q7p2  = 3q7q2  q7p7)qp( 22  = 0 สูตรที่ใช้ x – c หาร p(x) จะเหลือเศษ p(c) )qp(7)qp)(qp(  = 0 ]7qp)[qp(  = 0 แต่โจทย์ว่า p  -q  p – q + 7 = 0 p – q = –7 ตอบ 3. ตอบ 2 ข้อนี้จัดว่ายากสาหรับคนที่ไม่เคยเจอโจทย์แบบนี้มาก่อน แต่ถ้าน้อง ๆ สังเกตข้อสอบ Ent ในช่วงหลัง ๆ จะออกลักษณะแบบนี้มาหลายครั้งแล้ว จึงควรทาความคุ้นเคยเอาไว้ครับ แนวคิด หรม. ของ x กับ 100 = 1 และ 100 = 52 22  สรุปว่า x คือจานวนที่ 2 หารไม่ลงตัว และ 5 หารไม่ลงตัว ใช้แผนภาพช่วย บริเวณแรเงา = AB = U – (AB) จากกฎ   (   ? ) =  ดังนั้น B(BC) = B และอย่าลืมว่า A  B = A – B สูตรที่ใช้ (1)   (  ? ) =  (2)n(A – B) = n(A) – n(AB) (3)n[P(A)] = )A(n 2 หาร 5 ลง หาร 2 ลง A B
  • 2. A = xU2 หาร x ลงตัว = 2, 4, 6, …, 100 ผลบวกสมาชิกเซต A = 2 + 4 + 6 + … + 100 = 2 50 [2 + 100] = 2550 B = xU5 หาร x ลงตัว = 5, 10, 15, …, 100 ผลบวกสมาชิกเซต B = 5 + 10 + 15 + … + 100 = 2 20 [5 + 100] = 1050 AB = xU2 และ 5 หาร x ลงตัว = xU10 หาร x ลงตัว = 10, 20, 30, …, 100 ผลบวกสมาชิกเซต AB U = 1, 2, 3, …, 100 = 2 10 [1 + 100] = 550 ผลบวกใน U = 1 + 2 + … + 100 n(U) = 2 100 [1 + 100] = 550 n(AB) = n(U) – n(AB) = n(U) – [n(A) + n(B) – n(AB)] ผลบวกก็เช่นกัน = 5050 – [2550 + 1050 – 550] = 2,000 ตอบ สูตรที่ใช้ (1) เรื่องเซต n(AB) = n(A) + n(B) – n(AB) (2) ผลบวก nS = 2 n [ naa 1 ] 4. ตอบ 1 ข้อนี้คล้ายกับข้อสอบ En มีนา 47 ที่พึ่งผ่านมา แบบการหาค่าความจริงแนวใหม่ (p  q)  (p  q) F T F (ทาต่อไม่ได้ล่ะสิ) เนื่องจาก p  q เป็นเท็จ สรุปได้ว่า p, q มีค่าความจริงตรงข้ามกันซึ่งอาจเป็น qจริ งpเท็ จ)2( qเท็ จpจริ ง)1( แต่ p  q เป็นจริง (1) จึงเป็นไม่ได้ pเป็นเท็จ, q เป็นจริง เท่านั้น พิจารณาตัวเลือก 1] (F  T)  r  F  r  T ตอบเลยเหอะ 2] T  (Fr)  T  F  F 3] F~T  F 4] F~T  F 5. ตอบ 2 ข้อนี้เป็นโจทย์ย้อนกลับของเรื่องตัวบ่งปริมาณ ผลบวก สูตร อนุกรมเลขคณิต nS = 2 n [ n1 aa  ] หรือ nS = 2 จานวนพจน์ [พจน์แรก+ท้าย]
  • 3. 01 ส่งไปจับกับ {a, b} (ส่วนที่เหลือ 1 ตัว เลือกได้วิธีเดียว) เลือก ได้วิธีเดียว) เลือก 2 ตัว จาก 3 ตัว ที่เลือกไว้ใน * เพื่อจะไปจับกับ {a, b} * เลือก 3 ตัวจาก {1,2,3,4,5}  !2 2 3 3 4              !2 2 3 3 4             การที่ ]03x2x[x 2  จะเป็นจริง x ทุกตัวใน U จะต้องแทนแล้วจริง นั่นก็คือ U  เซตคาตอบอสมการ 03x2x2  0)1x)(3x(  เซตคาตอบอสมการ U ในตัวเลือก 2 เป็นสับเซตของเซตคาตอบ 6. ตอบ 3 f(x) = x + 1 )x(fg = 1x จะหา )x(gf ได้ = )x(f แสดงว่า g(x) = x = 1x  หา fgR  จาก )x(fg = 1x  y = 1x  จะได้ว่า y  0 fgR  = yy  0 หา gfR  จาก )x(gf = 1x  y = 1x  เนื่องจาก x  0 1x   1 y  1 fgR  gfR  fgR  – gfR  คือ [0, 1) ตอบ วิธีลัด fgR  – gfR  แสดงว่า ค่าที่ใช้ได้ต้องอยู่ใน fgR  แต่ไม่อยู่ใน gfR  ดูช้อย fg : y = 1x  สังเกตว่า y = 1 ใช้ได้ (x=0ไง)  ข้อที่ถูกต้องมี y = 1 (ตัดตัวเลือก 2, 4) และสังเกตว่า y = -1 ก็เป็นไปไม่ได้ ดังนั้น ตัดข้อ 1 ตอบข้อ3 ไปเลย จิ 7. ตอบ 4 การหา จานวนสมาชิกเซต A ก็คืจานวน f ที่ fR = {a, b} นั่นเอง มีสมาชิก 3 ตัว สร้างได้ เมื่อคานวณแล้วจะได้ = 4(3)(2) = 24 วิธี ตอบ -3 0 -2 -1 -1 0 1
  • 4. 8. ตอบ 2 แนวคิด )x(g 1 = 1x f(2x – 1) = 4x – a จะได้ g(x) = 1x2  f(x) =  2 1x4  – a ........(ระบบ ) = 2x + 2 – a )a(gf = f(g(a)) = 20a2  (โจทย์บอกมา) )1a(f 2  = 20a2  a2)1a(2 2  = 20a2  a22a2 2  = 20a2  20aa2  = 0 (a – 5) (a – 4)= 0 a= 5, – 4 แต่โจทย์ว่า a > 0  a = 5 f(x) = 2x + 2 – a f(x) = 2x – 3 f(a) = 2a – 3 = 2(5) – 3 = 7 ตอบ ความรู้ที่ต้องมี 1. หา f(x) จาก f (ไม่ใช่ x ) 2. )x(gf = f(g(x)) 3. การหา Inverse ของ f(x) 9. ตอบ 4 (ข้อนี้เป็นข้อสอบ En 43 มี.ค. ซึ่งคล้าย ๆ En 47 มี.ค. เลยเอามาให้ดู) วิธีจริงวาดรูป จาก Law of sine  75sin 20 =  60sin AB AB =   75sin 60sin20 AB = 22 13 2 320       AB =      13 22310 จากสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC จะได้ sin 45 = AB h หรือ h = AB sin 45 ….(แตก AB sin แบบ physics ) พ.ท.สามเหลี่ยม ABC= 2 1  ฐาน  สูง = )h)(AC(2 1 = 2 1 13 320)20(2 1  A D C B 75 60  45 มุม 15 , 75 ควรจาได้เพราะออกสอบบ่อย 13  13  15  75  22
  • 5. = 13 3200  ตอบ วิธีลัด 20 = h[cot 45 + cot 60 ] พท. =            3 11 20)20)(20(2 1 = 13 3200  ตอบ 10. ตอบ 2 ให้เส้นตรง 1L ผ่านจุด (– 4, 1) และ (0, 3 8 ) เส้นตรง 2L มีสมการเป็น 5x – 12y – 20 = 0 ถ้าเส้นตรง 1L และ 2L สัมผัสวงกลม C ข้อใดเป็นสมการวงกลม C 1L ผ่านจุด (– 4, 1) และ (0, 3 8 ) ความชัน 1L = )4(0 13 8   = 12 5 สมการ 1L คือ 5x – 12y + k = 0 ผ่านจุด (– 4, 1) : 5(-4) – 12(1) + k = 0  k = 32 สมการ 1L : 5x – 12y + 32 = 0 2L : 5x – 15y – 20 = 0 จะเห็นได้ว่า 1L ขนานกับ 2L ดูจากช้อย 1, 3, 4 จะมี (h, k) วงกลม = (–6, 3) …. แต่ข้อ 2 (h, k) = (6, 3) ลอง (h, k) = (–6, 3) ระยะ (h, k) ถึง 1L = ระยะ (h, k) ถึง 2L 22 125 32)3(12)6(5   = 22 125 20)3(12)6(5   ซึ่งไม่จริง จึงตอบ 2 เลย 11. ตอบ 1 เซต A 1xx 66   = 2x1xx 222   )61(6x  = )221(2 2x  76x  = 72x  x 6 = x 2  x = 0 A = { 0 } (จริง ๆ น่าจะตอบข้อ 1 เลย เพราะ 0 คูณอะไรก็ได้ 0) เซต B ควรรู้ สูตรลัด dxlogloglog abc  60 45 20 h A B h x สูตร Genius x = h[cotA + cotB] (h,k) 1L 2L
  • 6. dc b ax  ดังนั้น )1x2(logloglog 327  = 0 2x – 1 = 07 2 3 = 2 3 2x – 1 = 9 x = 5  B = { 5 } ผลคูณ สมาชิกเซต A กับ B = 0  5 = 0 ตอบ 15x12x4x4 2  = 0 15x12x4x4 2  = 0 12. ตอบ 3 ไม่อยากบอกเลยว่า เรื่อง cofactor ของเมตริกซ์ นี้ออกสอบทุกปี ข้อนี้จึงไม่ควรพลาดนะ แนวคิด จาก A =            0 7 6 2 0 4 1 2 5 )A(C13 = 21 02 )1( 31    )A(C13 = 21 45 )1( 32  = (1) [– 4 – 0] = – 4 = (–1) [10 – 4] = –6 จึงได้ว่า B =           xx6 2 5x24 2 ซึ่ง det B = 0 (เพราะโจทย์บอกว่า B เป็นเมตริกซ์เอกฐาน) คูณลง – คูณขึ้น = 0 )2 5x2)(6()xx(4 2  = 0 15x12x4x4 2  = 0 154 2  x16x = 0 ผลบวกคาตอบ = 4 )16( = 4 13. ตอบ 1 (เรื่องนี้ออก En ปีละ 1 ข้อ มาตลอดนะครับ) วาดรูป จุดมุมมี 4 จุด จุด A เป็นจุดตัด 2x + 3y = 100 -----  y – x = 5 -----  ซึ่งแก้สมการได้ x = 21 , y = 26  A (21, 26) A D B C y = 2 (60,0)(10,0) (0,10) (0,40) x+y = 10 2x+3y = 120 x–y = 5
  • 7. จุด B เป็นจุดตัด x + y = 10 ………. จุด C x + y = 10 แต่ y = 2 y – x = 5 ……….  C(8, 2) ซึ่ง B = )2 15,2 5( ฝากคิดเองนิดนึงนะ จุด D 2x + 3y = 120 แต่ y = 2  D = (57, 2) นา 4 จุดมุม แทนลง P P = 3x + y (21, 26) P = 89 )2 15,2 5( P = 15  min (8, 2) P = 26 (57, 2) P = 173  max 14. ตอบ 3 เรื่องขนาด vector ออกสอบทุกปีเช่นกัน (อย่าพลาดนะ) ถ้ากาหนด AB = v AB = u จะได้ AC = vu ซึ่ง vu  = 5 BD = vu ซึ่ง vu  = 1 จาก 2vu = vu2vu 22  แทนสิ่งที่รู้ลงไป 2 5 = vu2vu 22  ---------  จาก 2vu = vu2vu 22  2 1 = vu2vu 22  ----------  –  24 = vu4  6 = vu ดังนั้น vu = ABAD = 6 ตอบ วิธีลัด ใช้สูตรลัด 2vu – 2vu = vu4  22 15  = vu4   vu = 6 ตอบเลยอิอิ… 15. ตอบ 1 z9iz4 1  = 26 z9z i4  = 26 a = max = 173 b = min = 15 a – b = 173 – 15 = 158 A B CD u v 0z, z 1z 1 
  • 8. z zz9i4  = 26 z zz9i4  = 26 2z9i4  = z26 222 )z9(4  = z26 4z8116 = 2z72 ยกกาลัง 2 สองข้าง 16z72z81 24  = 0 22 )4z9(  = 0 4z9 2  = 0 2z = 9 4 z = 3 2 ตอบครับ 16. ตอบ 4 ข้อความ ก. ถูก ให้ z = a + bi  2z = 22 ba  z = a – bi  2z = 22 ba  zz = 2a  2zz = 2 a4 zz = 2bi  2zz = 2 b4 ดังนั้น 22 zzzz  = 22 b4a4  = )ba(2)ba(2 2222  = 22 z2z2  วิธีลัด อาจแทนค่า z ง่าย ๆ เช่น 3 + 4i ดูว่าใช้ได้จริงหรือไม่ (ทาเองนะ) ข้อความ ข. ผิด z = 2 i 2 3  50 z = 6 2sini6 2cos  z = 66    sinico s = 3sini3cos  50 z = 650sini650cos  = i3 3 2 1  หมายเหตุ - เรื่องสมบัติ z - เรื่องทฤษฎีเดอมัวร์ ออก EN ประจา (ไม่ควรพลาดเช่นกัน) 17. ตอบ 4 3333 4 n n...321 1nlim    =   2 4 n 2 1nn 1nlim          .....ตรงนี้คือEN39 = .........n4 1 .........nlim 4 4 n   ลัด กาลัง เท่า  ตอบผลหาร ส.ป.ส. = 4 1 1 = 4 วิธีจริง nb = x31x3x1x4 22  zzz  22 )พส่วนจินตภา()ส่วนจริง(z 
  • 9. = )x1x3x()x21x4( 22  =                x1x3x x1x3x)x1x3x( x21x4 x21x4)x21x4( 2 2 2 2 2 2 = x1x3x x1x3x x21x4 x41x4 2 22 2 22     n n blim  = xxx x lim xx lim      13 13 214 1 22 = 2 30  วิธีลัด nb x31x3x1x4lim 22 n   = 2 3 ทันที (ใช้สูตร GNM.) โจทย์หา )ba(lim nn n   = 2 34 = 2 11 = 5.5 หมายเหตุ ข้อ 17 นี้ ผู้ออกเลียนแบบมาจาก EN 47 มี.ค. ที่ออก Concept นี้ 18. ตอบ 3 )x(flim 3x   )ax(flim 3x   f(3)          3x3 9x3lim 3x แทนได้ 0 0  DIFF 3 x = 3 x32 3 6 = )a6ax(lim 2 3x   = 9a – 6a = 3a = 69)3(a 2  = 9a – 6a = 3a ฟังก์ชันต่อเนื่อง “3 กรอบ ตอบต้องเท่ากัน” f(x) 6 = 3a = 3a a = 2 แทนค่า f(x) = 12x2 2  ,x  3 f(x) = 4x ,x  3 f(a) = f(2) = 8 ตอบ 19. ตอบ 2 เส้นตรง x + 4y = 10 มีความชัน = 4 1  เส้นที่ตั้งฉากความชัน = 4 เส้นโค้ง y = 23 xx2 
  • 10. y = x2x6 2  หาm ณ จุดใดๆ = x2x6 2  เส้นสัมผัสความชัน = 4 x2x6 2  = 4 xx3 2  = 2 (3x + 2)(x – 1) = 0 x = 1, 3 2 ดังนั้น จุดสัมผัสในควอดรันต์ที่ 1 คือ (1, 1) สมการเส้นสัมผัส  มีความชัน 4 ได้  : 4x – y + c = 0 ผ่าน (1, 1)  c = –3 สมการ 4x – y – 3 = 0 ระยะตัดแกน y (x = 0) –y – 3 = 0 Y = –3 ตอบ 20. ตอบ 1 หมายเหตุ ข้อสอบ Calculus ปัจจุบันจะนิยมออกผสมกับฟังก์ชัน fg,gf  ประจาเลยนะ แนวคิด จาก f(x) = 1x3  )x(gf = 1x2  จะได้ g(x) = 3 1)1x( 22  = 3 1)1x(3 1 22  f(x) + g(x) = )x2)(1x(3 2 1x32 3 2   f(1) + g(1)= 3 8 4 3  = 12 41 21. ตอบ 2 แนวคิด รูปแบบการ Integrate พื้นที่ออกทุกปีนะครับ y = 10ax4xa 22  พื้นที่ A =  1 0 22 dx)10ax4xa( = 1 0 232 )x10ax23 xa(  = 10a23 a2   สมการ A = 10a23 a2  หาค่าน้อยสุด A = 23 a2  = 0 2a = –6 a = –3
  • 11.  พื้นที่น้อยสุด คิดจาก a = –3 ซึ่งคือ A = 10)3(23 )3( 2  = 7 ตอบ 22. ตอบ 3 (ห้ามตอบข้อ 4 นะ) เรื่องนี้ถึงยังไม่ได้เรียน แต่น้องก็อย่าลืมอ่านไปนะ (เพราะเรื่องนี้ชอบไปเป็นขาแจมกับเรื่องอื่น) และโจทย์ หยิบของเนี่ย ออกทุกปีเลย! แนวคิด P (ได้สีเดียวกัน) = P(ได้สีขาว 2) + P(ได้สีแดง 2) + P(ได้สีน้าเงิน 2) =                                       2 12 2 5 2 12 2 4 2 12 2 3 = 66 10 66 6 66 3  = 66 19 23. ตอบ 4 แนวคิด เลือกเลข 4 ตัวจาก 8 ตัว ทาได้       4 8 = 70 วิธี เหตุการณ์ที่ผลคูณของเลข 4 ตัว คูณกันน้อยกว่า 0 และเป็นจานวนคี่ คือ หยิบได้เลขคี่ทั้งหมด 4 ตัว ซึ่งมี 1 วิธี  ความน่าจะเป็น = 70 1 (ง่ายเนอะ) 24. ตอบ 3 แนวคิด หลายคนชอบทิ้งความน่าจะเป็น ทั้ง ๆ ที่ข้อนี้ คือเรื่องเซตแท้ ๆ ให้ A = เหตุการณ์ที่หลอดไฟฟ้าห้องน้าเสีย B = เหตุการณ์ที่หลอดไฟฟ้าในครัวเสีย จาก P(AB) = P(A) + P(B) – P(AB) P(AB) = 0.1 + 0.2 – 0.25 = 0.05 25. ตอบ 2 ปรับตารางให้คุ้นเคยก่อนนะ ช่วง f ความถี่สะสม 46 – 55 56 – 65 66 – 75 76 – 85 86 – 95 96 – 105 4 x y 10 7 3 4 4 + x 4 + x + y 14 + x + y 21 + x + y 24 + x + y 24 + x + y Note ข้อนี้น้อง ๆ ควรรู้ว่า ถ้าตาแหน่ง Q,D,P ที่จะหาพอดีตาแหน่งสุดท้ายของชั้นแล้ว (วิธีลัด) ค่า Q, D, P ของตาแหน่งชั้น = ขอบบน ได้เลย 1Q ตรงกับตาแหน่งที่ )( 4 1 N = )yx24(4 1  Med ตรงกับตาแหน่งที่ )( 2 1 N = )yx24(2 1 
  • 12. 1Q = 65.5 บังเอิ้น บังเอิญ ตรงกับขอบบนของชั้น 56 – 65  ความถี่สะสม 4 + x = )yx24(4 1  …………..(ลัดเลย) 16 + 4x= 24 + x + y 3x – y= 8 …………… Med = 75.5 บังเอิญตรงขอบบนชั้น 66 – 75 (เหมือนเดิมเลย)  ความถี่สะสม 4 + x + y = )yx24(2 1  8 + 2x + 2y = 24 + x + y x + y = 16 …………… แก้  และ  ได้ x = 6, y = 10  N = 40 จานวน ต่อไปหา 3Q ซึ่งตรงกับตาแหน่ง 30)40(4 3)N(4 3  ซึ่งอยู่ในชั้นที่ 4 (ตาแหน่งสุดท้ายของชั้นอีกแล้ว)  3Q ตรงขอบบน คือ 3Q = 85.5 โจทย์ถาม ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์  Q.D. = 2 QQ 13  = 2 5.655.35  = 10 ตอบ 26. ตอบ 2 แนวคิด สัมประสิทธิ์ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย = x D.M แทนค่า 1.2 = x 4.14 x = 12 ต่อไปหา S.D. = 2 2 )(x N x   = 2 )12(10 1530  = 3  สัมประสิทธิ์การแปรผัน = x .D.S = 12 3 = 4 1 = 0.25 27. ตอบ 1 ลัด จาก z ต่างกัน 1.96 – (–0.44) = 2.5 0.17 0.475 0.33 SD=10 z = 1.96 5.47P z = 1.44 33P
  • 13. ซึ่งก็คือคะแนนต่างกัน 2.5 (SD) = 2.5 (10) = 25 คะแนน คะแนนต่างกัน = พิสัย = 25 สูตร 1. Z = .D.S xx ออกทุกปี 2. พิสัย = minmax xx  28. ตอบ 1 4647 I,I = ดัชนีราคาอย่างง่ายแบบใช้ค่าเฉลี่ยราคาสัมพัทธ์ปี 47 และ 46 โดยเทียบกับปี 45 (ปีฐาน) 47I = 3 100P P 45 47      =       3 1001250 11251001500 18751002000 2360  = 111 47I = 3 100 1250 1250 100 1500 1800 100 2000                    a = 3 220a05.0  โจทย์บอกว่า 4647 II  = 1  111 – )3 200a05.0(  = 1 333 – (0.05a + 200 ) = 3 แก้หา a = 05.0 110 = 2,200 ตอบ ตอนที่ 2 ข้อ 1 – 8 เป็นข้อสอบแบบอัตนัย ข้อละ 2 คะแนน 1. ตอบ 15 ข้อนี้ถือว่าง่ายมาก ๆ หวังว่า น้อง ๆ คงจะทากันได้นะครับ มาดูเซต A กัน 16x6x2   0 เซต B  2 – x  < 5 (x – 8) (x + 2)  0  x – 2  < 5 –5 < x – 2 < 5 –2 8 –3 < x < 7 ดังนั้นเซต A = [-2, 8] ดังนั้นเซต B = (-3, 7) + – + a – b = b – a นะจ๊ะ  – 3 – 2 8 A B A – B 87 7
  • 14. A – B = [7, 8] = [a, b] ดังนั้น a + b = 7 + 8 = 15 2. ตอบ 0.5  5ecarccos5secarc2 1arcsinsin  =  22 1arcsinsin  อยู่ 2Q =  2 1arcsinsin = 2 1 = 0.5  หมายเหตุ ปัจจุบันเรื่อง arc เนี่ย ออก En เป็นประจา ดังนั้นน้อง ๆ ควรเตรียมตัวอ่านไว้เยอะ ๆ นะครับ วิธีลัด น้อง ๆ ควรมีความรู้ว่า arcsin x + arccos x arcsec x + arccosec x = 2  arctan x + arccot x ดังนั้น arcsec 5 + arccosec 5 = 2  ทันที ก็จะเร็วขึ้น 3. ตอบ 2 ข้อนี้ง่ายอีกแล้ว (แรก part 2 คะแนน ไม่อยากใจร้ายอ่ะ) วิธีจริง 199y64x18y16x9 22  = 0 วิธีลัด 0FEyCxByAx 22  )4y4y(16)1x2x(9 22  = 199 + 9 – 64 จุดศูนย์กลางคือ  B2 E,A2 C  22 2)16(y1)9( x = 144 ดังนั้น 199y64x18y16x9 22  = 0 9 )2y( 16 )1x( 22   = 1 จุดศูนย์กลางคือ  )16(2 64,)9(2 )18(   = (1, 2) เป็นไฮเปอร์โบลามีจุดศูนย์กลางที่ (1, 2) และ  นาไปหา d = 2 เช่นกัน ระยะทางสั้นที่สุด (ตั้งฉาก) จากจุด (1, 2) ไปเส้นตรง 3x + 4y – 21 = 0 คือ 169 21)2(4)1(3 d    = 2 4. ตอบ 18 ให้ xlog2 = A จะได้ว่า 2logx = A 1 จากโจทย์ 2log2xlog x2   3 A 2A  3 3A 2A   0 A32A2   0 เนื่องจาก A  0 2A3A2   0 (A – 2) (A – 1)  0 ให้ A = arcsec 5 นามาวาดเป็น สามเหลี่ยม 1 สังเกตได้ว่า B = arccosec 5  A + B = 90 นั่นคือ arcsec 5 + arccosec 5 = 2  A B 5 24
  • 15. 1  A < 2 1  xlog2  2 , x  0 1  xlog2  4 41 2x2  2  x  16 เซตคาตอบ (2, 16) a, b คือค่าขอบเขตบนน้อยที่สุด และขอบเขตล่างมากที่สุด  a + b = 16 + 2 = 18 Note ข้อสอบ En ระบบใหม่ นิยมออก อสมการ log เป็นอัตนัย 2 คะแนนบ่อย ๆ พี่จึงนามาเก็งไว้ 1 ข้อ นะครับ 5. ตอบ 5 จาก (2A –B )  (A + 2B ) = 5 2A A + 4A B – 2B A – 2B B = 5 2A 2 + 3A B – 2B 2 = 5 แทนค่า 2 )5(2 + 3A B – 2 )10(2 = 5 A B = 5 จากสูตร A +B 2 = A 2 + B 2 + 2A B u A +B 2 = 5 + 2(5) + 10 A +B  = 5 6. ตอบ 8 A =             110 114 111 จะได้ เมตริกซ์ของไมเนอร์ คือ Mij =              532 112 440 …..จากการปิดแถว_ปิดหลัก จะได้ เมตริกซ์ของโคแฟคเตอร์คือ Cij =             532 112 440 ……..จากการ(-1)I+j Mij จะได้ เมตริกซ์ผูกพันธ์ Adj(A) =             514 314 220 ……..จากการ Transpose Cij det (AdjA) = = 514 314 220   14 14 20   = -8+ 0 -40 0+ 24 -8 คูณลง-คูณขึ้น =16 - -48 = 64
  • 16. det ( 2 adjA ) = )det( 2 1 3 adjA      = 8)64( 8 1  7. ตอบ 1.33 parabola which Directrix y = 4 5 Vertex (0, 1)  para eQuation is 2 )0x(  =   )14(4 14  2 x = – y + 1 Y = 2 x1 Find the area covered by parabola & x – axis A =    1 1 2 dx)x1( = 1x 1x )3 xx( 3    = )3 11()3 11(  = 3 4 = 1.33 Ans (แปลออกป่ะ?) 8. ตอบ 9.8 (หน่วยพันล้าน) ข้อนี้จัดว่าง่ายมากอีกข้อ เพราะคิดตรง ๆ เลย (เพียงแต่น้อง ๆ หลายคนไม่ได้อ่านมาเพราะเป็นสถิติ ม.6) พ.ศ. x (ทอนค่า) มูลค่า (y) xy 2 x 2542 2543 2544 2545 2546 –2 –1 0 1 2 1 3 4 5 9 –2 –3 0 5 18 4 1 0 1 4  0x  22y  18xy  10x2 สมการหลัก y = mx + C (เส้นตรง) หา m , C จาก  y = nCxm   22 = m(0) + 5C  xy =   xCxm 2  18 = m(10) + C(0)  C = 5 22 = 4.4 และ m = 10 18 = 1.8 สมการความสัมพันธ์ y = 1.8x + 4.4 ปี 2547 (x = 3) y = 1.8(3) + 4.4 = 9.8 (หน่วยพันล้าน) วิธีลัด det (AdjA)= (detA)มิติ-1 = (8) 3 – 1 .....ลองหา detA เอง = 64 det ( 2 adjA ) = )det( 2 1 3 adjA      = 8)64( 8 1  เท่ากัน