SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 9
Descargar para leer sin conexión
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 1 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบความรู้ 1 
ประกอบหน่วยการเรียนรู้ 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง กลศาสตร์ของไหล 
หัวข้อเรื่อง ความหนาแน่น และความดันในของไหล 
ความดันและแรงดัน ( Pressure and Force ) 
แรงดัน ( Force ) คือ แรงทั้งหมดที่กดลงบนพื้นที่ถูกกระทำ 
ความดัน ( Pressure ) คือ แรงดันที่กระทำต่อพื้นที่ 1 ตำรำงหน่วย 
สมมุติบนพื้นที่ A ตร.ม. มีแรงดัน F 
นิวตัน 
 ความดัน ที่เกิดขึ้นบนพื้นที่นี้คือ P 
= 
A 
F  
กาหนดให้ P 
คือ ควำมดัน มีหน่วยเป็น นิวตันต่อตำรำงเมตร ( N/m2 ) 
F 
คือ แรงที่กระทำตั้งฉำกกับพื้นที่ มีหน่วยเป็น นิวตัน ( N ) 
A คือ พื้นที่ ที่รับแรงกระทำ มีหน่วยเป็น ตำรำงเมตร ( m2 ) 
ระบบ SI 1 ปำสคำล ( Pascal ) = 1 นิวตันต่อตำรำงเมตร ( N/m2 ) 
ทางอุตุนิยมวิทยา 1 บาร์ ( Bar ) = 105 ปาสคาล 
1 บรรยำกำศ ( Atmosphere ) = 1 บำร์ 
1 บรรยำกำศ ( Atmosphere ) = 1.01x105 นิวตันต่อตำรำงเมตร 
ตัวอย่างที่ 1 จำกรูป A, B และ C เป็นแท่งไม้กว้ำง 10 ซม. ยำว 30 ซม. หนำ 5 ซม. เท่ำกัน อยำกทรำบว่ำ 
แรงดัน และควำมดัน ของแท่งไม้ทั้ง 3 รูปจะเป็นอย่ำงไร 
ตอบ แรงดันของทั้งไม้ มีค่ำเท่ำกัน เพรำะ เป็นไม้ชนิดเดียวกัน ควำมหนำแน่นเท่ำกัน ปริมำตรเท่ำกัน ย่อมมีมวลเท่ำกัน 
ผลทำให้มีน้ำหนักเท่ำกัน จึง เกิดแรงดันเท่ำกัน ( F = mg = Vg ) 
ควำมดันเกิดขึ้นกันแท่งไม้ C มำกที่สุด รองลงมำคือ A และ B ตำมลำดับ ( P 
= 
A 
F  
) 
ตัวอย่างที่ 2 ขวดมวล 0.6 กิโลกรัม ภำยในบรรจุน้ำมวล 2 กิโลกรัม วำงอยู่บนพื้นโต๊ะ ถ้ำขวดนี้สูง 60 เซนติเมตร 
และมีพื้นที่หน้ำตัดที่ก้นขวด 130 ตำรำงเซนติเมตร ควำมดันที่ขวดกระทำต่อพื้นโต๊ะ เป็นกี่ นิวตันต่อตำรำง 
เมตร ( ควำมหนำแน่นของน้ำเท่ำกับ 103 กิโลกรัมต่อลูกบำศก์เมตร ) 
วิธีทา P  = 
A 
F  
P  
= - 4 130x10 
26 
P  
= 2x103 N/m2 
ตอบ ควำมดันที่ขวดกระทำต่อพื้นโต๊ะเป็น 2x103 นิวตันต่อตำรำงเมตร 
A 
A B C
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 2 
ความดันของของเหลว 
ของเหลวเป็นสถำนะหนึ่งของสสำร ดังนั้น จึงมีมวลและเกิดน้ำหนักขึ้น บริเวณใดที่ถูกของเหลวทับอยู่ จะถูกกด 
ด้วยแรงที่เท่ำกับน้ำหนักของของเหลวนั้น 
พิจำรณำจำกรูป ก. ณ ตำแหน่ง X 
เป็นตำแหน่งใดๆ ที่อยู่ในของเหลว ที่ระดับ 
ควำมลึก h จะถูก แรงดันของของเหลวนี้ 
กระทำทุกทิศทุกทำงในทิศตั้งฉำกกับผิวสัมผัสเสมอ 
เมื่อ พิจำรณำที่ตำแหน่ง X ด้วยรูป ข. ที่ขยำยใหญ่ขึ้น จะแสดงให้เห็นว่ำ ณ ตำแหน่ง X จะมีลำของเหลว 
พื้นที่หน้ำตัด A ตำรำงเมตร สูง h เมตร ดังนั้น ณ ตำแหน่ง X จะเกิดควำมดัน เนื่องจำกของเหลวนี้กดทับ ดังนี้ 
 น้ำหนักที่กดทับที่ตำแหน่ง X คือ mg = Vg = Ahg 
ควำมดันของเหลวที่ระดับ h คือ P  
= 
A 
F 
= 
A 
Ahg 
= gh 
P = gh 
กาหนดให้ P  
คือ ควำมดันของของเหลว มีหน่วยเป็น นิวตันต่อตำรำงเมตร ( N/m2 ) 
 คือ ควำมหนำแน่นของของเหลว มีหน่วยเป็น กิโลกรัมต่อลูกบำศก์เมตร 
g คือ ควำมเร่งจำกแรงดึงด฿ดของโลก มีหน่วยเป็น เมตรต่อ(วินำที)2 (m/s2) 
h คือ ระดับควำมลึกของของเหลว มีหน่วยเป็น เมตร ( m ) 
ลักษณะสาคัญของความดันของของเหลว 
1. ณ ตำแหน่งใดๆ ในของเหลว แรงดันของของเหลวมีทุกทิศทางรอบตาแหน่งนั้นๆ 
2. ของเหลวที่อยู่ติดกับภำชนะจะส่งแรงดันออกในทิศตั้งฉำกกับผิวสัมผัส 
3. ภำยใต้สภำพแรงดึงดูดของโลก ความดันของของเหลว ณ ตาแหน่งใดๆ ขึ้นกับความลึก ของตำแหน่งนั้น 
วัดจำกผิวของเหลว ( h ) และควำมหนำแน่นของของเหลว (  ) ตำมสมกำรP  
= gh และเท่ำกันทุกทิศทุกทำง 
h 
A 
รูป ข. 
X 
X 
h 
รูป ก.
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 3 
4. ควำมดันของของเหลวภำยใต้แรงดึงดูดของโลกจะขึ้นกับระดับลึกวัดจำกผิวของเหลวโดยไม่ขึ้นอยู่กับรูปร่ำง 
ของภำชนะเลย 
ความดันเกจ ( PW ) 
ความดันเกจ คือ ความดันที่เกิดขึ้นเนื่องจากน้าหนักของของเหลวนั้น ใช้สัญลักษณ์ PW 
PW = gh 
ตัวอย่างที่ 3 พิจำรณำภำชนะบรรจุน้ำ 3 ใบ ปริมำตรไม่เท่ำกัน ถ้ำควำมสูงของระดับน้ำในภำชนะทั้งสำมใบมีค่ำ 
เท่ำกัน อยำกทรำบว่ำ ควำมหนำแน่นของน้ำ มวลของน้ำ น้ำหนักของน้ำ และควำมดันที่ก้นภำชนะ จะเป็นอย่ำงไร 
ตอบ ควำมหนำแน่นของน้ำ ในภำชนะทั้งสำมรูป มีค่ำเท่ำกัน 
(  เท่ำกับ 103 กิโลกรัมต่อลูกบำศก์เมตร ) 
มวลของน้ำในภำชนะทั้งสำมรูปไม่เท่ำกัน เพรำะ ปริมำตรน้ำในภำชนะทั้งสำมรูปไม่เท่ำกัน(m = V) 
น้ำหนักของน้ำในภำชนะทั้งสำมไม่เท่ำกัน เพรำะ มวลของน้ำในภำชนะทั้งสำมรูปไม่เท่ำกัน (W = mg) 
ควำมดันที่ก้นภำชนะทั้งสำม มีค่ำเท่ำกัน เพรำะ มีระดับควำมลึกเท่ำกัน ( P 
= gh ) 
ตัวอย่างที่ 4 ในถังใบหนึ่งมีน้ำและน้ำมัน โดยน้ำมันอยู่เหนือน้ำ เป็นชั้นสูง 10 เซนติเมตร และชั้นน้ำอยู่ข้ำงล่ำง 5 
เซนติเมตร จงหำควำมดันที่ก้นถังเนื่องจำกของเหลวนี้ เมื่อ ควำมหนำแน่นของน้ำ เท่ำกับ 1x103 kg/m3 และ ควำม 
หนำแน่นของน้ำมัน เท่ำกับ 0.8x103 kg/m3 
วิธีทา P 
= น้ำมันgh + น้ำgh 
P 
= ( 0.8x103x 10 x 10x10 – 2 ) + ( 1x103x 10 x 5x10 – 2 ) 
P  
= 0.8x103+ 0.5x103 
P 
= 1.3x103 N/m2 
ความดันบรรยากาศ ( Atmosphere pressure ) 
ทอริเชลลิ ( Torricelli ) ใช้หลอดแก้ว บรรจุปรอทเต็มแล้วคว่ำลงในอ่ำงปรอท น้ำหนักของปรอทจะดึงตัวเองลง 
มำทำให้ส่วนบนหลอดเป็นที่ว่ำง แต่ยังคงมีลำปรอทค้ำงในหลอดได้เพรำะ มีอำกำศดันด้วยควำมดัน Pa แสดงว่ำ ควำมดัน 
ของอำกำศเท่ำกับควำมดันเนื่องจำกน้ำหนักของปรอท สูง h 
รูป ก. รูป ข. รูป ค.
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 4 
 Pบรรยำกำศ = Pxivm 
Pบรรยำกำศ = ปรอทgh 
จำกกำรทดลอง เมื่อคว่ำปรอทในหลอดแก้วจะมีควำมสูงจำกผิวปรอทในอ่ำงเท่ำกับ 
76 เซนติเตร ควำมหนำแน่นของปรอทเท่ำกับ 13.6x103 kg/m3 
( เมื่อ ค่ำ g = 9.8 m/s2 ) จะได้ 
Pa = 13.6x103x9.8x0.76 
Pa = 1.01x105 N/m2 
การบอกความดันของบรรยากาศ บอกได้ 3 วิธี 
1. บอกเป็นหน่วยควำมดัน เช่น วันนี้อำกำศมีควำมดัน 1.01x105 N/m2 
2. บอกเป็นควำมสูงของปรอท เช่นวันนี้อำกำศมีควำมดันของปรอทสูง 76 ซม.หรือ 760มม.ของปรอท 
3. บอกเป็นควำมสูงของน้ำ เช่น วันนี้อำกำศมีควำมดันเท่ำกับน้ำสูง 10.3 ม. 
ตัวอย่างที่ 5 จงหำควำมดันที่ระดับควำมลึกจำกผิวน้ำ 5 เมตร เมื่อ ควำมหนำแน่นของน้ำ เท่ำกับ 1x103 kg/m3 
และ ควำมดันบรรยำกำศเท่ำกับ 1.01x105 N/m2 
วิธีทา P 
= Pa + น้ำgh 
P 
= (1.01x105)+(1x103 x10 x 5 ) 
P 
= 1.51x105 N/m2 
ตัวอย่างที่ 6 คว่ำหลอดแก้วบรรจุปรอท ลงในอ่ำงปรอท ในขณะที่ควำมดันบรรยำกำศมีค่ำเท่ำกับ 76 ซม.ของปรอท 
ดังรูป ควำมดันภำยในหลอดแก้วที่ X มีค่ำกี่ มม.ของปรอท 
วิธีทา Pที่ X = 76 + 4 ซม.ของปรอท 
= 80 ซม.ของปรอท 
= 800 มม.ของปรอท 
ตอบ ควำมดันภำยในหลอดแก้วที่ X มีค่ำ 800 มิลลิเมตรของปรอท 
แรงดันที่เขื่อนกั้นน้า 
แรงดัน = ควำมดันเฉลี่ย x พื้นที่ที่ถูกกระทำ 
F  
= 
  
2 
P Pบน  ล่าง 
x A 
F  
= 
  
2 
0  gH 
( l H ) 
F  
= 
2 
1 
g l H2 
Pบรรยากาศ h 
Pบรรยากาศ h 
4 ซม.ของปรอท 
H 
l 
Pบน 
Pล่าง 
F
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 5 
กรณีที่แรงดันที่เขื่อนกันน้ำทั้งสองด้ำน จะได้แรงดันที่กระทำต่อ 
เขื่อนดังนี้ จำกรูป 
F 
= F1 – F2 
F 
= ( 
2 
1 
g l H2 )1 – ( 
2 
1 
g l H2 )2 
ตัวอย่างที่7 ประตูน้ำแห่งหนึ่งกว้ำง 10 เมตร มีระดับน้ำในประตูสูง 12 เมตร นอกประตูสูง 4 เมตร จงหำแรงที่ 
เกิดกับประตูน้ำเท่ำกับเท่ำไร 
วิธีทา F 
= ( 
2 
1 
g l H2 )1 – ( 
2 
1 
g l H2 )2 
F 
= ( 
2 
1 
x103x10x10x122 )1 – ( 
2 
1 
x103x10x10x42)2 
F 
= 6.4 x 106 นิวตัน ( N ) 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบงาน 1.1 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ 
Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที 
เรื่อง ควำมหนำแน่น และควำมดันในของไหล 
1. ให้นักเรียนเขียนแสดงควำมคิดเห็นว่ำ ควำมดันที่เกิดบนพื้นโต๊ะ เนื่องจำกขวดที่บรรจุน้ำในลักษณะตั้งขวด 
และนอนขวด แตกต่ำงกันอย่ำงไร 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบงาน 1.2 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ 
Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( P ) เวลา 40 นาที 
เรื่อง ควำมหนำแน่น และควำมดันในของไหล 
1. ให้นักเรียนสรุปสำระสำคัญที่ได้จำกกำรสืบค้น ข้อมูล และบันทึกลงในสมุด 
1.1 ควำมดัน 
1.2 ควำมดันของของเหลว 
F1 
F2 
F1 F2
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 6 
1.3 ควำมดันเกจ 
1.4 ควำมดันบรรยำกำศ 
2. ให้นักเรียนเติมคำ หรือข้อควำมลงในช่องว่ำงให้ถูกต้อง 
2.1 ควำมดัน หมำยถึง ………………………………………..…………………………………………………………………………………………. 
2.2 ณ ตำแหน่งใดๆ ในของเหลว แรงดันของของเหลวมี……………….……………..รอบตำแหน่งนั้น 
2.3 ของเหลวที่อยู่ติดกับภำชนะจะส่งแรงดันออกใน……………………………….……….กับผิวภำชนะที่ของเหลวนั้นสัมผัสอยู่ 
2.4 ภำยใต้สภำพแรงดึงดูดของโลก ควำมดันของของเหลว ณ ตำแหน่งใดๆ ขึ้นกับ 
…………………………………………………………………………………………………………..……………………………………… 
2.5 สมกำร ควำมดันของของเหลว ณ ตำแหน่งใดๆ คือ……………………………………………………….………………………… 
2.6 ในภำชนะปิด ปริมำตรของของเหลวจะ…………………………………………….. เมื่อเพิ่มแรงดันมำกขึ้น 
2.7 ควำมดันของของเหลวจะมีควำมสัมพันธ์กับควำมลึกของของเหลวคือ……………………………………………………………… 
2.8 ควำมดันของของเหลวจะมีควำมสัมพันธ์กับรูปร่ำงของภำชนะและปริมำตรของของเหลวอย่ำงไร ……………………… 
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 
2.9 ควำมดันเกจ คือ …………………………………………………………………………………………………………….....………….………... 
2.10 ควำมดัน 1 บรรยำกำศ มีค่ำเท่ำกับ …………………………………………………………………………………………..……………… 
2.11 โต๊ะตัวหนึ่งมวล 30 กิโลกรัม วำงตัวอยู่บนพื้น โดยขำโต๊ะทั้งสี่สัมผัสพื้น ขำโต๊ะแต่ละข้ำงมีพื้นที่หน้ำตัด 125 
ตำรำงเซนติเมตร จงหำควำมดันที่ขำโต๊ะแต่ละข้ำง 
วิธีทา P = 
A 
F 
= - 4 4 x 125 x 10 
.......... 
= …………………… นิวตันต่อตำรำงเมตร 
2.12 จำกรูปก้นภำชนะมีพื้นที่ 50 ตร.ซม. จงหำแรงดันของน้ำที่ก้นภำชนะในหน่วยนิวตัน 
วิธีทา P = 
A 
F 
F = PA =  g h A 
= 1 x 103 x 10 x 30 x 10- 2 x ………… 
F = …………………… นิวตัน 
2.13 หลอดแก้วยำว 50 ซม. คว่ำแล้วกดให้ปำกหลอดต่ำกว่ำผิวน้ำ 3 เมตร ปรำกฏว่ำ น้ำดันเข้ำไปในหลอดได้ 40 
ซม. จงหำควำมดันของแก๊สในหลอดนี้ เมื่อควำมดันอำกำศเท่ำกับ 1x105 N/m2 
วิธีทา P = Pa +  g h 
= …………….. + 1 x 103 x 10 x …………… 
= ……………….. นิวตันต่อตำรำงเมตร 
20 cm 
10 cm 15 cm 
น้า 
หลอดแก้ว 
แก๊ส 50 ซม. 
40 ซม. 
จากปากแก้วถึงผิวน้า 
3 เมตร
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 7 
2.14 จงพิจำรณำจำกรูป ของเหลวชนิดเดียวกันที่ต่อถึงกัน ควำมดันของของเหลวในข้อใดถูกต้อง และ ข้อใดผิด 
……….. ก. PA  PB และ ( PE = PF )  PG 
……….. ข. PC  PE และ ( PD = PB )  PG 
……….. ค. PG  PE และ ( PC = PD )  PA 
……….. ง. PA = PB = PE = PF = PG 
2.15 เขื่อนแห่งหนึ่งระดับของน้ำเหนือเขื่อนสูง 15 เมตร ระดับของน้ำใต้เขื่อนสูง 10 เมตร ถ้ำเขื่อนยำว 60 เมตร จง 
หำว่ำขณะนั้นตัวเขื่อนจะรับแรงดันของน้ำกี่นิวตัน 
วิธีทา F = 
2 
1 
 g l h2 - 
2 
1 
 g l h2 
F = 
2 
1 
x 1x103 x 10 x ……….x( 15 )2 - 
2 
1 
x 1x103 x ……… x 60 x( …… )2 
= ………….. นิวตัน 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบงาน 1.3 
ประกอบหน่วยการเรียนรู้ 
Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที 
เรื่อง ควำมหนำแน่น และควำมดันในของไหล 
1. โต๊ะตัวหนึ่งมวล 40 กิโลกรัม วำงตัวอยู่บนพื้น โดยขำโต๊ะทั้งสี่สัมผัสพื้น ขำโต๊ะแต่ละข้ำงมีพื้นที่หน้ำตัด 125 ตำรำง 
เซนติเมตร จงหำควำมดันที่ขำโต๊ะแต่ละข้ำง 
2. จำกรูปก้นภำชนะมีพื้นที่ 50 ตร.ซม. จงหำแรงดันของน้ำที่ก้นภำชนะในหน่วยนิวตัน 
A 
B C D 
E F 
G 
25 cm 
5 cm 15 cm
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 8 
3. หลอดแก้วยำว 30 ซม. คว่ำแล้วกดให้ปำกหลอดต่ำกว่ำผิวน้ำ 2 เมตร ปรำกฏว่ำ น้ำดันเข้ำไปในหลอดได้ 20 ซม. จงหำควำมดันของแก๊สในหลอดนี้ เมื่อควำมดันอำกำศเท่ำกับ 1x105 N/m2 
4. จงพิจำรณำจำกรูป ของเหลวชนิดเดียวกันที่ต่อถึงกัน ควำมดันของของเหลวใดต่อไปนี้ 
ก. มีค่ำมำกที่สุด ตอบ ……………………………………… 
ข. มีค่ำเท่ำกัน ตอบ ……………………………………… 
ค. มีค่ำน้อยที่สุด ตอบ ……………………………………… 
5. เขื่อนแห่งหนึ่งระดับของน้ำเหนือเขื่อนสูง 30 เมตร ระดับของน้ำใต้เขื่อนสูง 10 เมตร ถ้ำเขื่อนยำว 100 เมตร จงหำว่ำ ขณะนั้นตัวเขื่อนจะรับแรงดันของน้ำกี่นิวตัน 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 
แบบฝึกทักษะ 1 
ประกอบหน่วยการเรียนรู้ 
Physics VI 
เรื่อง กลศาสตร์ของไหล 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 
คะแนน 5 คะแนน 
เวลา 20 นาที 
เรื่อง ควำมหนำแน่น และควำมดันในของไหล 
ตอนที่ 1 ให้กำเครื่องหมำย / หน้ำข้อที่ถูก และกำเครื่องหมำย  หน้ำข้อที่ผิด 
……1. ความดันหมายถึง แรงหรือน้าหนักที่กระท้าตั งฉากลงบนพื นที่หนึ่งตารางหน่วย 
……2. ณ ต้าแหน่งใดๆ ในของเหลว แรงดันของของเหลวมีทุกทิศทางรอบต้าแหน่งนั น 
……3. ของเหลวที่อยู่ติดกับภาชนะจะส่งแรงดันออกในทิศตั งฉากกับผิวภาชนะที่ของเหลวนั นสัมผัสอยู่ 
……4. ภายใต้สภาพแรงดึงดูดของโลก ความดันของของเหลว ณ ต้าแหน่งใดๆ ขึ นกับความลึกของต้าแหน่งนั น ที่วัดจากผิว ของเหลว เท่านั น 
……5. ภายใต้สภาพแรงดึงดูดของโลก ความดันของของเหลว ณ ต้าแหน่งใดๆ ขึ นกับความหนาแน่นของของเหลวเท่านั น 
น้ำ 
หลอดแก้ว 
แก๊ส 
30 ซม. 
20 ซม. 
จากปากแก้วถึงผิวน้า 
2 เมตร 
A 
B 
C 
D 
E 
F 
G
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 9 
……6. ภายใต้สภาพแรงดึงดูดของโลก ความดันของของเหลว ณ ต้าแหน่งใดๆ ขึ นกับความลึกของต้าแหน่งนั น ที่วัดจากผิว ของเหลว และความหนาแน่นของของเหลว 
……7. ในภาชนะปิด ปริมาตรของของเหลวจะคงที่ เมื่อเพิ่มแรงดันมากขึ น 
……8. ความดันของของเหลวจะเป็นส่วนกลับกับความลึกของของเหลวนั น 
……9. ความดันของของเหลวขึ นอยู่กับรูปร่างของภาชนะและปริมาตรของของเหลว 
……10. ความดันเกจ คือความดันที่เกิดขึ นเนื่องจากน้าหนักของของเหลวเท่านั น 
ตอนที่ 2 ให้นักเรียนเลือกคำตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียน O ล้อมรอบข้อนั้น 
11. โต๊ะตัวหนึ่งมวล 30 กิโลกรัม วำงตัวอยู่บนพื้น โดยขำโต๊ะทั้งสี่สัมผัสพื้น ขำโต๊ะแต่ละข้ำงมีพื้นที่หน้ำตัด 125 ตำรำง เซนติเมตร จงหำควำมดันที่ขำโต๊ะแต่ละข้ำง 
ก. 3x103 N/m2 ข. 4x103 N/m2 ค. 5x103 N/m2 ง. 6x103 N/m2 
12. จำกรูปก้นภำชนะมีพื้นที่ 50 ตร.ซม. จงหำแรงดันของน้ำที่ก้นภำชนะในหน่วยนิวตัน 
ก. 1.25 ข. 12.5 ค. 25 ง. 125 
13. หลอดแก้วยำว 30 ซม. คว่ำแล้วกดให้ปำกหลอดต่ำกว่ำผิวน้ำ 3 เมตร ปรำกฎว่ำ น้ำดันเข้ำไปในหลอดได้ 20 ซม. จง หำควำมดันของแก๊สในหลอดนี้ เมื่อควำมดันอำกำศเท่ำกับ 1x105 N/m2 
ก. 1.28x105 N/m2 ข. 3.28x105 N/m2 
ค. 5.28x105 N/m2 ง. 6.28x105 N/m2 
14. จงพิจำรณำจำกรูป ของเหลวชนิดเดียวกันที่ต่อถึงกัน ควำมดันของของเหลวในข้อใดถูกต้อง 
ก. PA  PB และ ( PE = PF )  PG 
ข. PC  PE และ ( PD = PB )  PG 
ค. PG  PE และ ( PC = PD )  PA 
ง. PA = PB = PE = PF = PG 
15. เขื่อนแห่งหนึ่งระดับของน้ำเหนือเขื่อนสูง 20 เมตร ระดับของน้ำใต้เขื่อนสูง 5 เมตร ถ้ำเขื่อนยำว 80 เมตร จงหำว่ำ ขณะนั้นตัวเขื่อนจะรับแรงดันของน้ำกี่นิวตัน 
ก. 0.1 x 108 ข. 1.5 x 108 ค. 1.6 x 108 ง. 1.7 x 108 
20 cm 
5 cm 
12 cm 
น้ำ 
หลอดแก้ว 
แก๊ส 
30 ซม. 
20 ซม. 
จำกปำกแก้วถึงผิวน้ำ 
3 เมตร 
A 
B 
C 
D 
E 
F 
G

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลApinya Phuadsing
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสChanthawan Suwanhitathorn
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 

La actualidad más candente (20)

เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 

Similar a 1ความหนาแน่น และความดันในของไหล

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ของไหล 1
ของไหล 1ของไหล 1
ของไหล 1luanrit
 
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ krupornpana55
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหลthanakit553
 
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Icxise RevenClaw
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืดWijitta DevilTeacher
 

Similar a 1ความหนาแน่น และความดันในของไหล (20)

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ของไหล 1
ของไหล 1ของไหล 1
ของไหล 1
 
Fluid
FluidFluid
Fluid
 
00ของไหล01
00ของไหล0100ของไหล01
00ของไหล01
 
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่ Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
Slแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วย 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
Fluids
FluidsFluids
Fluids
 
P09
P09P09
P09
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
 
Sci30203-Pressure
Sci30203-PressureSci30203-Pressure
Sci30203-Pressure
 
fluid
fluidfluid
fluid
 
Sc1362
Sc1362Sc1362
Sc1362
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
3 e0b981e0b89ae0b89ae0b89de0b8b6e0b881e0b8abe0b8b1e0b894-e0b884e0b8a5e0b8b7e0...
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืด
 
Problem1363
Problem1363Problem1363
Problem1363
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 

Más de Wijitta DevilTeacher

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด AWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด CWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด BWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่นWijitta DevilTeacher
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุWijitta DevilTeacher
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุมWijitta DevilTeacher
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชนWijitta DevilTeacher
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดลWijitta DevilTeacher
 

Más de Wijitta DevilTeacher (20)

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล
 

1ความหนาแน่น และความดันในของไหล

  • 1. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 1 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบความรู้ 1 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง กลศาสตร์ของไหล หัวข้อเรื่อง ความหนาแน่น และความดันในของไหล ความดันและแรงดัน ( Pressure and Force ) แรงดัน ( Force ) คือ แรงทั้งหมดที่กดลงบนพื้นที่ถูกกระทำ ความดัน ( Pressure ) คือ แรงดันที่กระทำต่อพื้นที่ 1 ตำรำงหน่วย สมมุติบนพื้นที่ A ตร.ม. มีแรงดัน F นิวตัน  ความดัน ที่เกิดขึ้นบนพื้นที่นี้คือ P = A F  กาหนดให้ P คือ ควำมดัน มีหน่วยเป็น นิวตันต่อตำรำงเมตร ( N/m2 ) F คือ แรงที่กระทำตั้งฉำกกับพื้นที่ มีหน่วยเป็น นิวตัน ( N ) A คือ พื้นที่ ที่รับแรงกระทำ มีหน่วยเป็น ตำรำงเมตร ( m2 ) ระบบ SI 1 ปำสคำล ( Pascal ) = 1 นิวตันต่อตำรำงเมตร ( N/m2 ) ทางอุตุนิยมวิทยา 1 บาร์ ( Bar ) = 105 ปาสคาล 1 บรรยำกำศ ( Atmosphere ) = 1 บำร์ 1 บรรยำกำศ ( Atmosphere ) = 1.01x105 นิวตันต่อตำรำงเมตร ตัวอย่างที่ 1 จำกรูป A, B และ C เป็นแท่งไม้กว้ำง 10 ซม. ยำว 30 ซม. หนำ 5 ซม. เท่ำกัน อยำกทรำบว่ำ แรงดัน และควำมดัน ของแท่งไม้ทั้ง 3 รูปจะเป็นอย่ำงไร ตอบ แรงดันของทั้งไม้ มีค่ำเท่ำกัน เพรำะ เป็นไม้ชนิดเดียวกัน ควำมหนำแน่นเท่ำกัน ปริมำตรเท่ำกัน ย่อมมีมวลเท่ำกัน ผลทำให้มีน้ำหนักเท่ำกัน จึง เกิดแรงดันเท่ำกัน ( F = mg = Vg ) ควำมดันเกิดขึ้นกันแท่งไม้ C มำกที่สุด รองลงมำคือ A และ B ตำมลำดับ ( P = A F  ) ตัวอย่างที่ 2 ขวดมวล 0.6 กิโลกรัม ภำยในบรรจุน้ำมวล 2 กิโลกรัม วำงอยู่บนพื้นโต๊ะ ถ้ำขวดนี้สูง 60 เซนติเมตร และมีพื้นที่หน้ำตัดที่ก้นขวด 130 ตำรำงเซนติเมตร ควำมดันที่ขวดกระทำต่อพื้นโต๊ะ เป็นกี่ นิวตันต่อตำรำง เมตร ( ควำมหนำแน่นของน้ำเท่ำกับ 103 กิโลกรัมต่อลูกบำศก์เมตร ) วิธีทา P  = A F  P  = - 4 130x10 26 P  = 2x103 N/m2 ตอบ ควำมดันที่ขวดกระทำต่อพื้นโต๊ะเป็น 2x103 นิวตันต่อตำรำงเมตร A A B C
  • 2. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 2 ความดันของของเหลว ของเหลวเป็นสถำนะหนึ่งของสสำร ดังนั้น จึงมีมวลและเกิดน้ำหนักขึ้น บริเวณใดที่ถูกของเหลวทับอยู่ จะถูกกด ด้วยแรงที่เท่ำกับน้ำหนักของของเหลวนั้น พิจำรณำจำกรูป ก. ณ ตำแหน่ง X เป็นตำแหน่งใดๆ ที่อยู่ในของเหลว ที่ระดับ ควำมลึก h จะถูก แรงดันของของเหลวนี้ กระทำทุกทิศทุกทำงในทิศตั้งฉำกกับผิวสัมผัสเสมอ เมื่อ พิจำรณำที่ตำแหน่ง X ด้วยรูป ข. ที่ขยำยใหญ่ขึ้น จะแสดงให้เห็นว่ำ ณ ตำแหน่ง X จะมีลำของเหลว พื้นที่หน้ำตัด A ตำรำงเมตร สูง h เมตร ดังนั้น ณ ตำแหน่ง X จะเกิดควำมดัน เนื่องจำกของเหลวนี้กดทับ ดังนี้  น้ำหนักที่กดทับที่ตำแหน่ง X คือ mg = Vg = Ahg ควำมดันของเหลวที่ระดับ h คือ P  = A F = A Ahg = gh P = gh กาหนดให้ P  คือ ควำมดันของของเหลว มีหน่วยเป็น นิวตันต่อตำรำงเมตร ( N/m2 )  คือ ควำมหนำแน่นของของเหลว มีหน่วยเป็น กิโลกรัมต่อลูกบำศก์เมตร g คือ ควำมเร่งจำกแรงดึงด฿ดของโลก มีหน่วยเป็น เมตรต่อ(วินำที)2 (m/s2) h คือ ระดับควำมลึกของของเหลว มีหน่วยเป็น เมตร ( m ) ลักษณะสาคัญของความดันของของเหลว 1. ณ ตำแหน่งใดๆ ในของเหลว แรงดันของของเหลวมีทุกทิศทางรอบตาแหน่งนั้นๆ 2. ของเหลวที่อยู่ติดกับภำชนะจะส่งแรงดันออกในทิศตั้งฉำกกับผิวสัมผัส 3. ภำยใต้สภำพแรงดึงดูดของโลก ความดันของของเหลว ณ ตาแหน่งใดๆ ขึ้นกับความลึก ของตำแหน่งนั้น วัดจำกผิวของเหลว ( h ) และควำมหนำแน่นของของเหลว (  ) ตำมสมกำรP  = gh และเท่ำกันทุกทิศทุกทำง h A รูป ข. X X h รูป ก.
  • 3. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 3 4. ควำมดันของของเหลวภำยใต้แรงดึงดูดของโลกจะขึ้นกับระดับลึกวัดจำกผิวของเหลวโดยไม่ขึ้นอยู่กับรูปร่ำง ของภำชนะเลย ความดันเกจ ( PW ) ความดันเกจ คือ ความดันที่เกิดขึ้นเนื่องจากน้าหนักของของเหลวนั้น ใช้สัญลักษณ์ PW PW = gh ตัวอย่างที่ 3 พิจำรณำภำชนะบรรจุน้ำ 3 ใบ ปริมำตรไม่เท่ำกัน ถ้ำควำมสูงของระดับน้ำในภำชนะทั้งสำมใบมีค่ำ เท่ำกัน อยำกทรำบว่ำ ควำมหนำแน่นของน้ำ มวลของน้ำ น้ำหนักของน้ำ และควำมดันที่ก้นภำชนะ จะเป็นอย่ำงไร ตอบ ควำมหนำแน่นของน้ำ ในภำชนะทั้งสำมรูป มีค่ำเท่ำกัน (  เท่ำกับ 103 กิโลกรัมต่อลูกบำศก์เมตร ) มวลของน้ำในภำชนะทั้งสำมรูปไม่เท่ำกัน เพรำะ ปริมำตรน้ำในภำชนะทั้งสำมรูปไม่เท่ำกัน(m = V) น้ำหนักของน้ำในภำชนะทั้งสำมไม่เท่ำกัน เพรำะ มวลของน้ำในภำชนะทั้งสำมรูปไม่เท่ำกัน (W = mg) ควำมดันที่ก้นภำชนะทั้งสำม มีค่ำเท่ำกัน เพรำะ มีระดับควำมลึกเท่ำกัน ( P = gh ) ตัวอย่างที่ 4 ในถังใบหนึ่งมีน้ำและน้ำมัน โดยน้ำมันอยู่เหนือน้ำ เป็นชั้นสูง 10 เซนติเมตร และชั้นน้ำอยู่ข้ำงล่ำง 5 เซนติเมตร จงหำควำมดันที่ก้นถังเนื่องจำกของเหลวนี้ เมื่อ ควำมหนำแน่นของน้ำ เท่ำกับ 1x103 kg/m3 และ ควำม หนำแน่นของน้ำมัน เท่ำกับ 0.8x103 kg/m3 วิธีทา P = น้ำมันgh + น้ำgh P = ( 0.8x103x 10 x 10x10 – 2 ) + ( 1x103x 10 x 5x10 – 2 ) P  = 0.8x103+ 0.5x103 P = 1.3x103 N/m2 ความดันบรรยากาศ ( Atmosphere pressure ) ทอริเชลลิ ( Torricelli ) ใช้หลอดแก้ว บรรจุปรอทเต็มแล้วคว่ำลงในอ่ำงปรอท น้ำหนักของปรอทจะดึงตัวเองลง มำทำให้ส่วนบนหลอดเป็นที่ว่ำง แต่ยังคงมีลำปรอทค้ำงในหลอดได้เพรำะ มีอำกำศดันด้วยควำมดัน Pa แสดงว่ำ ควำมดัน ของอำกำศเท่ำกับควำมดันเนื่องจำกน้ำหนักของปรอท สูง h รูป ก. รูป ข. รูป ค.
  • 4. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 4  Pบรรยำกำศ = Pxivm Pบรรยำกำศ = ปรอทgh จำกกำรทดลอง เมื่อคว่ำปรอทในหลอดแก้วจะมีควำมสูงจำกผิวปรอทในอ่ำงเท่ำกับ 76 เซนติเตร ควำมหนำแน่นของปรอทเท่ำกับ 13.6x103 kg/m3 ( เมื่อ ค่ำ g = 9.8 m/s2 ) จะได้ Pa = 13.6x103x9.8x0.76 Pa = 1.01x105 N/m2 การบอกความดันของบรรยากาศ บอกได้ 3 วิธี 1. บอกเป็นหน่วยควำมดัน เช่น วันนี้อำกำศมีควำมดัน 1.01x105 N/m2 2. บอกเป็นควำมสูงของปรอท เช่นวันนี้อำกำศมีควำมดันของปรอทสูง 76 ซม.หรือ 760มม.ของปรอท 3. บอกเป็นควำมสูงของน้ำ เช่น วันนี้อำกำศมีควำมดันเท่ำกับน้ำสูง 10.3 ม. ตัวอย่างที่ 5 จงหำควำมดันที่ระดับควำมลึกจำกผิวน้ำ 5 เมตร เมื่อ ควำมหนำแน่นของน้ำ เท่ำกับ 1x103 kg/m3 และ ควำมดันบรรยำกำศเท่ำกับ 1.01x105 N/m2 วิธีทา P = Pa + น้ำgh P = (1.01x105)+(1x103 x10 x 5 ) P = 1.51x105 N/m2 ตัวอย่างที่ 6 คว่ำหลอดแก้วบรรจุปรอท ลงในอ่ำงปรอท ในขณะที่ควำมดันบรรยำกำศมีค่ำเท่ำกับ 76 ซม.ของปรอท ดังรูป ควำมดันภำยในหลอดแก้วที่ X มีค่ำกี่ มม.ของปรอท วิธีทา Pที่ X = 76 + 4 ซม.ของปรอท = 80 ซม.ของปรอท = 800 มม.ของปรอท ตอบ ควำมดันภำยในหลอดแก้วที่ X มีค่ำ 800 มิลลิเมตรของปรอท แรงดันที่เขื่อนกั้นน้า แรงดัน = ควำมดันเฉลี่ย x พื้นที่ที่ถูกกระทำ F  =   2 P Pบน  ล่าง x A F  =   2 0  gH ( l H ) F  = 2 1 g l H2 Pบรรยากาศ h Pบรรยากาศ h 4 ซม.ของปรอท H l Pบน Pล่าง F
  • 5. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 5 กรณีที่แรงดันที่เขื่อนกันน้ำทั้งสองด้ำน จะได้แรงดันที่กระทำต่อ เขื่อนดังนี้ จำกรูป F = F1 – F2 F = ( 2 1 g l H2 )1 – ( 2 1 g l H2 )2 ตัวอย่างที่7 ประตูน้ำแห่งหนึ่งกว้ำง 10 เมตร มีระดับน้ำในประตูสูง 12 เมตร นอกประตูสูง 4 เมตร จงหำแรงที่ เกิดกับประตูน้ำเท่ำกับเท่ำไร วิธีทา F = ( 2 1 g l H2 )1 – ( 2 1 g l H2 )2 F = ( 2 1 x103x10x10x122 )1 – ( 2 1 x103x10x10x42)2 F = 6.4 x 106 นิวตัน ( N ) รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบงาน 1.1 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที เรื่อง ควำมหนำแน่น และควำมดันในของไหล 1. ให้นักเรียนเขียนแสดงควำมคิดเห็นว่ำ ควำมดันที่เกิดบนพื้นโต๊ะ เนื่องจำกขวดที่บรรจุน้ำในลักษณะตั้งขวด และนอนขวด แตกต่ำงกันอย่ำงไร รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบงาน 1.2 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( P ) เวลา 40 นาที เรื่อง ควำมหนำแน่น และควำมดันในของไหล 1. ให้นักเรียนสรุปสำระสำคัญที่ได้จำกกำรสืบค้น ข้อมูล และบันทึกลงในสมุด 1.1 ควำมดัน 1.2 ควำมดันของของเหลว F1 F2 F1 F2
  • 6. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 6 1.3 ควำมดันเกจ 1.4 ควำมดันบรรยำกำศ 2. ให้นักเรียนเติมคำ หรือข้อควำมลงในช่องว่ำงให้ถูกต้อง 2.1 ควำมดัน หมำยถึง ………………………………………..…………………………………………………………………………………………. 2.2 ณ ตำแหน่งใดๆ ในของเหลว แรงดันของของเหลวมี……………….……………..รอบตำแหน่งนั้น 2.3 ของเหลวที่อยู่ติดกับภำชนะจะส่งแรงดันออกใน……………………………….……….กับผิวภำชนะที่ของเหลวนั้นสัมผัสอยู่ 2.4 ภำยใต้สภำพแรงดึงดูดของโลก ควำมดันของของเหลว ณ ตำแหน่งใดๆ ขึ้นกับ …………………………………………………………………………………………………………..……………………………………… 2.5 สมกำร ควำมดันของของเหลว ณ ตำแหน่งใดๆ คือ……………………………………………………….………………………… 2.6 ในภำชนะปิด ปริมำตรของของเหลวจะ…………………………………………….. เมื่อเพิ่มแรงดันมำกขึ้น 2.7 ควำมดันของของเหลวจะมีควำมสัมพันธ์กับควำมลึกของของเหลวคือ……………………………………………………………… 2.8 ควำมดันของของเหลวจะมีควำมสัมพันธ์กับรูปร่ำงของภำชนะและปริมำตรของของเหลวอย่ำงไร ……………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2.9 ควำมดันเกจ คือ …………………………………………………………………………………………………………….....………….………... 2.10 ควำมดัน 1 บรรยำกำศ มีค่ำเท่ำกับ …………………………………………………………………………………………..……………… 2.11 โต๊ะตัวหนึ่งมวล 30 กิโลกรัม วำงตัวอยู่บนพื้น โดยขำโต๊ะทั้งสี่สัมผัสพื้น ขำโต๊ะแต่ละข้ำงมีพื้นที่หน้ำตัด 125 ตำรำงเซนติเมตร จงหำควำมดันที่ขำโต๊ะแต่ละข้ำง วิธีทา P = A F = - 4 4 x 125 x 10 .......... = …………………… นิวตันต่อตำรำงเมตร 2.12 จำกรูปก้นภำชนะมีพื้นที่ 50 ตร.ซม. จงหำแรงดันของน้ำที่ก้นภำชนะในหน่วยนิวตัน วิธีทา P = A F F = PA =  g h A = 1 x 103 x 10 x 30 x 10- 2 x ………… F = …………………… นิวตัน 2.13 หลอดแก้วยำว 50 ซม. คว่ำแล้วกดให้ปำกหลอดต่ำกว่ำผิวน้ำ 3 เมตร ปรำกฏว่ำ น้ำดันเข้ำไปในหลอดได้ 40 ซม. จงหำควำมดันของแก๊สในหลอดนี้ เมื่อควำมดันอำกำศเท่ำกับ 1x105 N/m2 วิธีทา P = Pa +  g h = …………….. + 1 x 103 x 10 x …………… = ……………….. นิวตันต่อตำรำงเมตร 20 cm 10 cm 15 cm น้า หลอดแก้ว แก๊ส 50 ซม. 40 ซม. จากปากแก้วถึงผิวน้า 3 เมตร
  • 7. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 7 2.14 จงพิจำรณำจำกรูป ของเหลวชนิดเดียวกันที่ต่อถึงกัน ควำมดันของของเหลวในข้อใดถูกต้อง และ ข้อใดผิด ……….. ก. PA  PB และ ( PE = PF )  PG ……….. ข. PC  PE และ ( PD = PB )  PG ……….. ค. PG  PE และ ( PC = PD )  PA ……….. ง. PA = PB = PE = PF = PG 2.15 เขื่อนแห่งหนึ่งระดับของน้ำเหนือเขื่อนสูง 15 เมตร ระดับของน้ำใต้เขื่อนสูง 10 เมตร ถ้ำเขื่อนยำว 60 เมตร จง หำว่ำขณะนั้นตัวเขื่อนจะรับแรงดันของน้ำกี่นิวตัน วิธีทา F = 2 1  g l h2 - 2 1  g l h2 F = 2 1 x 1x103 x 10 x ……….x( 15 )2 - 2 1 x 1x103 x ……… x 60 x( …… )2 = ………….. นิวตัน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบงาน 1.3 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที เรื่อง ควำมหนำแน่น และควำมดันในของไหล 1. โต๊ะตัวหนึ่งมวล 40 กิโลกรัม วำงตัวอยู่บนพื้น โดยขำโต๊ะทั้งสี่สัมผัสพื้น ขำโต๊ะแต่ละข้ำงมีพื้นที่หน้ำตัด 125 ตำรำง เซนติเมตร จงหำควำมดันที่ขำโต๊ะแต่ละข้ำง 2. จำกรูปก้นภำชนะมีพื้นที่ 50 ตร.ซม. จงหำแรงดันของน้ำที่ก้นภำชนะในหน่วยนิวตัน A B C D E F G 25 cm 5 cm 15 cm
  • 8. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 8 3. หลอดแก้วยำว 30 ซม. คว่ำแล้วกดให้ปำกหลอดต่ำกว่ำผิวน้ำ 2 เมตร ปรำกฏว่ำ น้ำดันเข้ำไปในหลอดได้ 20 ซม. จงหำควำมดันของแก๊สในหลอดนี้ เมื่อควำมดันอำกำศเท่ำกับ 1x105 N/m2 4. จงพิจำรณำจำกรูป ของเหลวชนิดเดียวกันที่ต่อถึงกัน ควำมดันของของเหลวใดต่อไปนี้ ก. มีค่ำมำกที่สุด ตอบ ……………………………………… ข. มีค่ำเท่ำกัน ตอบ ……………………………………… ค. มีค่ำน้อยที่สุด ตอบ ……………………………………… 5. เขื่อนแห่งหนึ่งระดับของน้ำเหนือเขื่อนสูง 30 เมตร ระดับของน้ำใต้เขื่อนสูง 10 เมตร ถ้ำเขื่อนยำว 100 เมตร จงหำว่ำ ขณะนั้นตัวเขื่อนจะรับแรงดันของน้ำกี่นิวตัน รายวิชา ฟิสิกส์ 6 แบบฝึกทักษะ 1 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 คะแนน 5 คะแนน เวลา 20 นาที เรื่อง ควำมหนำแน่น และควำมดันในของไหล ตอนที่ 1 ให้กำเครื่องหมำย / หน้ำข้อที่ถูก และกำเครื่องหมำย  หน้ำข้อที่ผิด ……1. ความดันหมายถึง แรงหรือน้าหนักที่กระท้าตั งฉากลงบนพื นที่หนึ่งตารางหน่วย ……2. ณ ต้าแหน่งใดๆ ในของเหลว แรงดันของของเหลวมีทุกทิศทางรอบต้าแหน่งนั น ……3. ของเหลวที่อยู่ติดกับภาชนะจะส่งแรงดันออกในทิศตั งฉากกับผิวภาชนะที่ของเหลวนั นสัมผัสอยู่ ……4. ภายใต้สภาพแรงดึงดูดของโลก ความดันของของเหลว ณ ต้าแหน่งใดๆ ขึ นกับความลึกของต้าแหน่งนั น ที่วัดจากผิว ของเหลว เท่านั น ……5. ภายใต้สภาพแรงดึงดูดของโลก ความดันของของเหลว ณ ต้าแหน่งใดๆ ขึ นกับความหนาแน่นของของเหลวเท่านั น น้ำ หลอดแก้ว แก๊ส 30 ซม. 20 ซม. จากปากแก้วถึงผิวน้า 2 เมตร A B C D E F G
  • 9. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส ์6 เรอื่ง ความหนาแน่น และความดันในของไหล หน้า 9 ……6. ภายใต้สภาพแรงดึงดูดของโลก ความดันของของเหลว ณ ต้าแหน่งใดๆ ขึ นกับความลึกของต้าแหน่งนั น ที่วัดจากผิว ของเหลว และความหนาแน่นของของเหลว ……7. ในภาชนะปิด ปริมาตรของของเหลวจะคงที่ เมื่อเพิ่มแรงดันมากขึ น ……8. ความดันของของเหลวจะเป็นส่วนกลับกับความลึกของของเหลวนั น ……9. ความดันของของเหลวขึ นอยู่กับรูปร่างของภาชนะและปริมาตรของของเหลว ……10. ความดันเกจ คือความดันที่เกิดขึ นเนื่องจากน้าหนักของของเหลวเท่านั น ตอนที่ 2 ให้นักเรียนเลือกคำตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียน O ล้อมรอบข้อนั้น 11. โต๊ะตัวหนึ่งมวล 30 กิโลกรัม วำงตัวอยู่บนพื้น โดยขำโต๊ะทั้งสี่สัมผัสพื้น ขำโต๊ะแต่ละข้ำงมีพื้นที่หน้ำตัด 125 ตำรำง เซนติเมตร จงหำควำมดันที่ขำโต๊ะแต่ละข้ำง ก. 3x103 N/m2 ข. 4x103 N/m2 ค. 5x103 N/m2 ง. 6x103 N/m2 12. จำกรูปก้นภำชนะมีพื้นที่ 50 ตร.ซม. จงหำแรงดันของน้ำที่ก้นภำชนะในหน่วยนิวตัน ก. 1.25 ข. 12.5 ค. 25 ง. 125 13. หลอดแก้วยำว 30 ซม. คว่ำแล้วกดให้ปำกหลอดต่ำกว่ำผิวน้ำ 3 เมตร ปรำกฎว่ำ น้ำดันเข้ำไปในหลอดได้ 20 ซม. จง หำควำมดันของแก๊สในหลอดนี้ เมื่อควำมดันอำกำศเท่ำกับ 1x105 N/m2 ก. 1.28x105 N/m2 ข. 3.28x105 N/m2 ค. 5.28x105 N/m2 ง. 6.28x105 N/m2 14. จงพิจำรณำจำกรูป ของเหลวชนิดเดียวกันที่ต่อถึงกัน ควำมดันของของเหลวในข้อใดถูกต้อง ก. PA  PB และ ( PE = PF )  PG ข. PC  PE และ ( PD = PB )  PG ค. PG  PE และ ( PC = PD )  PA ง. PA = PB = PE = PF = PG 15. เขื่อนแห่งหนึ่งระดับของน้ำเหนือเขื่อนสูง 20 เมตร ระดับของน้ำใต้เขื่อนสูง 5 เมตร ถ้ำเขื่อนยำว 80 เมตร จงหำว่ำ ขณะนั้นตัวเขื่อนจะรับแรงดันของน้ำกี่นิวตัน ก. 0.1 x 108 ข. 1.5 x 108 ค. 1.6 x 108 ง. 1.7 x 108 20 cm 5 cm 12 cm น้ำ หลอดแก้ว แก๊ส 30 ซม. 20 ซม. จำกปำกแก้วถึงผิวน้ำ 3 เมตร A B C D E F G