SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 11
รายงานการวิจัย
เรื่อง การยืดอายุการเก็บรักษาเห็ดฟาง
(Vovariella volvaceae)
ในสภาพบรรยากาศดัดแปลง
เสนอ
อาจารย์ดอเล๊าะ ดาลี
จัดทำาโดย
นางสาวรีดา สามีแล
รหัสนักศึกษา 404941003
โปรแกรมวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ
อาหาร รายวิชา จุลินทรีย์อุตสาหกรรม
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
การยืดอายุการเก็บรักษาเห็ดฟาง (Vovariella
volvaceae)
ในสภาพบรรยากาศดัดแปลง
1.บทนำา
เห็ดฟาง มีชื่อสามัญว่า straw mushroom มีชื่อ
วิทยาศาสตร์ว่า Volvariella volvaceae (Bull ex.
Fries.) (1) จัดเป็นเชื้อราแท้ (true fungi) ชนิดหนึ่งที่อยู่
ในชั้น (class) Bacidiomycetes ,การดำารงชีวิตโดย
อาศัยอินทรีย์สารจากซากพืชที่ตายแล้ว (saprophyte) มี
วงจรชีวิตแบบ prirnary homothallism (2) เห็นฟางมี
แหล่งผลิตที่สำาคัญอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ จังหวัดที่มี
การผลิตเห็ดฟางมากได้แก่ขอนแก่น นครราชสีมา
นครนายก นครปฐม สระบุรี สุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา
และสุราษฏร์ธานี และมีประปรายในพื้นที่ที่มีการทำานา
เกษตรกรที่ทำาเห็ดฟางเป็นอาชีพเสริมมีรายได้เฉลี่ย
มากกว่าการทำานาซึ่งเป็นอาชีพหลัก เห็ดฟางนอกจาก
บริโภคสดภายในประเทศแล้วยังมีการแปรรูปเป็นเห็ดฟาง
แห้ง เห็ดฟางกระป๋อง และแช่เย็น มีตลาดที่สำาคัญได้แก่
ฮ่องกง ญี่ปุ่น สิงค์โปร์ และออสเตรเสีย (3)
เห็ดสดโดยสรีรวิทยาแล้ว มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
การเจริญเติบโตและเน่าเสียได้ง่ายและรวดเร็วกว่าผลิตผล
ทางการเกษตรอื่น ๆ (4) เกษตรการที่ผลิตเห็ดฟางสดยัง
ขาดความรู้และความเข้าใจในการถนอมและเก็บรักษา จึง
มักถูกกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง เพื่อเป็นการยึดอายุการ
เก็บรักษาเห็ดฟางสดให้ยาวนานขึ้นโดยการนำาเอา
เทคโนโลยีการเก็บรักษาแบบดัดแปลงบรรยากาศ
(Modified atmosphere packaging : MAP) เป็นที่
นิยมกันอย่างแพร่หลายในยุโรปและอเมริกาเนื่องจาก
สามารถยึดอายุการเก็บรักษาผลิตผลสดที่แปรรูปพร้อม
บริโภคและลดการเน่าเสีย (5) มาประยุกต์ใช้กับเห็ดฟาง
สด ในปี ค.ศ. 1998 Simon และ Gurria (6) ทดลอง
เก็บรักษาเห็ด Mommon mushroom ภายใต้สภาพ
MAP ด้วยฟิล์ม 4 ชนิด polyvinyl chloride (PVC)
ความหนา 12 ไมโครเมตรและ PVC ที่ไม่เจาะรู ฟิล์ม
OPP (35 PA160) และฟิล์ม polyethylene (PE) (35
PA260) เก็บที่ 4 และ 10 องศาเซลเซียส พบว่าฟิล์ม
PVC ทั้งสองชนิดสามารถป้องการสูญเสียนำ้าจากเห็ดได้
เป็นอย่างดี ฟิล์ม PVC ที่เจาะรูมีปริมาณออกซิเจนและ
คาร์บอนไดออกไซด์ไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก แต่ยังสามารถ
กันกับกันการเกิดสภาพการหายใจที่ไม่ใช่ออกวิเจน ใน
สภาพ MAP ของภาชนะที่ใช้ฟิล์ม PVC ที่ไม่เจาะรูเกิดมี
การพัฒนาของเกิดขึ้นภาชนะที่ใช้ฟิล์ม PE มีหยดนำ้าเกิด
ขึ้นภายในภาชนะ เนื่องจากไม่สามารถถ่ายหน้าออกจาก
ภาชนะได้ ฟิล์ม oriented polypropylene (OPP) มี
CO2 สูงขึ้นอย่างมาก ทั้งฟิล์ม PE และ OPP ไม่สามารถ
รักษาคุณภาพของเห็ดได้ คุณภาพของเห็ดก่อนการเก็บ
รักษามีผลอย่างมากต่อการเก็บรักษา เห็ดในฟิล์มพลาสติก
และคณะ (7) ศึกษาการเก็บรักษาเห็ด โดยการห่อหุ้มด้วย
ฟิล์มพลาสติก เก็บรักษาอุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส และ
อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียสนาน ที่อุณหภูมิ 5 องศา
เซลเซียส และอุณหภูมิ 10 องศาเกิดสภาพ passive
MAP เกิดขึ้น และผลิตผลยังมีคุณภาพดีความชื้นสัมพัทธ์
ภายในภาชนะบรรจุมีผลต่อคุณภาพของเห็ด
ดังนั้นแนวทางการในการยึดอายุการเก็บรักษาเห็ดให้
คงเป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับเกษตรกร หากสามารถเก็บรักษา
เห็ดภายหลังการเก็บเกี่ยวให้มีอายุการวางขายที่ยาวนาน
มากขึ้น การผสมผสานเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวใน
การเตรียมเห็ดฟางให้มีคุณภาพก่อนการเก็บรักษาใน
ภาชนะแบบดัดแปลง ให้เหมาะสมกับเห็ดฟางสดสามารถ
นำาไปปฏิบัติได้จักเป็นแนวทางหนึ่งในการช่วยแก้ปัญหา
ให้กับเกษตรกรได้ราคาดีขึ้น
2.อุปกรณ์และวิธีการ
ติดต่อเกษตรกรที่ทำาอาชีพเพาะเห็ดฟางเป็นอาชีพ
เสริมในจังหวัดสระบุรี เพื่อนำาผลิตผลจากโรงเรือนมา
ทำาการทดลองนำาเห็ดมาทำาความสะอาดโดยเอาเศษฟาง
และวัสดุเพาะออกจากนั้นนำามาคัดขนาดออกเป็นสามขนาด
คือขนาดใหญ่กลางและเล็ก เลือกเฉพาะขนาดใหญ่และ
กลางมาทำาการทดลอง โดยการทดลองแบ่งออกเป็น 5 การ
ทดลองดังนี้
การทดลองที่ 1 ศึกษาชนิดถุงพลาสติกที่เหมาะสมต่อ
การเก็บเกษตรกองฟางสด
นำาเห็ดที่คัดเลือกดีแล้วมาเป่าด้วยลมเย็นให้เห็ดแห้ง
ทำาการบ่มเห็ดฟางในถุงพลาสติกชนิดต่าง ๆ ปริมาตร 2.5
ลิตร ความหนา 60 ไม่ครอน ที่มีถาดฤามรองอยู่ภายใน
ขนาดบรรจุถุงละ 300 กรัม แล้วปิดปากถุงด้วยเครื่อง
Hand sealwe NT 30 แล้วดูดอากาศออกจากถุงด้วย
อากาศ (suction pump) จนถุงสืบติดกับเห็ดจากยนนั้น
จึงเต็มอากาศเข้าไปภายในถุง ให้มีปริมาตรประมาณ 2.5
+ 0.2 ลิตร เก็บรักษาถุงพลาสติกที่บรรจุเห็ดฟางอุณหภูมิ
10 องศาเซลเซียสวางแผนการทดลองแบบ Completely
Randomize Design วางแผ่นทำาการทดลอง 4 ซำ้า ๆ ละ
2 ถุง ทำาการวิเคราะห์ผลด้วย (GRD) SAS โดยกำาหนดสิ่ง
ทดลองดังต่อไปนี้ Tr1 = บรรจุใน Tr2 = บรรจุในถุง
LLDPE Tr3 = บรรจุในถุง PP
3.ทำาการทดลอง
1.อายุการเก็บรักษา
2.ร้อยละของการสูญเสียนำ้าหนัก
ทำาการชั่งนำ้าหนักเห็ดฟางก่อนและหลังการเก็บ
รักษา คำานวณร้อยละของการสูญเสียนำ้าหนักจากสมการ
นำ้าหนักก่อน – นำ้าหนักหลังการเก็บรักษา × 100 นำ้าหนัก
ก่อนการเก็บรักษา
3. ความแน่นเนื้อ (Firmness) วัดความแน่นเนื้อด้วย
เครื่องมือ Firmness tester รุ่น Mod. FT 372 (8-
72Lbs.) ขนาดหัวมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร วัด
ค่าออกมาเป็น kg/gm2
โดยวัดบริเวณโคนดอกเห็ด
4. สี ทำาการวัดสีด้วยเครื่อง Tristimulous
colorimeter ของ Hunter lap รุ่น DP 9000 TM
บันทึกสีก่อนการเก็บรักษาและเมื่อเสื่อมสภาพการบริโภค
การทดลองที่ 2 ศึกษาอิทธิพลของ CO2 และนำ้าหนัก
บรรจุที่ ต่ออายุและคุณภาพทางการศึกษา
นำาเห็ดที่คัดเลือกดีแล้วมาเป่าด้วยลมเย็นให้เห็นแห้ง
ทำาการบรรจุเห็ดฟางในถุงพลาสติกชนิด PP ขนาด 20.5
× 30 ตารางเซนติเมตร ปริมาตร 2.5 ลิตร ที่มีถาดโฟม
รองอยู่ภายใน เตรียมถุงบรรจุรูปขวาขนาด 100 กรัมใส่ที่
ก้นถาดก่อนบรรจุเห็ด แล้วปิดปากถุงด้วยเครื่อง Hand
sealer NT 30 แล้วดูดอากาศออกจากถุงด้วยเครื่องดูด
อากาศ (suction pump) จนถุงลืบติดกับเห็ดจากนั้นจึง
ทำาการ fiushing ก่อนเติมก๊าซผสมที่มีอัตราส่วนของ
ออกซิเจนต่อคาร์บอนไดออกไซด์ที่ความเข้มข้นต่าง ๆ
และอากาศปกติเข้าไปภายในถุง ให้มีปริมาตรประมาณ
2.5 + 0.2 ลิตร เก็บรักษาถุงพลาสติกที่บรรจุเห็ดฟางที่
อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียสความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 90 –
95 วางแผนการทดสอบแบบ Completely Randomize
Design (CRD) จัดสิ่งทดลองแบบ factorials ทำาการ
ทดลอง 4 ซำ้า ๆ ละ 2 ถุง ทำาการวิเคราะห์ผลด้วย
โปรแกรม SAS โดยกำาหนดปัจจัยต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
ปัจจัย A อัตราส่วนก๊าซผสม CO2 : O2 มี 4 ระดับคือ
5.5, 10 : 5, และ 15.5 และอากาศปกติ
ปัจจัย B นำ้าหนักบรรจุ 3 ระดับคือ 100 300 และ
500 กรัม
บันทึกผลการทดลอง
1.เช่นเดียวกับการทดลองที่ 1
2.ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ออกซิเจน ด้วย
เครื่อง Gas chromatography (Shimadze GC-14A)
ผ่านคอลัมน์เหล็กไร้สนิม (stainless steel) ความยาว
2.5 เมตร ที่บรรจุด้วย Porapack Q และคอลัมน์เหล็กไร้
สนิม (stainless steel) ความยาว 1.8 เมตรบรรจุด้วย
Molecuiar Sieve 5A ตามลำาดับ วิเคราะห์ปริมาณด้วย
TCD Detector (thermal conductivity detector)
3.คำานวณจุดสมดุลของคาร์บอนไดออกไซด์และ
ออกซิเจนตามวิธีการของ Delly และ Rizvi (9)
การทดลองที่ 3 อิทธิพลของฟิล์มพลาสติกที่มีต่ออายุ
และคุณภาพการเก็บรักษา
นำาเห็ดที่คัดเลือกดีแล้วมาบรรจุในถาดพลาสติกขนาด
12.4 ×18.4 ×4.5 ลูกบาศก์ก์เซนติเมตรปริมาตร 0.78
ลิตรขนาดบรรจุถาดละ 100, 300 และ 500 กรัมแล้วหุ้ม
ด้วยฟิล์มพลาสติก PVC เก็บรักษาถุงพลาสติกที่บรรจุเห็ด
ฟางที่อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียสความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ
90 – 95 วางแผนการทดลองแบบ Completely
Randomize Design (CRD) ทำาการทดลอง 4 ซำ้า ๆ ละ
2 ถุง ทำาการวิเคราะห์ผลด้วยโปรแกรม SAS
บันทึกผลการทดลอง
1.เช่นเดียวกับการทดลองที่ 1
2.ป ริ ม า ณ reducing sugar (RS) แ ล ะ total
sugar (TS) ตามวิธีการของ Smith และคณะ
(10)
การทดลองที่ 4 อิทธิพลของถุงพลาสติกดัดแปลงที่มี
ต่ออายุและคุณภาพการเก็บรักษา
ทำาการบรรจุเห็ดฟางในถุงพลาสติกดัดแปลง (PP –
Remve) โดยมีส่วนประกอบของพลาสติกชนิด PP ความ
หนา 60 ไมโครเมตรและผ้าใยสังเคราะห์ Romye อย่าง
ละร้อยละ 6.25 ของพื้นที่ถุงขนาด 20.5 × 30 ตาราง
เซนติเมตรปริมาตร 2.5 ลิตร ที่มีถาดไฟรองอยู่ภายใน
ขนาดบรรจุถุงละ 100 300 และ 500 กรัม ปิดปากถุง
ด้วยเครื่อง Hand sealer NT 30 เก็บรักษาถุงพลาสติกที่
บรรจุเห็ดฟางที่ 10 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ร้อย
ละ 90 – 95 วางแผนการทดลองแบบ Completely
Randomize Design (CRD) ทำาการทดลอง 4 ซำ้า ๆ ละ
2 ถุง ทำาการวิเคราะห์ผลด้วยโปรแกรม SAS
บันทึกผลการทดลอง
1.เช่นเดียวกับการทดลองที่ 1
2.ปริมาณ reducing sugar (RS) ตามวิธีการของ
Smith และคณะ (10)
การทดลองที่ 5 การศึกษาผลของ aminoethoxy
(AVC) ต่อการเก็บรักษา
นำาเห็ดที่คัดเลือกดีแล้วมาเป่าด้วยลมเย็นให้เห็ดฟาง
ดำาแล้วมาพ่นด้วยสารละลาย AVG ที่ความเข้มข้นต่าง ๆ ที่
มองเห็นให้แห้งแล้วนำามาบรรจุในถาดพลาสติกขนาด
12.4 × 18.4 × 4.5 เซนติเมตรปริมาตร 0.78 ลิตร
ขนาดบรรจุถาดละ 300 หุ้มถาดถ้วยฟิล์มพลาสติก PVC
เก็บรักษาถุงพลาสติกที่บรรจุเห็ดฟางตำ่าอุณหภูมิห้อง
ความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 90 – 95 วางแผนการทดลอง
แบบ Completely Randomize Desing (CRD) ทำาการ
ทดลอง 4 ซำ้า ๆ ละ 2 ถุง ทำาการวิเคราะห์ผลด้วย
โปรแกรม SAS แบ่งสิ่งทดลองออกเป็น 4 สิ่งทดลองดังนี้
Tr1 = control ไม่พ่นด้วย Tr2 = ใช้ความเข้มข้น AVG
100 ppm Tr3 = ใช้ความเย็นชื้น AVG 300 ppm.
Tr4 = ใช้ความเข้มข้น AVG 500 ppm
บันทึกผลการทดลอง
1.เช่นเดียวกับการทดลองที่ 1
3.ผลและวิจารณ์
การทดลองที่ 1 ศึกษาชนิดถุงพลาสติกที่เหมาะสมตอ
การเก็บรักษาเห็ดฟางสด
จากการทดลองพบว่า เห็ดจากทุกชนิดของถุง
สามารถเก็บอยู่ได้นาน 3 วันก่อนเสื่อมสภาพไป สีของดอก
เห็ดวัตถุค่า L และค่า b ไม่แตกต่างจากเริ่มต้นทำาการ
ทดลองทางสถิติ (ไม่แสดงตัวเลข) แต่ค่า a ลดลงจากเริ่ม
ต้นทำาการทดลอง สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าเนว่าเห็ด
คลำ้าลงเล็กน้อย จากการทดลองในจิตร (2540) โดย
ทำาการเห็ดฟางสด 200 กรัม ในถุง โดยทำาการดูดออก
จากถุงร้อยละ 0, 5, 10 และ 15 พบว่าเห็ดที่เก็บในถุง
pp สดมีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดีกว่าถุงชนิดอื่น แต่
ถุงเห็ดฟางเปลี่ยนสีเป็นนำ้าตาล
ความหนาแน่นของเห็ดลดลงจากเริ่มต้นทำาการ
ทดลอง (ไม่แสดงตัวเลข) แต่ความแน่นเนื้อของดอกเห็ด
ระหว่างถุงพลาสติกมีความแน่นเนื้อเมื่อสิ้นสุดการทดลอง
ไม่แตกตามสถิติ (Pr<0.05) ทุกถุงมีไอนำ้าเกาะข้างถุง
ก่อนเห็ดเสื่อมจะมีนำ้าไกลออกมาจากเห็ด หลังจากนั้น 1
วันดอกเห็ดจะมีคุณภาพการบริโภค การที่เห็ดสีคลำ้าลงอาจ
เนื่องมาจากเกิดออกซิเดชั่นระหว่างอากาศและสารในกลุ่ม
phenolic จากดอกเห็ด จากการรายงานของ Mayer การ
เกิดสีนำ้าตาบในผักและผลไม้สดเกิดการการทำาเอไซม์ ผล
ดังกล่าวทำาให้เกิดสีนำ้าตาลขึ้น และทำาให้คุณภาพควร
บริโภคลดลง การที่ทุกถุงมีไอนำ้าเกาะข้างถุงนั้นเนื่องมาก
จากนำ้ากระบวนการหายใจไม่สามารถถ่ายทอดออกจากถุง
ไปสู่ภายนอกได้เนื่องจากถุงพลาสติกแต่ละชนิดที่นำามา
ทำาการทดลองมีคุณสมบัติในการให้นำ้าผ่านเข้าออกได้น้อย
ยังพบว่านำ้าที่เกาะอยู่ข้างในสาเหตุที่สำาคัญทำาให้เห็ดฟาง
สดเน่าเสียได้
การทดลองที่ 2 ศึกษาอิทธิพลของ CO2 นำ้าหนัก
บรรจุที่มีต่ออายุและคุณภาพการเก็บรักษา
ถุงพลาสติกที่มีความหนา 60 ไมโครเมตรเมื่อเปรียบ
เทียบเครื่องนำ้าหนัก พบว่ามีปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์
เพิ่มขึ้นตามตรวจโดยขนาดบรรจุที่ 100 300 และ 500
กรัม มีปริมาณ ร้อยละ 15.31.6.15, 20.4.52 และ
20.26.9.9 ตามลำาดับ 12 ชั่วโมงหลังจากบรรจุเสร็จ เห็ด
ฟางนำ้าหนักบรรจุ 100 ที่มีอายุการเก็บรักษานาน 5 วัน มี
ปริมาณ เป็น เห็ดฟางนำ้าหนักบรรจุ 300 กรัมมีอายุการ
เก็บรักษานานวัน มีปริมาณ เป็น 18.18 3.31 และเห็ด
ฟางนำ้าหนักบรรจุ 500 กรัมมีอายุการเก็บรักษานาน 2 วัน
มีปริมาณ 20.26 3.47 (ภาพที่ 1) อายุการเก็บรักษาจะ
แปรผกผันกับนำ้าหนักที่เพิ่มขึ้น
ปริมาณ CO2 ที่สูงขึ้นทุกภาชนะบรรจุ เนื่องมาจาก
เห็ดฟางสดมีการหายใจและใช้ O2 ในถุงผลิต CO2 ออก
มาเหมือนกับผลิตผลสดอื่น ๆ (Kader, 1992) การที่
ดัดแปลงบรรยากาศภายในด้วยการเติมก๊าซผสมที่มีความ
เข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์สูงออกซิเจนที่ตำ่าจะ
สามารถช่วยชะลอการหายใจ และการเสื่อมสภาพของ
ผลิตผลสดได้ (14) แต่จากการทดลองเห็ดฟางสดตอบ
สนองก๊าซผสมที่มีปริมาณ CO2 : O2 และ 15 : 5 ได้ดี
อาจเนื่องจากสภาพที่มีความเข้มข้นของ CO2 ที่สูง ไปยัง
ยั้งกระบวนการหายใจ มีผลให้เห็ดมีการเปลี่ยนแปลงทาง
สรีรวิทยาน้อยตั้งแต่เริ่มต้น แต่กลับพบว่าไม่แตกต่างกันกับ
ที่แทนที่ด้วยอากาศปกติ อาจเนื่องมาจากเห็ดได้ใช้ O2 ใน
ถุงที่บรรจุอากาศผลิตเป็น CO2 ในความเข้มข้นที่สูงในถุง
ในวันที่ 2 ใกล้เคียงกับถุงที่บรรจุก๊าซผสมที่มีปริมาณ CO2
: O2 ร้อยละ 15 : 5 (ภาพที่ 2) ในสภาพดังกล่าวผลจากที่
มี CO2 ที่สูงจึงไปชะลอการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของ
เห็ด (14) ขณะที่เห็ดไม่ตอบสนองในเชิงบวกกับก๊าซผสม
ในอัตราส่วนอื่น อาจเนื่องมาจากปริมาณออกซิเจนตำ่าเกิน
อาจเกิดการหายใจแบบไม่ใช้ O2 ก่อนที่ปริมาณ CO2 ที่สูง
ขึ้นจะไปชะลอการเปลี่ยนแปลงได้ทัน ซึ่งปกติเห็ดส่วน
ใหญ่มีอัตราการหายใจและความต้องการ O2 ที่สูง เมื่ออยู่
ในสภาพที่มี O2 ตำ่าจึงเกิดการหายใจแบบไม่ใช้ O2 ขึ้นได้
อาจเป็นสาเหตุให้เห็ดฟางในถุงที่มีนำ้าหนักบรรจุมากจึงได้
เน่าเสียและเสื่อมสภาพก่อนเนื่องจากปริมาณอากาศใน
ภาชนะบรรจุไม่เหมาะสมกับปริมาณหรือนำ้าหนักของเห็ด
ฟางที่บรรจุ แม้ว่าถุงพลาสติก PP ที่ใช้เป็นภาชนะบรรจุมี
คุณสมบัติในการให้ออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์
ผ่านเข้าออกได้เมื่อเทียบกับพลาสติกชนิดอื่น ๆ
4.สรุปผลการทดลอง
เห็ดฟางสด 300 กรัม ที่บรรจุในถุงพลาสติกชนิด
HDPE. LLDPE และ PP มีคุณภาพไม่แตกต่างกัน เห็ดฟาง
สดขนาด 100 กรัมบรรจุในถุงพลาสติกชนิด PP หนา 60
ไมโครเมตรขนาด 20.5 ×30 ตารางเซนติเมตรที่เติมด้วย
CO2 : O2 15 : 5 และอากาศปกติสามารถยืดอายุการเก็บ
รักษาได้นาน 5 วัน ก่อนเสื่อมสภาพ ไม่เกิดสภาพสมดุล
ของ CO2 : O2 ภายในภาชนะบรรจุ ฟิล์มพลาสติก PVC
สามารถใช้หุ้มถาดขนาด 12.4 × 18.4 × 4.5 ลูกบาศก์
เซนติเมตรที่บรรจุเห็ดฟางได้ไม่เกิน 100 กรัมได้นาน 5
วัน การคลุงเห็ดฟางด้วยแห้งมันสำาปะหลังสามารถช่วยลด
การเกิดสีนำ้าตาลของเห็ดฟางสดได้ ถุงดัดแปลง PP –
Remye สามารถเก็บรักษาเห็ดผางได้นาน 8 วัน วันที่
อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียสความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 90 –
95 โดยคุณภาพของเห็ดยังบริโภคได้ ถุงดัดแปลง PP –
Remye สามารถพัฒนาเป็นภาชนะบรรจุดัดแปลง ให้
เกษตรกรผู้ค้าปลีก ให้บรรจุเห็ดฟางสดในเชิงพาณิชย์ได้
สาร Amiocthoxy ความเข้มข้น 100 300 และ 500
ไม่มีผลต่อการยึดอายุการเก็บรักษาเห็ดฟางสดได้
เอกสารอ้างอิง
ส่วนวิจัยเกษตรกรรม. ผักและผลิตภัณฑ์ เอกสารวิชาการ
ธนาคารกสิกรไทย. 249 น.
2531.
Mayer, A.M. and Harrel. E., polyphenoloxidase
and their significance in fruit and
vegetable. Ch. 9. in food enzymology. P.f.
fox (Ed.) , p 373 – 398. Elsevier New York,
1991
ไม่มีวารสารต้นฉบับที่ใช้อ่าน
ไม่ได้กำากับด้วยด้วยอ้างอิงสำาหรับทุกประเด็นที่
เขียน
สรุปคือ ไม่เข้าเกณฑ์

Más contenido relacionado

Destacado

Joaquin Reyes Resume
Joaquin Reyes ResumeJoaquin Reyes Resume
Joaquin Reyes ResumeJoaquin Reyes
 
Creating an Academic Integrity Website1
Creating an Academic Integrity Website1Creating an Academic Integrity Website1
Creating an Academic Integrity Website1Vanessa Theophille
 
Power point3ciberbulling tsuchiyasanchezmaria paula
Power point3ciberbulling  tsuchiyasanchezmaria paulaPower point3ciberbulling  tsuchiyasanchezmaria paula
Power point3ciberbulling tsuchiyasanchezmaria paulaMariaPaula2410
 
Encuesta de intención de voto
Encuesta de intención de votoEncuesta de intención de voto
Encuesta de intención de votoFlavio Cueva
 
Deccan rummy – how to play points rummy
Deccan rummy – how to play points rummy Deccan rummy – how to play points rummy
Deccan rummy – how to play points rummy Deccan Rummy
 
Navidad 2009
Navidad 2009Navidad 2009
Navidad 2009benjumea
 
Neurocoaching Practico - Hacernos Cargo
Neurocoaching Practico - Hacernos CargoNeurocoaching Practico - Hacernos Cargo
Neurocoaching Practico - Hacernos CargoLuis Gaviria
 
3 клас 30 урок. Пошук інформації для проекту.
3 клас 30 урок. Пошук інформації для проекту.3 клас 30 урок. Пошук інформації для проекту.
3 клас 30 урок. Пошук інформації для проекту.StAlKeRoV
 
1 informe-institucional-ene-abr-2011
1 informe-institucional-ene-abr-20111 informe-institucional-ene-abr-2011
1 informe-institucional-ene-abr-2011Abelinux Leopard
 
103.05.04-104.04.21研習資料
103.05.04-104.04.21研習資料103.05.04-104.04.21研習資料
103.05.04-104.04.21研習資料Chi Hsiang Chan
 
mi barrio (capuchinos)
mi barrio (capuchinos)mi barrio (capuchinos)
mi barrio (capuchinos)susi91
 

Destacado (17)

Joaquin Reyes Resume
Joaquin Reyes ResumeJoaquin Reyes Resume
Joaquin Reyes Resume
 
15.02.2016. 02. Вшивцева А.С. Стрептококкозы.
15.02.2016. 02. Вшивцева А.С. Стрептококкозы.15.02.2016. 02. Вшивцева А.С. Стрептококкозы.
15.02.2016. 02. Вшивцева А.С. Стрептококкозы.
 
Creating an Academic Integrity Website1
Creating an Academic Integrity Website1Creating an Academic Integrity Website1
Creating an Academic Integrity Website1
 
Tulsi green tea
Tulsi green teaTulsi green tea
Tulsi green tea
 
scan0005
scan0005scan0005
scan0005
 
Power point3ciberbulling tsuchiyasanchezmaria paula
Power point3ciberbulling  tsuchiyasanchezmaria paulaPower point3ciberbulling  tsuchiyasanchezmaria paula
Power point3ciberbulling tsuchiyasanchezmaria paula
 
Encuesta de intención de voto
Encuesta de intención de votoEncuesta de intención de voto
Encuesta de intención de voto
 
Deccan rummy – how to play points rummy
Deccan rummy – how to play points rummy Deccan rummy – how to play points rummy
Deccan rummy – how to play points rummy
 
Arauco domado
Arauco domadoArauco domado
Arauco domado
 
положення про дагр 2012
положення про дагр 2012положення про дагр 2012
положення про дагр 2012
 
Navidad 2009
Navidad 2009Navidad 2009
Navidad 2009
 
Intro Mpi
Intro MpiIntro Mpi
Intro Mpi
 
Neurocoaching Practico - Hacernos Cargo
Neurocoaching Practico - Hacernos CargoNeurocoaching Practico - Hacernos Cargo
Neurocoaching Practico - Hacernos Cargo
 
3 клас 30 урок. Пошук інформації для проекту.
3 клас 30 урок. Пошук інформації для проекту.3 клас 30 урок. Пошук інформації для проекту.
3 клас 30 урок. Пошук інформації для проекту.
 
1 informe-institucional-ene-abr-2011
1 informe-institucional-ene-abr-20111 informe-institucional-ene-abr-2011
1 informe-institucional-ene-abr-2011
 
103.05.04-104.04.21研習資料
103.05.04-104.04.21研習資料103.05.04-104.04.21研習資料
103.05.04-104.04.21研習資料
 
mi barrio (capuchinos)
mi barrio (capuchinos)mi barrio (capuchinos)
mi barrio (capuchinos)
 

Similar a R 404941003

แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงkasetpcc
 
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfการผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfSitthichaiChaikhan
 
Slide โครงงาน
Slide โครงงานSlide โครงงาน
Slide โครงงานe_jaew_ha
 
โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 60892827602
 
การสุ่มตัวอย่างและการเตรียมตัวอย่าง (1).pptx
การสุ่มตัวอย่างและการเตรียมตัวอย่าง (1).pptxการสุ่มตัวอย่างและการเตรียมตัวอย่าง (1).pptx
การสุ่มตัวอย่างและการเตรียมตัวอย่าง (1).pptxSuraCJir
 
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswarsLab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswarsBELL N JOYE
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีPostharvest Technology Innovation Center
 
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖ บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖ กิตติพงษ์ กุมภาพงษ์
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10AKii Fam
 
การศึกษาประสิทธิภาพของสาหร่ายหางกระรอกใ
การศึกษาประสิทธิภาพของสาหร่ายหางกระรอกใการศึกษาประสิทธิภาพของสาหร่ายหางกระรอกใ
การศึกษาประสิทธิภาพของสาหร่ายหางกระรอกใWarot Chainet
 
Presentation gmp
Presentation gmpPresentation gmp
Presentation gmpkhunrit
 
Presentation gmp
Presentation gmpPresentation gmp
Presentation gmpkhunrit
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2565
Postharvest Newsletter ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2565Postharvest Newsletter ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2565
Postharvest Newsletter ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2565Postharvest Technology Innovation Center
 

Similar a R 404941003 (18)

แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
Final1 m6 51
Final1 m6 51Final1 m6 51
Final1 m6 51
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfการผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
 
Biology m4
Biology m4Biology m4
Biology m4
 
Slide โครงงาน
Slide โครงงานSlide โครงงาน
Slide โครงงาน
 
โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6
 
โครงงานกลุ่มที่ 6.doc
โครงงานกลุ่มที่ 6.docโครงงานกลุ่มที่ 6.doc
โครงงานกลุ่มที่ 6.doc
 
การสุ่มตัวอย่างและการเตรียมตัวอย่าง (1).pptx
การสุ่มตัวอย่างและการเตรียมตัวอย่าง (1).pptxการสุ่มตัวอย่างและการเตรียมตัวอย่าง (1).pptx
การสุ่มตัวอย่างและการเตรียมตัวอย่าง (1).pptx
 
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswarsLab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
 
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖ บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10
 
การศึกษาประสิทธิภาพของสาหร่ายหางกระรอกใ
การศึกษาประสิทธิภาพของสาหร่ายหางกระรอกใการศึกษาประสิทธิภาพของสาหร่ายหางกระรอกใ
การศึกษาประสิทธิภาพของสาหร่ายหางกระรอกใ
 
Presentation gmp
Presentation gmpPresentation gmp
Presentation gmp
 
Presentation gmp
Presentation gmpPresentation gmp
Presentation gmp
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2565
Postharvest Newsletter ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2565Postharvest Newsletter ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2565
Postharvest Newsletter ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2565
 

R 404941003

  • 1. รายงานการวิจัย เรื่อง การยืดอายุการเก็บรักษาเห็ดฟาง (Vovariella volvaceae) ในสภาพบรรยากาศดัดแปลง เสนอ อาจารย์ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำาโดย นางสาวรีดา สามีแล รหัสนักศึกษา 404941003 โปรแกรมวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ อาหาร รายวิชา จุลินทรีย์อุตสาหกรรม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
  • 2. การยืดอายุการเก็บรักษาเห็ดฟาง (Vovariella volvaceae) ในสภาพบรรยากาศดัดแปลง 1.บทนำา เห็ดฟาง มีชื่อสามัญว่า straw mushroom มีชื่อ วิทยาศาสตร์ว่า Volvariella volvaceae (Bull ex. Fries.) (1) จัดเป็นเชื้อราแท้ (true fungi) ชนิดหนึ่งที่อยู่ ในชั้น (class) Bacidiomycetes ,การดำารงชีวิตโดย อาศัยอินทรีย์สารจากซากพืชที่ตายแล้ว (saprophyte) มี วงจรชีวิตแบบ prirnary homothallism (2) เห็นฟางมี แหล่งผลิตที่สำาคัญอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ จังหวัดที่มี การผลิตเห็ดฟางมากได้แก่ขอนแก่น นครราชสีมา นครนายก นครปฐม สระบุรี สุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา และสุราษฏร์ธานี และมีประปรายในพื้นที่ที่มีการทำานา เกษตรกรที่ทำาเห็ดฟางเป็นอาชีพเสริมมีรายได้เฉลี่ย มากกว่าการทำานาซึ่งเป็นอาชีพหลัก เห็ดฟางนอกจาก บริโภคสดภายในประเทศแล้วยังมีการแปรรูปเป็นเห็ดฟาง แห้ง เห็ดฟางกระป๋อง และแช่เย็น มีตลาดที่สำาคัญได้แก่ ฮ่องกง ญี่ปุ่น สิงค์โปร์ และออสเตรเสีย (3) เห็ดสดโดยสรีรวิทยาแล้ว มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง การเจริญเติบโตและเน่าเสียได้ง่ายและรวดเร็วกว่าผลิตผล ทางการเกษตรอื่น ๆ (4) เกษตรการที่ผลิตเห็ดฟางสดยัง ขาดความรู้และความเข้าใจในการถนอมและเก็บรักษา จึง มักถูกกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง เพื่อเป็นการยึดอายุการ เก็บรักษาเห็ดฟางสดให้ยาวนานขึ้นโดยการนำาเอา เทคโนโลยีการเก็บรักษาแบบดัดแปลงบรรยากาศ (Modified atmosphere packaging : MAP) เป็นที่ นิยมกันอย่างแพร่หลายในยุโรปและอเมริกาเนื่องจาก สามารถยึดอายุการเก็บรักษาผลิตผลสดที่แปรรูปพร้อม บริโภคและลดการเน่าเสีย (5) มาประยุกต์ใช้กับเห็ดฟาง
  • 3. สด ในปี ค.ศ. 1998 Simon และ Gurria (6) ทดลอง เก็บรักษาเห็ด Mommon mushroom ภายใต้สภาพ MAP ด้วยฟิล์ม 4 ชนิด polyvinyl chloride (PVC) ความหนา 12 ไมโครเมตรและ PVC ที่ไม่เจาะรู ฟิล์ม OPP (35 PA160) และฟิล์ม polyethylene (PE) (35 PA260) เก็บที่ 4 และ 10 องศาเซลเซียส พบว่าฟิล์ม PVC ทั้งสองชนิดสามารถป้องการสูญเสียนำ้าจากเห็ดได้ เป็นอย่างดี ฟิล์ม PVC ที่เจาะรูมีปริมาณออกซิเจนและ คาร์บอนไดออกไซด์ไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก แต่ยังสามารถ กันกับกันการเกิดสภาพการหายใจที่ไม่ใช่ออกวิเจน ใน สภาพ MAP ของภาชนะที่ใช้ฟิล์ม PVC ที่ไม่เจาะรูเกิดมี การพัฒนาของเกิดขึ้นภาชนะที่ใช้ฟิล์ม PE มีหยดนำ้าเกิด ขึ้นภายในภาชนะ เนื่องจากไม่สามารถถ่ายหน้าออกจาก ภาชนะได้ ฟิล์ม oriented polypropylene (OPP) มี CO2 สูงขึ้นอย่างมาก ทั้งฟิล์ม PE และ OPP ไม่สามารถ รักษาคุณภาพของเห็ดได้ คุณภาพของเห็ดก่อนการเก็บ รักษามีผลอย่างมากต่อการเก็บรักษา เห็ดในฟิล์มพลาสติก และคณะ (7) ศึกษาการเก็บรักษาเห็ด โดยการห่อหุ้มด้วย ฟิล์มพลาสติก เก็บรักษาอุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส และ อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียสนาน ที่อุณหภูมิ 5 องศา เซลเซียส และอุณหภูมิ 10 องศาเกิดสภาพ passive MAP เกิดขึ้น และผลิตผลยังมีคุณภาพดีความชื้นสัมพัทธ์ ภายในภาชนะบรรจุมีผลต่อคุณภาพของเห็ด ดังนั้นแนวทางการในการยึดอายุการเก็บรักษาเห็ดให้ คงเป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับเกษตรกร หากสามารถเก็บรักษา เห็ดภายหลังการเก็บเกี่ยวให้มีอายุการวางขายที่ยาวนาน มากขึ้น การผสมผสานเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวใน การเตรียมเห็ดฟางให้มีคุณภาพก่อนการเก็บรักษาใน ภาชนะแบบดัดแปลง ให้เหมาะสมกับเห็ดฟางสดสามารถ นำาไปปฏิบัติได้จักเป็นแนวทางหนึ่งในการช่วยแก้ปัญหา ให้กับเกษตรกรได้ราคาดีขึ้น
  • 4. 2.อุปกรณ์และวิธีการ ติดต่อเกษตรกรที่ทำาอาชีพเพาะเห็ดฟางเป็นอาชีพ เสริมในจังหวัดสระบุรี เพื่อนำาผลิตผลจากโรงเรือนมา ทำาการทดลองนำาเห็ดมาทำาความสะอาดโดยเอาเศษฟาง และวัสดุเพาะออกจากนั้นนำามาคัดขนาดออกเป็นสามขนาด คือขนาดใหญ่กลางและเล็ก เลือกเฉพาะขนาดใหญ่และ กลางมาทำาการทดลอง โดยการทดลองแบ่งออกเป็น 5 การ ทดลองดังนี้ การทดลองที่ 1 ศึกษาชนิดถุงพลาสติกที่เหมาะสมต่อ การเก็บเกษตรกองฟางสด นำาเห็ดที่คัดเลือกดีแล้วมาเป่าด้วยลมเย็นให้เห็ดแห้ง ทำาการบ่มเห็ดฟางในถุงพลาสติกชนิดต่าง ๆ ปริมาตร 2.5 ลิตร ความหนา 60 ไม่ครอน ที่มีถาดฤามรองอยู่ภายใน ขนาดบรรจุถุงละ 300 กรัม แล้วปิดปากถุงด้วยเครื่อง Hand sealwe NT 30 แล้วดูดอากาศออกจากถุงด้วย อากาศ (suction pump) จนถุงสืบติดกับเห็ดจากยนนั้น จึงเต็มอากาศเข้าไปภายในถุง ให้มีปริมาตรประมาณ 2.5 + 0.2 ลิตร เก็บรักษาถุงพลาสติกที่บรรจุเห็ดฟางอุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียสวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomize Design วางแผ่นทำาการทดลอง 4 ซำ้า ๆ ละ 2 ถุง ทำาการวิเคราะห์ผลด้วย (GRD) SAS โดยกำาหนดสิ่ง ทดลองดังต่อไปนี้ Tr1 = บรรจุใน Tr2 = บรรจุในถุง LLDPE Tr3 = บรรจุในถุง PP 3.ทำาการทดลอง 1.อายุการเก็บรักษา 2.ร้อยละของการสูญเสียนำ้าหนัก ทำาการชั่งนำ้าหนักเห็ดฟางก่อนและหลังการเก็บ รักษา คำานวณร้อยละของการสูญเสียนำ้าหนักจากสมการ
  • 5. นำ้าหนักก่อน – นำ้าหนักหลังการเก็บรักษา × 100 นำ้าหนัก ก่อนการเก็บรักษา 3. ความแน่นเนื้อ (Firmness) วัดความแน่นเนื้อด้วย เครื่องมือ Firmness tester รุ่น Mod. FT 372 (8- 72Lbs.) ขนาดหัวมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร วัด ค่าออกมาเป็น kg/gm2 โดยวัดบริเวณโคนดอกเห็ด 4. สี ทำาการวัดสีด้วยเครื่อง Tristimulous colorimeter ของ Hunter lap รุ่น DP 9000 TM บันทึกสีก่อนการเก็บรักษาและเมื่อเสื่อมสภาพการบริโภค การทดลองที่ 2 ศึกษาอิทธิพลของ CO2 และนำ้าหนัก บรรจุที่ ต่ออายุและคุณภาพทางการศึกษา นำาเห็ดที่คัดเลือกดีแล้วมาเป่าด้วยลมเย็นให้เห็นแห้ง ทำาการบรรจุเห็ดฟางในถุงพลาสติกชนิด PP ขนาด 20.5 × 30 ตารางเซนติเมตร ปริมาตร 2.5 ลิตร ที่มีถาดโฟม รองอยู่ภายใน เตรียมถุงบรรจุรูปขวาขนาด 100 กรัมใส่ที่ ก้นถาดก่อนบรรจุเห็ด แล้วปิดปากถุงด้วยเครื่อง Hand sealer NT 30 แล้วดูดอากาศออกจากถุงด้วยเครื่องดูด อากาศ (suction pump) จนถุงลืบติดกับเห็ดจากนั้นจึง ทำาการ fiushing ก่อนเติมก๊าซผสมที่มีอัตราส่วนของ ออกซิเจนต่อคาร์บอนไดออกไซด์ที่ความเข้มข้นต่าง ๆ และอากาศปกติเข้าไปภายในถุง ให้มีปริมาตรประมาณ 2.5 + 0.2 ลิตร เก็บรักษาถุงพลาสติกที่บรรจุเห็ดฟางที่ อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียสความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 90 – 95 วางแผนการทดสอบแบบ Completely Randomize Design (CRD) จัดสิ่งทดลองแบบ factorials ทำาการ ทดลอง 4 ซำ้า ๆ ละ 2 ถุง ทำาการวิเคราะห์ผลด้วย โปรแกรม SAS โดยกำาหนดปัจจัยต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ปัจจัย A อัตราส่วนก๊าซผสม CO2 : O2 มี 4 ระดับคือ 5.5, 10 : 5, และ 15.5 และอากาศปกติ
  • 6. ปัจจัย B นำ้าหนักบรรจุ 3 ระดับคือ 100 300 และ 500 กรัม บันทึกผลการทดลอง 1.เช่นเดียวกับการทดลองที่ 1 2.ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ออกซิเจน ด้วย เครื่อง Gas chromatography (Shimadze GC-14A) ผ่านคอลัมน์เหล็กไร้สนิม (stainless steel) ความยาว 2.5 เมตร ที่บรรจุด้วย Porapack Q และคอลัมน์เหล็กไร้ สนิม (stainless steel) ความยาว 1.8 เมตรบรรจุด้วย Molecuiar Sieve 5A ตามลำาดับ วิเคราะห์ปริมาณด้วย TCD Detector (thermal conductivity detector) 3.คำานวณจุดสมดุลของคาร์บอนไดออกไซด์และ ออกซิเจนตามวิธีการของ Delly และ Rizvi (9) การทดลองที่ 3 อิทธิพลของฟิล์มพลาสติกที่มีต่ออายุ และคุณภาพการเก็บรักษา นำาเห็ดที่คัดเลือกดีแล้วมาบรรจุในถาดพลาสติกขนาด 12.4 ×18.4 ×4.5 ลูกบาศก์ก์เซนติเมตรปริมาตร 0.78 ลิตรขนาดบรรจุถาดละ 100, 300 และ 500 กรัมแล้วหุ้ม ด้วยฟิล์มพลาสติก PVC เก็บรักษาถุงพลาสติกที่บรรจุเห็ด ฟางที่อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียสความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 90 – 95 วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomize Design (CRD) ทำาการทดลอง 4 ซำ้า ๆ ละ 2 ถุง ทำาการวิเคราะห์ผลด้วยโปรแกรม SAS บันทึกผลการทดลอง 1.เช่นเดียวกับการทดลองที่ 1
  • 7. 2.ป ริ ม า ณ reducing sugar (RS) แ ล ะ total sugar (TS) ตามวิธีการของ Smith และคณะ (10) การทดลองที่ 4 อิทธิพลของถุงพลาสติกดัดแปลงที่มี ต่ออายุและคุณภาพการเก็บรักษา ทำาการบรรจุเห็ดฟางในถุงพลาสติกดัดแปลง (PP – Remve) โดยมีส่วนประกอบของพลาสติกชนิด PP ความ หนา 60 ไมโครเมตรและผ้าใยสังเคราะห์ Romye อย่าง ละร้อยละ 6.25 ของพื้นที่ถุงขนาด 20.5 × 30 ตาราง เซนติเมตรปริมาตร 2.5 ลิตร ที่มีถาดไฟรองอยู่ภายใน ขนาดบรรจุถุงละ 100 300 และ 500 กรัม ปิดปากถุง ด้วยเครื่อง Hand sealer NT 30 เก็บรักษาถุงพลาสติกที่ บรรจุเห็ดฟางที่ 10 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ร้อย ละ 90 – 95 วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomize Design (CRD) ทำาการทดลอง 4 ซำ้า ๆ ละ 2 ถุง ทำาการวิเคราะห์ผลด้วยโปรแกรม SAS บันทึกผลการทดลอง 1.เช่นเดียวกับการทดลองที่ 1 2.ปริมาณ reducing sugar (RS) ตามวิธีการของ Smith และคณะ (10) การทดลองที่ 5 การศึกษาผลของ aminoethoxy (AVC) ต่อการเก็บรักษา นำาเห็ดที่คัดเลือกดีแล้วมาเป่าด้วยลมเย็นให้เห็ดฟาง ดำาแล้วมาพ่นด้วยสารละลาย AVG ที่ความเข้มข้นต่าง ๆ ที่ มองเห็นให้แห้งแล้วนำามาบรรจุในถาดพลาสติกขนาด 12.4 × 18.4 × 4.5 เซนติเมตรปริมาตร 0.78 ลิตร ขนาดบรรจุถาดละ 300 หุ้มถาดถ้วยฟิล์มพลาสติก PVC เก็บรักษาถุงพลาสติกที่บรรจุเห็ดฟางตำ่าอุณหภูมิห้อง ความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 90 – 95 วางแผนการทดลอง
  • 8. แบบ Completely Randomize Desing (CRD) ทำาการ ทดลอง 4 ซำ้า ๆ ละ 2 ถุง ทำาการวิเคราะห์ผลด้วย โปรแกรม SAS แบ่งสิ่งทดลองออกเป็น 4 สิ่งทดลองดังนี้ Tr1 = control ไม่พ่นด้วย Tr2 = ใช้ความเข้มข้น AVG 100 ppm Tr3 = ใช้ความเย็นชื้น AVG 300 ppm. Tr4 = ใช้ความเข้มข้น AVG 500 ppm บันทึกผลการทดลอง 1.เช่นเดียวกับการทดลองที่ 1 3.ผลและวิจารณ์ การทดลองที่ 1 ศึกษาชนิดถุงพลาสติกที่เหมาะสมตอ การเก็บรักษาเห็ดฟางสด จากการทดลองพบว่า เห็ดจากทุกชนิดของถุง สามารถเก็บอยู่ได้นาน 3 วันก่อนเสื่อมสภาพไป สีของดอก เห็ดวัตถุค่า L และค่า b ไม่แตกต่างจากเริ่มต้นทำาการ ทดลองทางสถิติ (ไม่แสดงตัวเลข) แต่ค่า a ลดลงจากเริ่ม ต้นทำาการทดลอง สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าเนว่าเห็ด คลำ้าลงเล็กน้อย จากการทดลองในจิตร (2540) โดย ทำาการเห็ดฟางสด 200 กรัม ในถุง โดยทำาการดูดออก จากถุงร้อยละ 0, 5, 10 และ 15 พบว่าเห็ดที่เก็บในถุง pp สดมีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดีกว่าถุงชนิดอื่น แต่ ถุงเห็ดฟางเปลี่ยนสีเป็นนำ้าตาล ความหนาแน่นของเห็ดลดลงจากเริ่มต้นทำาการ ทดลอง (ไม่แสดงตัวเลข) แต่ความแน่นเนื้อของดอกเห็ด ระหว่างถุงพลาสติกมีความแน่นเนื้อเมื่อสิ้นสุดการทดลอง ไม่แตกตามสถิติ (Pr<0.05) ทุกถุงมีไอนำ้าเกาะข้างถุง ก่อนเห็ดเสื่อมจะมีนำ้าไกลออกมาจากเห็ด หลังจากนั้น 1 วันดอกเห็ดจะมีคุณภาพการบริโภค การที่เห็ดสีคลำ้าลงอาจ เนื่องมาจากเกิดออกซิเดชั่นระหว่างอากาศและสารในกลุ่ม phenolic จากดอกเห็ด จากการรายงานของ Mayer การ เกิดสีนำ้าตาบในผักและผลไม้สดเกิดการการทำาเอไซม์ ผล
  • 9. ดังกล่าวทำาให้เกิดสีนำ้าตาลขึ้น และทำาให้คุณภาพควร บริโภคลดลง การที่ทุกถุงมีไอนำ้าเกาะข้างถุงนั้นเนื่องมาก จากนำ้ากระบวนการหายใจไม่สามารถถ่ายทอดออกจากถุง ไปสู่ภายนอกได้เนื่องจากถุงพลาสติกแต่ละชนิดที่นำามา ทำาการทดลองมีคุณสมบัติในการให้นำ้าผ่านเข้าออกได้น้อย ยังพบว่านำ้าที่เกาะอยู่ข้างในสาเหตุที่สำาคัญทำาให้เห็ดฟาง สดเน่าเสียได้ การทดลองที่ 2 ศึกษาอิทธิพลของ CO2 นำ้าหนัก บรรจุที่มีต่ออายุและคุณภาพการเก็บรักษา ถุงพลาสติกที่มีความหนา 60 ไมโครเมตรเมื่อเปรียบ เทียบเครื่องนำ้าหนัก พบว่ามีปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ เพิ่มขึ้นตามตรวจโดยขนาดบรรจุที่ 100 300 และ 500 กรัม มีปริมาณ ร้อยละ 15.31.6.15, 20.4.52 และ 20.26.9.9 ตามลำาดับ 12 ชั่วโมงหลังจากบรรจุเสร็จ เห็ด ฟางนำ้าหนักบรรจุ 100 ที่มีอายุการเก็บรักษานาน 5 วัน มี ปริมาณ เป็น เห็ดฟางนำ้าหนักบรรจุ 300 กรัมมีอายุการ เก็บรักษานานวัน มีปริมาณ เป็น 18.18 3.31 และเห็ด ฟางนำ้าหนักบรรจุ 500 กรัมมีอายุการเก็บรักษานาน 2 วัน มีปริมาณ 20.26 3.47 (ภาพที่ 1) อายุการเก็บรักษาจะ แปรผกผันกับนำ้าหนักที่เพิ่มขึ้น ปริมาณ CO2 ที่สูงขึ้นทุกภาชนะบรรจุ เนื่องมาจาก เห็ดฟางสดมีการหายใจและใช้ O2 ในถุงผลิต CO2 ออก มาเหมือนกับผลิตผลสดอื่น ๆ (Kader, 1992) การที่ ดัดแปลงบรรยากาศภายในด้วยการเติมก๊าซผสมที่มีความ เข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์สูงออกซิเจนที่ตำ่าจะ สามารถช่วยชะลอการหายใจ และการเสื่อมสภาพของ ผลิตผลสดได้ (14) แต่จากการทดลองเห็ดฟางสดตอบ สนองก๊าซผสมที่มีปริมาณ CO2 : O2 และ 15 : 5 ได้ดี อาจเนื่องจากสภาพที่มีความเข้มข้นของ CO2 ที่สูง ไปยัง ยั้งกระบวนการหายใจ มีผลให้เห็ดมีการเปลี่ยนแปลงทาง สรีรวิทยาน้อยตั้งแต่เริ่มต้น แต่กลับพบว่าไม่แตกต่างกันกับ
  • 10. ที่แทนที่ด้วยอากาศปกติ อาจเนื่องมาจากเห็ดได้ใช้ O2 ใน ถุงที่บรรจุอากาศผลิตเป็น CO2 ในความเข้มข้นที่สูงในถุง ในวันที่ 2 ใกล้เคียงกับถุงที่บรรจุก๊าซผสมที่มีปริมาณ CO2 : O2 ร้อยละ 15 : 5 (ภาพที่ 2) ในสภาพดังกล่าวผลจากที่ มี CO2 ที่สูงจึงไปชะลอการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของ เห็ด (14) ขณะที่เห็ดไม่ตอบสนองในเชิงบวกกับก๊าซผสม ในอัตราส่วนอื่น อาจเนื่องมาจากปริมาณออกซิเจนตำ่าเกิน อาจเกิดการหายใจแบบไม่ใช้ O2 ก่อนที่ปริมาณ CO2 ที่สูง ขึ้นจะไปชะลอการเปลี่ยนแปลงได้ทัน ซึ่งปกติเห็ดส่วน ใหญ่มีอัตราการหายใจและความต้องการ O2 ที่สูง เมื่ออยู่ ในสภาพที่มี O2 ตำ่าจึงเกิดการหายใจแบบไม่ใช้ O2 ขึ้นได้ อาจเป็นสาเหตุให้เห็ดฟางในถุงที่มีนำ้าหนักบรรจุมากจึงได้ เน่าเสียและเสื่อมสภาพก่อนเนื่องจากปริมาณอากาศใน ภาชนะบรรจุไม่เหมาะสมกับปริมาณหรือนำ้าหนักของเห็ด ฟางที่บรรจุ แม้ว่าถุงพลาสติก PP ที่ใช้เป็นภาชนะบรรจุมี คุณสมบัติในการให้ออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ ผ่านเข้าออกได้เมื่อเทียบกับพลาสติกชนิดอื่น ๆ 4.สรุปผลการทดลอง เห็ดฟางสด 300 กรัม ที่บรรจุในถุงพลาสติกชนิด HDPE. LLDPE และ PP มีคุณภาพไม่แตกต่างกัน เห็ดฟาง สดขนาด 100 กรัมบรรจุในถุงพลาสติกชนิด PP หนา 60 ไมโครเมตรขนาด 20.5 ×30 ตารางเซนติเมตรที่เติมด้วย CO2 : O2 15 : 5 และอากาศปกติสามารถยืดอายุการเก็บ รักษาได้นาน 5 วัน ก่อนเสื่อมสภาพ ไม่เกิดสภาพสมดุล ของ CO2 : O2 ภายในภาชนะบรรจุ ฟิล์มพลาสติก PVC สามารถใช้หุ้มถาดขนาด 12.4 × 18.4 × 4.5 ลูกบาศก์ เซนติเมตรที่บรรจุเห็ดฟางได้ไม่เกิน 100 กรัมได้นาน 5 วัน การคลุงเห็ดฟางด้วยแห้งมันสำาปะหลังสามารถช่วยลด การเกิดสีนำ้าตาลของเห็ดฟางสดได้ ถุงดัดแปลง PP – Remye สามารถเก็บรักษาเห็ดผางได้นาน 8 วัน วันที่
  • 11. อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียสความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 90 – 95 โดยคุณภาพของเห็ดยังบริโภคได้ ถุงดัดแปลง PP – Remye สามารถพัฒนาเป็นภาชนะบรรจุดัดแปลง ให้ เกษตรกรผู้ค้าปลีก ให้บรรจุเห็ดฟางสดในเชิงพาณิชย์ได้ สาร Amiocthoxy ความเข้มข้น 100 300 และ 500 ไม่มีผลต่อการยึดอายุการเก็บรักษาเห็ดฟางสดได้ เอกสารอ้างอิง ส่วนวิจัยเกษตรกรรม. ผักและผลิตภัณฑ์ เอกสารวิชาการ ธนาคารกสิกรไทย. 249 น. 2531. Mayer, A.M. and Harrel. E., polyphenoloxidase and their significance in fruit and vegetable. Ch. 9. in food enzymology. P.f. fox (Ed.) , p 373 – 398. Elsevier New York, 1991 ไม่มีวารสารต้นฉบับที่ใช้อ่าน ไม่ได้กำากับด้วยด้วยอ้างอิงสำาหรับทุกประเด็นที่ เขียน สรุปคือ ไม่เข้าเกณฑ์