SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 25
Descargar para leer sin conexión
อ่านอย่างไร
ให้ถูกต้อง
และน่าฟัง
ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอด
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
 คาแนะนาเพื่อเป็นแนวทางพัฒนาการอ่าน
สู่มาตรฐานที่ดี
 พัฒนาการที่ดีจะเกิดขึ้นได้ ต้องได้รับ
การฝึกฝนการอ่านที่ถูกว ิธีอย่างต่อเนื่อง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
 ความถูกต้อง
 ความชัดเจน
 ความน่าสนใจ / น่าฟัง
ความถูกต้อง
 ออกเสียงถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์ของการอ่านภาษาไทย
◦ อักขรว ิธี
 การออกเสียง ร และ ล (ดี/เป็นธรรมชาติ/ร เป็น ล/ล เป็น ร)
 การออกเสียงตัวควบกล้า (ดี/ออกเสียงได้/ไม่สับสน)
 การออกเสียงวรรณยุกต์ (ตรง/ไม่ตรง)
 การออกเสียงพยัญชนะ (ตรง/ไม่ตรง)
 การออกเสียงสระ (ตรง/ไม่ตรง)
ความถูกต้อง
 ความถูกต้องตามหลักเกณฑ์การออกเสียงต่างๆ เช่น
◦ คาศัพท์ /คาราชาศัพท์ /คาว ิสามานยนาม (นามเฉพาะ) /คาสมาส-
สนธิ /การอ่านตัวเลขและเครื่องหมายต่างๆ
 วัตรปฏิบัติ, พรหมลิขิต, พยาธิ, สมุลแว้ง, เสลภูมิ,
หนองบัวระเหว
 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี
 ๐๐.๐๕ น., ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖),
 ภบ ๔๑๐๗ กรุงเทพมหานคร
 ความถูกต้องตามบท / ความเป็นจริง เพื่อไม่ให้ความหมาย
เปลี่ยนหรือเสียความ
◦ ไม่ตู่ / ตก / เติม คาหรือความ (แต่ถ้าความหมายไม่เปลี่ยนหรือเสีย
ความก็อนุโลมให้กระทาได้)
คาที่มักอ่านผิด
 กลไก
 กน-ไก
 คณบดี
 คะ-นะ-บอ-ดี
 ชาติพันธุ์
 ชาด-ติ-พัน
 ปรากฏการณ์
 ปรา-กด-กาน, ปรา-กด-ตะ-กาน
 วณิพก
 วะ-นิบ-พก, วะ-นิ-พก
 สร่าง
 ส่าง
 กามว ิตถาร
 กาม-ว ิด-ถาน
คาที่มักอ่านผิด
 กามตัณหา
 กาม-มะ-ตัน-หา
 คุณวิเศษ
 คุน-นะ-ว ิ-เสด
 โฆษณา
 โคด-สะ-นา
 จิตแพทย์
 จิด-ตะ-แพด
 ฉศก
 ฉอ-สก
 ปรักหักพัง
 ปะ-หรัก-หัก-พัง
 โลกธรรม
 โลก-กะ-ทา
ความชัดเจน
 คือการสื่อความหมายด้วยคา/ความ ที่ชัดเจน เข้าใจง่าย
◦ การออกเสียงคา
◦ (ต้องชัดถ้อยชัดคา / เต็มคา / ไม่รัวๆ รวบๆ / ไม่เน้นคาเกินไป /
ไม่ลากคา / ไม่กระแทกเสียง เป็นต้น) ทั้งพยัญชนะ สระ
วรรณยุกต์ วรรคตอนถูกต้อง
◦ ระวังเรื่องเสียงสอดแทรก
◦ เช่น ลมหายใจ เสียงในช่องปาก เสียงลมพ่นหน้าคา
◦ เปล่งเสียงให้มีน้าหนักคาและความที่เป็นธรรมชาติ
◦ ให้เหมือนการพูดเล่า
ความน่าสนใจ / น่าฟัง
 ลีลาการนาเสนอ
◦ วรรคตอน
◦ ถูกต้อง / ดี / ไม่อ่านเรียงคา / ไม่หยุดต่อผิดที่ / ไม่แบ่งวรรคตอนมากจนเกินไป /
หรือไม่แบ่งวรรคเลย
“ห้ามผู้หญิงใส่กางเกงในเวลาราชการ”
“ขึ้นรถไฟไม่มีอันตราย”
“ยานี้ดีกินแล้วแข็งแรงไม่มีโรคภัยเบียดเบียน”
◦ จังหวะการอ่าน
◦ พอดี / ไม่เร็วจนเกินไป / ไม่ช้าไป / กระชับ / ไม่สะดุด / ไม่ตะกุกตะกัก / ราบรื่น
◦ ความเหมาะสมกับเนื้อหา
◦ ไม่เป็นการอ่านออกเสียง / อ่านเนือยๆ เรื่อยๆ / ขาดน้าหนักคาและความ
ความน่าสนใจ / น่าฟัง
 เสียง
◦ โดยธรรมชาติและคุณภาพ ต้องแจ่มใส / ไม่แห้ง-เครือ-สั่น
◦ ระดับเสียงและการเปล่งเสียง
◦ ดี / ไม่เบา-ดังไป / ขึ้นจมูก / สูงไป-ต่าไป / ไม่สม่าเสมอ
ลีลาดี ผู้ฟังสามารถจินตนาการตามที่อ่าน/เล่าได้ –
การอ่านต้องมีชีว ิตชีวา มีลีลาที่เป็นธรรมชาติ...
หลัก 4W1H
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
 ถูกต้อง
◦ ถูกต้องหลักเกณฑ์การอ่าน (อักขรว ิธี)
◦ ถูกต้องตามการอ่านออกเสียงคา/ความประเภทต่างๆ
◦ ถูกต้องตามบทและความเป็นจริง (ไม่ตู่/ตก/เติม คาหรือความ)
 ชัดเจน
◦ ออกเสียงคา/ความ ที่ชัดเจน เต็มคา เข้าใจง่าย ไม่เบาจนเกินไป
เปล่งเสียงให้มีน้าหนักคาและความเป็นธรรมชาติ
 น่าสนใจ / น่าฟัง
◦ ลีลาการนาเสนอ (วรรคตอน, จังหวะการอ่าน, ความเหมาะสมกับ
เนื้อหา)
◦ น้าเสียง (แจ่มใสเป็นธรรมชาติ มีชีว ิตชีวา เป็นธรรมชาติ)
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
 ควรอ่านในห้องที่เงียบ
◦ เสียงดังฟังชัด โดยอ่านไม่เร็วหรือช้าเกินไป
 อ่านทุกอย่าง ทุกหน้า (ยกเว้นเลขหน้า) เริ่มตั้งแต่ ปกหน้า / ปกใน / คานา / สารบัญ / บทนา
/ เนื้อหาทั้งหมด / ปกหลัง ฯลฯ
◦ อ่านคานา (หากเห็นว่าไม่จาเป็นจะไม่อ่านก็ได้)
◦ อ่านสารบัญ เช่น บทที่ ๑ อานารยชน หน้าที่ ๗...
 ถ้ามีอักษรย่อ หรือสัญลักษณ์ ให้อ่านคาเต็ม เช่น
◦ พ.ศ. อ่าน พุทธศักราช, ส.ส. อ่าน สมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
◦ ฯลฯ อ่าน และอื่น
 การอ่านข้อความในเครื่องหมายคาพูด
◦ หากเป็นข้อความสั้นๆ เช่น “คาร์โลมาน” ให้อ่านว่า “ในเครื่องหมายคาพูดคาร์โลมาน”
◦ หากเป็นข้อความยาว เช่น “คาร์โลมาน ค.ศ.๗๔๑-๗๔๗” ให้อ่านว่า “เครื่องหมายคาพูด
เปิด คาร์โลมาน คริสตศักราช ๗๔๑-๗๔๗ เครื่องหมายคาพูดปิด”
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
 การอ่านข้อความในวงเล็บ
◦ ถ้าเป็นข้อความสั้นๆ ให้อ่านว่า “ในวงเล็บ” ตามด้วยข้อความ เช่น คาร์โลมาน (ค.ศ.
๗๔๑-๗๔๗) อ่านว่า “คาโลมาน ในวงเล็บ คริสตศักราช ๗๔๑-๗๔๗”
◦ การอ่านข้อความในวงเล็บเป็นภาษาอังกฤษ เช่น คาร์โลมาน (Carloman) ให้อ่านว่า
“คาโลมาน ในวงเล็บ ซี เอ อาร์ แอล โอ เอ็ม เอ เอ็น”
◦ ถ้าข้อความในวงเล็บเป็นข้อความที่ยาว เช่น (ในเวลานั้นศาสนาในยุโรปมีนิกาย
เดียว) ให้อ่านว่า “วงเล็บเปิด ในเวลานั้นศาสนาในยุโรปมีนิกายเดียว วงเล็บปิด”
 การอ่านเชิงอรรถ (Foot Note) เช่น
◦ การสวดมนต์วันละ ๕ ครั้ง1 โดยหันหน้าไปทางเมืองเมกกะ
1 คือเวลารุ่งอรุณ เที่ยง บ่าย เย็น และค่า
อ่านว่า “การสวดมนต์วันละ ๕ ครั้ง คือเวลารุ่งอรุณ เที่ยง บ่าย เย็น และค่า โดยหันหน้าไป
ทางเมืองเมกกะ”
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
 การอ่านข้อความในตาราง
ให้อ่านว่า “ตารางแบ่งออกเป็น ๔ ช่อง ช่องที่ ๑ ลาดับเรื่อง ช่องที่
๒ ชื่อเรื่อง ช่องที่ ๓ ผู้แต่ง ช่องที่ ๔ จานวนม้วน
ลาดับเรื่องที่ ๑ ชื่อเรื่อง คู่มือหมอชาวบ้าน ผู้แต่ง ประเวศ วสี
จานวนม้วน ๒
ลาดับเรื่องที่ ๒ ชื่อเรื่อง การพัฒนาตนเอง ผู้แต่ง สมิต อาชวนิจ
กุล จานวนม้วน ๔”
ลาดับเร ื่อง ชื่อเร ื่อง ผู้แต่ง จานวนม้วน
1 คู่มือหมอชาวบ้าน ประเวศ วสี 2
2 การพัฒนาตนเอง สมิต อาชวนิจกุล 4
อ่านว่า “ตารางแบ่งออกเป็น ๓ ช่อง ช่องที่ ๑ ลาดับที่ ช่องที่ ๒
รายการ ช่องที่ ๓ ความคิดเห็น รายการช่องที่ ๓ แบ่งออกอีก ๒ ช่อง
คือ เห็นด้วย และไม่เห็นด้วย
ลาดับที่ ๑ รายการความประพฤติของนักเรียน ความคิดเห็น เห็นด้วย
ลาดับที่ ๒ รายการความประพฤติของครู ความคิดเห็น ไม่เห็นด้วย”
ลาดับที่ รายการ ความคิดเห็น
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
1 ความประพฤติของนักเรียน /
2 ความประพฤติของครู /
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
 แผนภูมิหรือแผนภาพ
◦ หากเป็นแผนที่ หรือรูปภาพ เช่น ภาพพระเจ้าเฮนรี่ที่ ๘ ให้อ่านว่า “มี
ภาพประกอบ ภาพพระเจ้าเฮนรี่ที่ ๘”
◦ หากเป็นแผนภูมิ ให้อธิบายตามความเข้าใจของผู้อ่านและเข้าใจง่าย แต่หาก
เป็นแผนภูมิซึ่งซับซ้อนเกินความสามารถที่จะอธิบายได้ ให้อ่านเพียงว่า “เป็น
แผนภูมิหรือภาพประกอบ....”
 กลอน โคลง ฉันท์
◦ ให้อ่านไปตามสัมผัสธรรมดา ให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ของบทประพันธ์
นั้นๆ ไม่ต้องอ่านทานองเสนาะ
 ข้อควรจา
◦ บอกข้อมูลให้คนตาบอดทราบเกี่ยวกับหนังสือตามหลักที่กาหนด
◦ คาภาษาอังกฤษ หากไม่แน่ใจในการออกเสียงให้สะกดตัวอักษรเรียงตัว
◦ คาภาษาไทย หากเป็นคายากหรือคาพ้องเสียงและคิดว่าผู้ฟังอาจไม่เข้าใจให้
สะกดคา (อ่านคานั้น แล้วพูดว่า “สะกดว่า...”)
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
 การอ่านหนังสือบันเทิงคดี
◦ อ่านน้าเสียงปกติ เสียงดังฟังชัด
◦ ไม่ควรเลียนเสียงตัวละคร หากไม่สามารถทาได้ดี
◦ คาในเครื่องหมายคาพูด ให้อ่านเน้นเสียงหรือเสียงดังขึ้น เพื่อให้ทราบว่า
แตกต่างจากประโยคทั่วไป
◦ ไม่ต้องอธิบายภาพประกอบเมื่อไม่จาเป็น
◦ หนังสือประเภทกว ีนิพนธ์ ไม่ต้องอ่านทานองเสนาะ อ่านสาเนียงธรรมดา แต่
ให้มีสัมผัส เว้นวรรค ตามฉันทลักษณ์ของบทกว ีนั้นๆ
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
◦ รายละเอียดอื่นๆ นอกจากเนื้อหา อาจเพิ่มเติม หรือตัดทอน ตามความ
เหมาะสม (แต่ห้ามเพิ่มหรือตัดทอนเนื้อหาภายใน เช่น
 การอ่านหนังสือเพิ่มเติม ได้แก่การอ่านคาอุทิศ, หน้าที่แทรกประวัติผู้แต่ง,
คาประกาศเกียรติคุณ ฯลฯ ซึ่งอาจจะอยู่หลังสุด,ปกหลัง,หน้าหลังหน้าปก
เป็นต้น)
 การอ่านหน้าสารบัญ หากเห็นว่าไม่จาเป็นกับเนื้อหาสามารถตัดทอนได้
(หรือหากจาเป็นก็ให้อ่านเฉพาะชื่อเรื่อง ก็ได้)
 การอ่านหน้าคานา หากมีคานาจากการพิมพ์ครั้งอื่นเพิ่มเติม หากเห็นว่ามี
มากเกินไป ให้อ่านเฉพาะคานาสานักพิมพ์ครั้งแรกและครั้งล่าสุด
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
 คาแนะนาในการอ่านหนังสือเสียง ภาษาอังกฤษ
◦ ต้องมีความสามารถในการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ
◦ ภาษาอังกฤษนั้นมีข้อจากัดมากกว่าภาษาไทย ดังนั้น จึงต้องฝึกอ่านหนังสือ
ให้เข้าใจก่อนที่จะทาการบันทึก เพื่อการอ่านจะได้ถูกต้องมากขึ้น
◦ ต้องอ่านให้ถูกต้อง ชัดเจนทุกคา ทุกประโยค
◦ อ่านให้เร็วสม่าเสมอ ฟังแล้วราบรื่น ไม่อ่านเร็วหรือช้าเกินไป (เพราะถ้าอ่าน
เร็วหรือรัวจะทาให้ฟังไม่รู้เรื่อง)
◦ รูปภาพ แผนภูมิ หรือตารางต่างๆ ให้อธิบายตามความเข้าใจ
◦ อ่านให้เป็นธรรมชาติ ไม่จาเป็นต้องอ่านเป็นสาเนียงฝรั่งเจ้าของภาษา ก็ได้
ขอแค่อ่านได้ถูกต้อง ชัดเจน และรู้เรื่องก็พอ (แต่ถ้าสามารถทาได้ก็ยิ่งดี)
สรุป...การอ่านหนังสือเสียง
◦ อ่านให้ถูกต้องตามหลักภาษาไทย (อักขรว ิธี / คาและเครื่องหมายต่างๆ)
◦ บอกข้อมูลให้ถูกต้องเกี่ยวกับหนังสือตามหลักที่กาหนด
◦ อ่านให้ชัดเจน (เสียงดัง ฟังชัด เต็มคา ไม่เบาจนเกินไปจนฟังไม่รู้เรื่อง / ไม่ช้าหรือเร็ว
จนเกินไป / เปล่งเสียงให้มีน้าหนักคาและความเป็นธรรมชาติ)
◦ อ่านข้อความให้ครบถ้วน ชัดเจน ไม่ข้ามคา หรือเกินจากในหนังสือ โดยไม่จาเป็น
◦ อ่านผิดแล้วต้องแก้ไขให้ถูกต้อง
◦ อ่านให้น่าสนใจ/น่าฟัง (การแบ่งวรรคตอน / ใช้น้าเสียงแจ่มใส ลีลา ที่เหมาะกับเนื้อหา /
อ่านให้มีชีว ิตชีวาเป็นธรรมชาติ)
◦ ใส่สีสันได้ตามความเหมาะสม / หรือใส่เพลงหรือเสียงประกอบได้ตามสมควร
◦ เมื่ออ่านครบทุกหัวข้อ หรืออ่านเนื้อหาจบหมดแล้ว ให้พูดปิดท้ายเล่ม ว่า “จบบริบูรณ์”
ปัญหาของงานอ่านที่ไม่สมบูรณ์
และเป็นปัญหาในการผลิตหนังสือเสียง
 อ่านออกเสียงไม่ถูกต้องตามหลักภาษาไทย เช่น คาควบกล้า คาบาลี-สันสกฤต ฯลฯ
 อ่านเกิน อ่านตก อ่านข้าม อ่านผิด จากเอกสารหรือหนังสือต้นฉบับ (โดยเฉพาะคาที่เป็น
ภาษาอังกฤษ โดยมีคาหรือข้อความภาษาไทยอยู่ด้วย หรืออ่านเกิน เช่น รู้ อ่านว่า รู้สึก เป็นต้น)
 เปล่งเสียงออกมาไม่ชัด ว่าอ่านคาว่าอะไร/ประโยคหรือวลีอะไร
 อ่านเสียงไม่สม่าเสมอ เดี๋ยวดัง เดี๋ยวค่อย หรือบางทีเสียงเบาแผ่วมาก เหมือนหมดแรงเปล่งเสียง
 อ่าน (เหมือนบ่น) อยู่ในลาคอ จึงฟังไม่รู้เรื่อง
 อ่านสะดุด กระท่อนกระแท่น ไม่เป็นคา ไม่ต่อเนื่อง ไม่ถูกวรรคตอน (ทาให้ความหมายเปลี่ยน)
 อ่านคาหรือวลีเดิม ซ้าหลายครั้ง โดยเฉพาะเมื่ออ่านผิด
 อ่านอย่างจืดชืด ขาดอรรถรส ทาให้ไม่ชวนฟัง หรืออ่านออกเสียงเรื่อยๆเนือยๆ หรือบางกรณีก็
อ่านโดยที่ผู้อ่านเพิ่มเติมสีสันจนเกินความจาเป็น
ปัญหาของงานอ่านที่ไม่สมบูรณ์
และเป็นปัญหาในการผลิตหนังสือเสียง
 อ่านแบบไม่แน่ใจ ว่าจะอ่านว่าอย่างไร หรือจะออกเสียงอย่างไร
 ขาดความเข้าใจและทักษะในการบรรยายรูปภาพ หรือไม่เห็นความจาเป็น
ของการบรรยายภาพ
 อ่านไม่ครบถ้วน หรือขาดความสนใจ จริงจังและรับผิดชอบในการทาหน้าที่ผู้อ่าน คิดว่าคน
ตาบอดน่าจะฟังเท่านี้ ทาให้อ่านข่าวสารไม่ตรงและไม่ครบตามความต้องการของผู้ฟัง
 มีเสียงรบกวนขณะบันทึก เช่น เสียงขยับไมโครโฟน เสียงเปิดหนังสือ (แรงและดัง) หรือเสียง
จากสิ่งแวดล้อมบริเวณที่ทาการบันทึก เช่น เสียงหมาเห่า/หอน รถยนต์ เสียงคุยกัน เป็นต้น
 เมื่อมีคาที่อ่านผิด ไม่ได้หยุดแล้วกลับมาแก้ไขโดยลบที่ผิดแล้วอ่านใหม่ แต่กลับอ่านต่อหรือ
อ่านซ้า โดยมิได้แก้ไข ทาให้ข้อมูลที่ได้รับฟังผิดไปจากความจริง
ข้อความเพื่อบันทึกใน Section 1
Format…
(ชื่อหนังสือ).....(ผู้แต่ง/ประพันธ์).....ISBN........
จัดทาเป็นหนังสือเสียงในระบบเดซี NCC Only
โดยห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติ เมื่อวันที่.....จานวน.....หน้า
อ่านโดย................(ชื่อ-สกุล ผู้อ่าน) เช่น
เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก เล่ม 4 ประพันธ์โดย ทิพย์วาณี สนิทวงศ์ฯ
ISBN 974-255-609-1 จัดทาเป็นหนังสือเสียงในระบบเดซี NCC Only
โดยห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติ เมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553 จานวน 240 หน้า
อ่านโดย กันต์ พลสงคราม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5suparada
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงานChamp Wachwittayakhang
 
การเขียนวันที่ (date) ในภาษาอังกฤษ
การเขียนวันที่ (date) ในภาษาอังกฤษการเขียนวันที่ (date) ในภาษาอังกฤษ
การเขียนวันที่ (date) ในภาษาอังกฤษAj Muu
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงAttaporn Saranoppakun
 
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติJarinya Chaiyabin
 
แบบฟอร์มการเขียน Storyboard
แบบฟอร์มการเขียน Storyboardแบบฟอร์มการเขียน Storyboard
แบบฟอร์มการเขียน Storyboardrungtip boontiengtam
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยการเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยปาริชาต แท่นแก้ว
 
บันได ๔ ขั้นสอนเขียน
บันได ๔ ขั้นสอนเขียนบันได ๔ ขั้นสอนเขียน
บันได ๔ ขั้นสอนเขียน5171422
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 

La actualidad más candente (20)

โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
 
การเขียนวันที่ (date) ในภาษาอังกฤษ
การเขียนวันที่ (date) ในภาษาอังกฤษการเขียนวันที่ (date) ในภาษาอังกฤษ
การเขียนวันที่ (date) ในภาษาอังกฤษ
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูงPpt1ความเรียงขั้นสูง
Ppt1ความเรียงขั้นสูง
 
ข้อตกลงของห้องเรียน
ข้อตกลงของห้องเรียนข้อตกลงของห้องเรียน
ข้อตกลงของห้องเรียน
 
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
แบบฟอร์มการเขียน Storyboard
แบบฟอร์มการเขียน Storyboardแบบฟอร์มการเขียน Storyboard
แบบฟอร์มการเขียน Storyboard
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
็How much is it?
็How much is it?็How much is it?
็How much is it?
 
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยการเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
 
บันได ๔ ขั้นสอนเขียน
บันได ๔ ขั้นสอนเขียนบันได ๔ ขั้นสอนเขียน
บันได ๔ ขั้นสอนเขียน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 

Similar a อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562

อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังอ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังVisanu Euarchukiati
 
การอ่านหนังสือเสียง จัดทำโดย ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอด
การอ่านหนังสือเสียง จัดทำโดย ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอดการอ่านหนังสือเสียง จัดทำโดย ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอด
การอ่านหนังสือเสียง จัดทำโดย ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอดWissanu Petprawat
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1krumildsarakam25
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้องPiyarerk Bunkoson
 
นำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จนำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จshelercherries
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.จีระภา ตราโชว์
 
Numbers
NumbersNumbers
Numbersgamyuy
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมpong_4548
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายjiratt
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์คุณานนต์ ทองกรด
 

Similar a อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562 (20)

อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังอ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
 
การอ่านหนังสือเสียง จัดทำโดย ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอด
การอ่านหนังสือเสียง จัดทำโดย ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอดการอ่านหนังสือเสียง จัดทำโดย ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอด
การอ่านหนังสือเสียง จัดทำโดย ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอด
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
 
นำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จนำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จ
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
 
Numbers
NumbersNumbers
Numbers
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 

Más de Visanu Euarchukiati

6 april 1875 total solar eclipse at grand palace
6 april 1875 total solar eclipse at grand palace6 april 1875 total solar eclipse at grand palace
6 april 1875 total solar eclipse at grand palaceVisanu Euarchukiati
 
ปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนี
ปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนีปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนี
ปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนีVisanu Euarchukiati
 
สิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอด
สิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอดสิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอด
สิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอดVisanu Euarchukiati
 
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดกฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดVisanu Euarchukiati
 
ซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
ซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
ซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดVisanu Euarchukiati
 
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมมุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมVisanu Euarchukiati
 
การใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
การใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีการใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
การใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีVisanu Euarchukiati
 
วิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
วิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีวิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
วิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีVisanu Euarchukiati
 
อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015
อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015
อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015Visanu Euarchukiati
 
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียง
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียงภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียง
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียงVisanu Euarchukiati
 
คู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPC
คู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPCคู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPC
คู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPCVisanu Euarchukiati
 

Más de Visanu Euarchukiati (12)

6 april 1875 total solar eclipse at grand palace
6 april 1875 total solar eclipse at grand palace6 april 1875 total solar eclipse at grand palace
6 april 1875 total solar eclipse at grand palace
 
ปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนี
ปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนีปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนี
ปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนี
 
สิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอด
สิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอดสิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอด
สิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอด
 
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดกฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
 
ซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
ซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
ซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
 
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมมุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
 
การใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
การใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีการใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
การใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
 
วิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
วิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีวิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
วิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
 
อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015
อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015
อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015
 
Zooniverse
ZooniverseZooniverse
Zooniverse
 
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียง
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียงภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียง
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียง
 
คู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPC
คู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPCคู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPC
คู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPC
 

อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562

  • 4. ความถูกต้อง  ออกเสียงถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์ของการอ่านภาษาไทย ◦ อักขรว ิธี  การออกเสียง ร และ ล (ดี/เป็นธรรมชาติ/ร เป็น ล/ล เป็น ร)  การออกเสียงตัวควบกล้า (ดี/ออกเสียงได้/ไม่สับสน)  การออกเสียงวรรณยุกต์ (ตรง/ไม่ตรง)  การออกเสียงพยัญชนะ (ตรง/ไม่ตรง)  การออกเสียงสระ (ตรง/ไม่ตรง)
  • 5. ความถูกต้อง  ความถูกต้องตามหลักเกณฑ์การออกเสียงต่างๆ เช่น ◦ คาศัพท์ /คาราชาศัพท์ /คาว ิสามานยนาม (นามเฉพาะ) /คาสมาส- สนธิ /การอ่านตัวเลขและเครื่องหมายต่างๆ  วัตรปฏิบัติ, พรหมลิขิต, พยาธิ, สมุลแว้ง, เสลภูมิ, หนองบัวระเหว  สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี  ๐๐.๐๕ น., ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖),  ภบ ๔๑๐๗ กรุงเทพมหานคร  ความถูกต้องตามบท / ความเป็นจริง เพื่อไม่ให้ความหมาย เปลี่ยนหรือเสียความ ◦ ไม่ตู่ / ตก / เติม คาหรือความ (แต่ถ้าความหมายไม่เปลี่ยนหรือเสีย ความก็อนุโลมให้กระทาได้)
  • 6. คาที่มักอ่านผิด  กลไก  กน-ไก  คณบดี  คะ-นะ-บอ-ดี  ชาติพันธุ์  ชาด-ติ-พัน  ปรากฏการณ์  ปรา-กด-กาน, ปรา-กด-ตะ-กาน  วณิพก  วะ-นิบ-พก, วะ-นิ-พก  สร่าง  ส่าง  กามว ิตถาร  กาม-ว ิด-ถาน
  • 7. คาที่มักอ่านผิด  กามตัณหา  กาม-มะ-ตัน-หา  คุณวิเศษ  คุน-นะ-ว ิ-เสด  โฆษณา  โคด-สะ-นา  จิตแพทย์  จิด-ตะ-แพด  ฉศก  ฉอ-สก  ปรักหักพัง  ปะ-หรัก-หัก-พัง  โลกธรรม  โลก-กะ-ทา
  • 8. ความชัดเจน  คือการสื่อความหมายด้วยคา/ความ ที่ชัดเจน เข้าใจง่าย ◦ การออกเสียงคา ◦ (ต้องชัดถ้อยชัดคา / เต็มคา / ไม่รัวๆ รวบๆ / ไม่เน้นคาเกินไป / ไม่ลากคา / ไม่กระแทกเสียง เป็นต้น) ทั้งพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ วรรคตอนถูกต้อง ◦ ระวังเรื่องเสียงสอดแทรก ◦ เช่น ลมหายใจ เสียงในช่องปาก เสียงลมพ่นหน้าคา ◦ เปล่งเสียงให้มีน้าหนักคาและความที่เป็นธรรมชาติ ◦ ให้เหมือนการพูดเล่า
  • 9. ความน่าสนใจ / น่าฟัง  ลีลาการนาเสนอ ◦ วรรคตอน ◦ ถูกต้อง / ดี / ไม่อ่านเรียงคา / ไม่หยุดต่อผิดที่ / ไม่แบ่งวรรคตอนมากจนเกินไป / หรือไม่แบ่งวรรคเลย “ห้ามผู้หญิงใส่กางเกงในเวลาราชการ” “ขึ้นรถไฟไม่มีอันตราย” “ยานี้ดีกินแล้วแข็งแรงไม่มีโรคภัยเบียดเบียน” ◦ จังหวะการอ่าน ◦ พอดี / ไม่เร็วจนเกินไป / ไม่ช้าไป / กระชับ / ไม่สะดุด / ไม่ตะกุกตะกัก / ราบรื่น ◦ ความเหมาะสมกับเนื้อหา ◦ ไม่เป็นการอ่านออกเสียง / อ่านเนือยๆ เรื่อยๆ / ขาดน้าหนักคาและความ
  • 10. ความน่าสนใจ / น่าฟัง  เสียง ◦ โดยธรรมชาติและคุณภาพ ต้องแจ่มใส / ไม่แห้ง-เครือ-สั่น ◦ ระดับเสียงและการเปล่งเสียง ◦ ดี / ไม่เบา-ดังไป / ขึ้นจมูก / สูงไป-ต่าไป / ไม่สม่าเสมอ ลีลาดี ผู้ฟังสามารถจินตนาการตามที่อ่าน/เล่าได้ – การอ่านต้องมีชีว ิตชีวา มีลีลาที่เป็นธรรมชาติ...
  • 12. อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง  ถูกต้อง ◦ ถูกต้องหลักเกณฑ์การอ่าน (อักขรว ิธี) ◦ ถูกต้องตามการอ่านออกเสียงคา/ความประเภทต่างๆ ◦ ถูกต้องตามบทและความเป็นจริง (ไม่ตู่/ตก/เติม คาหรือความ)  ชัดเจน ◦ ออกเสียงคา/ความ ที่ชัดเจน เต็มคา เข้าใจง่าย ไม่เบาจนเกินไป เปล่งเสียงให้มีน้าหนักคาและความเป็นธรรมชาติ  น่าสนใจ / น่าฟัง ◦ ลีลาการนาเสนอ (วรรคตอน, จังหวะการอ่าน, ความเหมาะสมกับ เนื้อหา) ◦ น้าเสียง (แจ่มใสเป็นธรรมชาติ มีชีว ิตชีวา เป็นธรรมชาติ)
  • 13. คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง  ควรอ่านในห้องที่เงียบ ◦ เสียงดังฟังชัด โดยอ่านไม่เร็วหรือช้าเกินไป  อ่านทุกอย่าง ทุกหน้า (ยกเว้นเลขหน้า) เริ่มตั้งแต่ ปกหน้า / ปกใน / คานา / สารบัญ / บทนา / เนื้อหาทั้งหมด / ปกหลัง ฯลฯ ◦ อ่านคานา (หากเห็นว่าไม่จาเป็นจะไม่อ่านก็ได้) ◦ อ่านสารบัญ เช่น บทที่ ๑ อานารยชน หน้าที่ ๗...  ถ้ามีอักษรย่อ หรือสัญลักษณ์ ให้อ่านคาเต็ม เช่น ◦ พ.ศ. อ่าน พุทธศักราช, ส.ส. อ่าน สมาชิกสภาผู้แทนราษฏร ◦ ฯลฯ อ่าน และอื่น  การอ่านข้อความในเครื่องหมายคาพูด ◦ หากเป็นข้อความสั้นๆ เช่น “คาร์โลมาน” ให้อ่านว่า “ในเครื่องหมายคาพูดคาร์โลมาน” ◦ หากเป็นข้อความยาว เช่น “คาร์โลมาน ค.ศ.๗๔๑-๗๔๗” ให้อ่านว่า “เครื่องหมายคาพูด เปิด คาร์โลมาน คริสตศักราช ๗๔๑-๗๔๗ เครื่องหมายคาพูดปิด”
  • 14. คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง  การอ่านข้อความในวงเล็บ ◦ ถ้าเป็นข้อความสั้นๆ ให้อ่านว่า “ในวงเล็บ” ตามด้วยข้อความ เช่น คาร์โลมาน (ค.ศ. ๗๔๑-๗๔๗) อ่านว่า “คาโลมาน ในวงเล็บ คริสตศักราช ๗๔๑-๗๔๗” ◦ การอ่านข้อความในวงเล็บเป็นภาษาอังกฤษ เช่น คาร์โลมาน (Carloman) ให้อ่านว่า “คาโลมาน ในวงเล็บ ซี เอ อาร์ แอล โอ เอ็ม เอ เอ็น” ◦ ถ้าข้อความในวงเล็บเป็นข้อความที่ยาว เช่น (ในเวลานั้นศาสนาในยุโรปมีนิกาย เดียว) ให้อ่านว่า “วงเล็บเปิด ในเวลานั้นศาสนาในยุโรปมีนิกายเดียว วงเล็บปิด”  การอ่านเชิงอรรถ (Foot Note) เช่น ◦ การสวดมนต์วันละ ๕ ครั้ง1 โดยหันหน้าไปทางเมืองเมกกะ 1 คือเวลารุ่งอรุณ เที่ยง บ่าย เย็น และค่า อ่านว่า “การสวดมนต์วันละ ๕ ครั้ง คือเวลารุ่งอรุณ เที่ยง บ่าย เย็น และค่า โดยหันหน้าไป ทางเมืองเมกกะ”
  • 15. คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง  การอ่านข้อความในตาราง ให้อ่านว่า “ตารางแบ่งออกเป็น ๔ ช่อง ช่องที่ ๑ ลาดับเรื่อง ช่องที่ ๒ ชื่อเรื่อง ช่องที่ ๓ ผู้แต่ง ช่องที่ ๔ จานวนม้วน ลาดับเรื่องที่ ๑ ชื่อเรื่อง คู่มือหมอชาวบ้าน ผู้แต่ง ประเวศ วสี จานวนม้วน ๒ ลาดับเรื่องที่ ๒ ชื่อเรื่อง การพัฒนาตนเอง ผู้แต่ง สมิต อาชวนิจ กุล จานวนม้วน ๔” ลาดับเร ื่อง ชื่อเร ื่อง ผู้แต่ง จานวนม้วน 1 คู่มือหมอชาวบ้าน ประเวศ วสี 2 2 การพัฒนาตนเอง สมิต อาชวนิจกุล 4
  • 16. อ่านว่า “ตารางแบ่งออกเป็น ๓ ช่อง ช่องที่ ๑ ลาดับที่ ช่องที่ ๒ รายการ ช่องที่ ๓ ความคิดเห็น รายการช่องที่ ๓ แบ่งออกอีก ๒ ช่อง คือ เห็นด้วย และไม่เห็นด้วย ลาดับที่ ๑ รายการความประพฤติของนักเรียน ความคิดเห็น เห็นด้วย ลาดับที่ ๒ รายการความประพฤติของครู ความคิดเห็น ไม่เห็นด้วย” ลาดับที่ รายการ ความคิดเห็น เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย 1 ความประพฤติของนักเรียน / 2 ความประพฤติของครู / คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
  • 17. คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง  แผนภูมิหรือแผนภาพ ◦ หากเป็นแผนที่ หรือรูปภาพ เช่น ภาพพระเจ้าเฮนรี่ที่ ๘ ให้อ่านว่า “มี ภาพประกอบ ภาพพระเจ้าเฮนรี่ที่ ๘” ◦ หากเป็นแผนภูมิ ให้อธิบายตามความเข้าใจของผู้อ่านและเข้าใจง่าย แต่หาก เป็นแผนภูมิซึ่งซับซ้อนเกินความสามารถที่จะอธิบายได้ ให้อ่านเพียงว่า “เป็น แผนภูมิหรือภาพประกอบ....”
  • 18.  กลอน โคลง ฉันท์ ◦ ให้อ่านไปตามสัมผัสธรรมดา ให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ของบทประพันธ์ นั้นๆ ไม่ต้องอ่านทานองเสนาะ  ข้อควรจา ◦ บอกข้อมูลให้คนตาบอดทราบเกี่ยวกับหนังสือตามหลักที่กาหนด ◦ คาภาษาอังกฤษ หากไม่แน่ใจในการออกเสียงให้สะกดตัวอักษรเรียงตัว ◦ คาภาษาไทย หากเป็นคายากหรือคาพ้องเสียงและคิดว่าผู้ฟังอาจไม่เข้าใจให้ สะกดคา (อ่านคานั้น แล้วพูดว่า “สะกดว่า...”) คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
  • 19. คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง  การอ่านหนังสือบันเทิงคดี ◦ อ่านน้าเสียงปกติ เสียงดังฟังชัด ◦ ไม่ควรเลียนเสียงตัวละคร หากไม่สามารถทาได้ดี ◦ คาในเครื่องหมายคาพูด ให้อ่านเน้นเสียงหรือเสียงดังขึ้น เพื่อให้ทราบว่า แตกต่างจากประโยคทั่วไป ◦ ไม่ต้องอธิบายภาพประกอบเมื่อไม่จาเป็น ◦ หนังสือประเภทกว ีนิพนธ์ ไม่ต้องอ่านทานองเสนาะ อ่านสาเนียงธรรมดา แต่ ให้มีสัมผัส เว้นวรรค ตามฉันทลักษณ์ของบทกว ีนั้นๆ
  • 20. คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง ◦ รายละเอียดอื่นๆ นอกจากเนื้อหา อาจเพิ่มเติม หรือตัดทอน ตามความ เหมาะสม (แต่ห้ามเพิ่มหรือตัดทอนเนื้อหาภายใน เช่น  การอ่านหนังสือเพิ่มเติม ได้แก่การอ่านคาอุทิศ, หน้าที่แทรกประวัติผู้แต่ง, คาประกาศเกียรติคุณ ฯลฯ ซึ่งอาจจะอยู่หลังสุด,ปกหลัง,หน้าหลังหน้าปก เป็นต้น)  การอ่านหน้าสารบัญ หากเห็นว่าไม่จาเป็นกับเนื้อหาสามารถตัดทอนได้ (หรือหากจาเป็นก็ให้อ่านเฉพาะชื่อเรื่อง ก็ได้)  การอ่านหน้าคานา หากมีคานาจากการพิมพ์ครั้งอื่นเพิ่มเติม หากเห็นว่ามี มากเกินไป ให้อ่านเฉพาะคานาสานักพิมพ์ครั้งแรกและครั้งล่าสุด
  • 21. คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง  คาแนะนาในการอ่านหนังสือเสียง ภาษาอังกฤษ ◦ ต้องมีความสามารถในการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ ◦ ภาษาอังกฤษนั้นมีข้อจากัดมากกว่าภาษาไทย ดังนั้น จึงต้องฝึกอ่านหนังสือ ให้เข้าใจก่อนที่จะทาการบันทึก เพื่อการอ่านจะได้ถูกต้องมากขึ้น ◦ ต้องอ่านให้ถูกต้อง ชัดเจนทุกคา ทุกประโยค ◦ อ่านให้เร็วสม่าเสมอ ฟังแล้วราบรื่น ไม่อ่านเร็วหรือช้าเกินไป (เพราะถ้าอ่าน เร็วหรือรัวจะทาให้ฟังไม่รู้เรื่อง) ◦ รูปภาพ แผนภูมิ หรือตารางต่างๆ ให้อธิบายตามความเข้าใจ ◦ อ่านให้เป็นธรรมชาติ ไม่จาเป็นต้องอ่านเป็นสาเนียงฝรั่งเจ้าของภาษา ก็ได้ ขอแค่อ่านได้ถูกต้อง ชัดเจน และรู้เรื่องก็พอ (แต่ถ้าสามารถทาได้ก็ยิ่งดี)
  • 22. สรุป...การอ่านหนังสือเสียง ◦ อ่านให้ถูกต้องตามหลักภาษาไทย (อักขรว ิธี / คาและเครื่องหมายต่างๆ) ◦ บอกข้อมูลให้ถูกต้องเกี่ยวกับหนังสือตามหลักที่กาหนด ◦ อ่านให้ชัดเจน (เสียงดัง ฟังชัด เต็มคา ไม่เบาจนเกินไปจนฟังไม่รู้เรื่อง / ไม่ช้าหรือเร็ว จนเกินไป / เปล่งเสียงให้มีน้าหนักคาและความเป็นธรรมชาติ) ◦ อ่านข้อความให้ครบถ้วน ชัดเจน ไม่ข้ามคา หรือเกินจากในหนังสือ โดยไม่จาเป็น ◦ อ่านผิดแล้วต้องแก้ไขให้ถูกต้อง ◦ อ่านให้น่าสนใจ/น่าฟัง (การแบ่งวรรคตอน / ใช้น้าเสียงแจ่มใส ลีลา ที่เหมาะกับเนื้อหา / อ่านให้มีชีว ิตชีวาเป็นธรรมชาติ) ◦ ใส่สีสันได้ตามความเหมาะสม / หรือใส่เพลงหรือเสียงประกอบได้ตามสมควร ◦ เมื่ออ่านครบทุกหัวข้อ หรืออ่านเนื้อหาจบหมดแล้ว ให้พูดปิดท้ายเล่ม ว่า “จบบริบูรณ์”
  • 23. ปัญหาของงานอ่านที่ไม่สมบูรณ์ และเป็นปัญหาในการผลิตหนังสือเสียง  อ่านออกเสียงไม่ถูกต้องตามหลักภาษาไทย เช่น คาควบกล้า คาบาลี-สันสกฤต ฯลฯ  อ่านเกิน อ่านตก อ่านข้าม อ่านผิด จากเอกสารหรือหนังสือต้นฉบับ (โดยเฉพาะคาที่เป็น ภาษาอังกฤษ โดยมีคาหรือข้อความภาษาไทยอยู่ด้วย หรืออ่านเกิน เช่น รู้ อ่านว่า รู้สึก เป็นต้น)  เปล่งเสียงออกมาไม่ชัด ว่าอ่านคาว่าอะไร/ประโยคหรือวลีอะไร  อ่านเสียงไม่สม่าเสมอ เดี๋ยวดัง เดี๋ยวค่อย หรือบางทีเสียงเบาแผ่วมาก เหมือนหมดแรงเปล่งเสียง  อ่าน (เหมือนบ่น) อยู่ในลาคอ จึงฟังไม่รู้เรื่อง  อ่านสะดุด กระท่อนกระแท่น ไม่เป็นคา ไม่ต่อเนื่อง ไม่ถูกวรรคตอน (ทาให้ความหมายเปลี่ยน)  อ่านคาหรือวลีเดิม ซ้าหลายครั้ง โดยเฉพาะเมื่ออ่านผิด  อ่านอย่างจืดชืด ขาดอรรถรส ทาให้ไม่ชวนฟัง หรืออ่านออกเสียงเรื่อยๆเนือยๆ หรือบางกรณีก็ อ่านโดยที่ผู้อ่านเพิ่มเติมสีสันจนเกินความจาเป็น
  • 24. ปัญหาของงานอ่านที่ไม่สมบูรณ์ และเป็นปัญหาในการผลิตหนังสือเสียง  อ่านแบบไม่แน่ใจ ว่าจะอ่านว่าอย่างไร หรือจะออกเสียงอย่างไร  ขาดความเข้าใจและทักษะในการบรรยายรูปภาพ หรือไม่เห็นความจาเป็น ของการบรรยายภาพ  อ่านไม่ครบถ้วน หรือขาดความสนใจ จริงจังและรับผิดชอบในการทาหน้าที่ผู้อ่าน คิดว่าคน ตาบอดน่าจะฟังเท่านี้ ทาให้อ่านข่าวสารไม่ตรงและไม่ครบตามความต้องการของผู้ฟัง  มีเสียงรบกวนขณะบันทึก เช่น เสียงขยับไมโครโฟน เสียงเปิดหนังสือ (แรงและดัง) หรือเสียง จากสิ่งแวดล้อมบริเวณที่ทาการบันทึก เช่น เสียงหมาเห่า/หอน รถยนต์ เสียงคุยกัน เป็นต้น  เมื่อมีคาที่อ่านผิด ไม่ได้หยุดแล้วกลับมาแก้ไขโดยลบที่ผิดแล้วอ่านใหม่ แต่กลับอ่านต่อหรือ อ่านซ้า โดยมิได้แก้ไข ทาให้ข้อมูลที่ได้รับฟังผิดไปจากความจริง
  • 25. ข้อความเพื่อบันทึกใน Section 1 Format… (ชื่อหนังสือ).....(ผู้แต่ง/ประพันธ์).....ISBN........ จัดทาเป็นหนังสือเสียงในระบบเดซี NCC Only โดยห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติ เมื่อวันที่.....จานวน.....หน้า อ่านโดย................(ชื่อ-สกุล ผู้อ่าน) เช่น เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก เล่ม 4 ประพันธ์โดย ทิพย์วาณี สนิทวงศ์ฯ ISBN 974-255-609-1 จัดทาเป็นหนังสือเสียงในระบบเดซี NCC Only โดยห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติ เมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553 จานวน 240 หน้า อ่านโดย กันต์ พลสงคราม