SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
Descargar para leer sin conexión
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 ทรัพยากรเพืองานกราฟิ ก
                                                        ่
                 ใบความรู้ ที่ 2 เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับงานกราฟิ ก

        ในอดีตการสร้างภาพกราฟิ กทาได้โดยใช้ดินสอ ปากกา หมึก สี เขียนบนสื่ อ เช่น ผนังถ้ า ไม้
ไผ่ ผ้า หรื อกระดาษ แต่ในปั จจุบนคอมพิวเตอร์ เข้ามามีบทบาทสาคัญในการสร้างภาพกราฟิ ก ทาให้ได้
                                ั
ภาพกราฟิ กที่งดงามมีคุณภาพและทาได้ง่าย จะเห็นได้วา การใช้คอมพิวเตอร์ ทางานกราฟิ กเป็ นไปอย่าง
                                                 ่
กว้างขวาง เช่น การโฆษณา สิ่ งตีพิมพ์ ภาพยนตร์ เกม การออกแบบผลิตภัณฑ์ การแสดงผลข้อมูล การ
แสดงภาพทางการแพทย์
       ระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับงานกราฟิ กนั้นสามารถใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลโดย ทัวไป
                                                                                   ่
               ่                        ั
ได้ โดยมีการเพิมเติมอุปกรณ์บางประการให้กบระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อเพิม ประสิ ทธิภาพในการ
                                                                ่
ประมวลผล การนาเข้าข้อมูล การแสดงผลข้อมูลแบบกราฟิ ก ในบทนี้จะกล่าวถึงความหมายของ
                                              ่
คอมพิวเตอร์กราฟิ ก ระบบคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ตาง ๆ สาหรับงานกราฟิ ก

ความหมายของคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก

        ถ้าจะให้คาจากัดความง่าย ๆ แล้ว คอมพิวเตอร์กราฟิ ก (computer graphics) คือ การใช้
คอมพิวเตอร์สร้างภาพโดยการวาดภาพกราฟิ กหรื อนาภาพมาจากสื่ ออื่น ๆ เช่น วีดีทศน์ ภาพยนตร์ กล้อง
                                                                           ั
ถ่ายรู ป ภาพกราฟิ กเหล่านี้ประกอบด้วย เส้น สี แสง และเงาต่าง ๆ สามารถแสดงออกทางจอภาพหรื อ
พิมพ์ออกมาทางอุปกรณ์ เช่น เครื่ องพิมพ์ได้
        นอกจากนี้ยงใช้ในความหมายอื่น เช่น คอมพิวเตอร์วาดภาพซึ่งหมายถึง การใช้ซอฟต์แวร์
                  ั
เกี่ยวกับการวาดภาพสาหรับวาดภาพต่าง ๆ ในคอมพิวเตอร์ และหมายถึงวิชาเรขภาพคอมพิวเตอร์ซ่ ึงเป็ น
สาขาหนึ่งในวิชาคอมพิวเตอร์ที่เน้น การใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพ และแสดงแผนภูมิที่เกิดจากการป้ อนข้อมูล
ให้คอมพิวเตอร์
        ในการสร้างภาพด้วยคอมพิวเตอร์ น้ น มีองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น เครื่ อง
                                        ั
คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับเข้า (input device) ที่จะรับข้อมูลเข้า และอุปกรณ์ส่งออก (output device) สาหรับ
แสดงผล ซอฟต์แวร์ และบุคลากรที่จะสร้างภาพกราฟิ กขึ้นมา
                                            ่
        ปัจจุบนมีการนาไปใช้ในทุก ๆ ด้าน ไม่วาจะเป็ นทางด้านธุ รกิจ โรงงานอุตสาหกรรม งานศิลปะ
              ั
การบันเทิง งานโฆษณา การศึกษา การวิจย การฝึ กอบรม และทางการแพทย์
                                   ั
ประวัติของคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก

        ปี 1940 มีการแสดงภาพกราฟิ กโดยใช้เครื่ องพิมพ์ โดยรู ปภาพที่ได้จะเป็ นการนาตัวอักษรมา
ประกอบกัน
        ปี 1950 สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาซูเซสต์ (Massachusetts Institue Technology : MIT] ได้
พัฒนาคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหลอดภาพ CRT(Cathode Ray Tube) เป็ นส่ วนแสดงผลแทนเครื่ องพิมพ์ เนื่องจากมี
                                         ้ ั
ความต้องการที่จะให้การติดต่อระหว่างผูใช้กบเครื่ อง คอมพิวเตอร์ มีความเร็ วยิงขึ้น
                                                                            ่
        ปี 1950 ระบบ SAGE Semi - Automatic Ground Environment) ของกองทัพอากาศ สหรัฐอเมริ กา
สามารถแปลงสัญญาณจากเรดาร์ให้เป็ นภาพบนจอคอมพิวเตอร์ได้ ระบบนี้เป็ นระบบกราฟิ ก เครื่ องแรกที่ใช้
ปากกาแสง (Light Pen : เป็ นอุปกรณ์สาหรับรับข้อมูลชนิดหนึ่ง) สาหรับการเลือกสัญลักษณ์ บนจอภาพได้
        ปี 1950-1960 มีการทาวิจยเรื่ องเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ เป็ นจานวนมาก ซึ่ งต่อมาได้กลายเป็ น
                               ั
ต้นแบบของระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิ กสมัยใหม่ ตัวอย่างเช่น
        ค.ศ. 1963 วิทยานิพนธ์ปริ ญญาเอกของ อีวาน ซูเธอร์แลนด์ (Ivan Sutherland)เป็ นการพัฒนาระบบ
การวาดเส้น ซึ่ งผูใช้สามารถกาหนดจุดบนจอภาพได้โดยตรงโดยการใช้ปากกาแสง จากนั้นระบบกราฟิ กจะ
                  ้
สามารถลากเส้นเชื่อมจุดต่างๆ เหล่านี้เข้าด้วยกัน กลายเป็ นภาพโครงสร้างรู ปหลายเหลี่ยม ระบบนี้ได้
กลายเป็ นหลักการพื้นฐานของโปรแกรมช่วยในการออกแบบระบบงานต่างๆ เช่น การออกแบบระบบไฟฟ้ า
และการออกแบบเครื่ องจักร เป็ นต้น

        ระบบ หลอดภาพ CRT สมัยแรกนั้น เราสามารถวาดเส้นตรงระหว่างจุดสองจุดบนจอภาพได้ แต่
ภาพเส้นที่วาดจะจางหายไปจากจอภาพอย่างรวดเร็ ว จึงต้องมีการวาดซ้ าลงที่เดิมหลายๆ ครั้งในหนึ่งวินาที
เพื่อให้เราสามารถมองเห็นว่าเส้นไม่จางหายไป ซึ่ งระบบแบบนี้มีราคาแพงมากในช่วงต้นปี ค.ศ. 1960 แต่
ต่อมาในปี ค.ศ. 1965 จึงมีราคาถูกลงเนื่องจากบริ ษท ไอบีเอ็ม (IBM) ได้ผลิตออกมาขายเป็ นจานวนมากใน
                                                ั
ราคาเครื่ องละ 100,000 ดอลลาร์ จากการที่ราคาของจอภาพถูกลงมากนี่เอง ทาให้สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิ ก
เริ่ มเป็ นที่สนใจของคนทัวไป
                         ่

        ระบบการวาดภาพซ้าในระบบหลอดภาพ CRT

          ปี 1968 บริ ษท เทคโทรนิกส์ (Tektronix) ได้ผลิตจอภาพแบบเก็บภาพไว้ได้จนกว่าต้องการจะลบ
                       ั
(Storage - Tube CRT) ซึ่ งระบบนี้ไม่ตองการหน่วยความจาและระบบการวาดซ้ า จึงทาให้ราคาถูกลงมาก
                                      ้
บริ ษทตั้งราคาขายไว้เพียง 15,000 ดอลลาร์ เท่านั้น จอภาพแบบนี้จึงเป็ นที่นิยมกันมากในช่วงเวลา 5 ปี ต่อมา
     ั
ปี 1970 เป็ นช่วงเวลาที่อุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์ เริ่ มมีราคาลดลงมาก ทาให้ฮาร์ดแวร์ของระบบ
คอมพิวเตอร์กราฟิ กมีราคาถูกลงตามไปด้วย ผูใช้ทวไปจึงสามารถนามาใช้ในงานของตนได้ ทาให้การใช้
                                               ้ ั่
คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเริ่ มแพร่ หลายไปในงานด้านต่างๆ มากขึ้น สาหรับซอฟต์แวร์ ทางด้านกราฟิ กก็ได้มีการ
พัฒนาควบคู่มากับฮาร์ ดแวร์ เช่นกัน ซึ่ งมีการเริ่ มต้นจาก อีวาน ซูเธอร์ แลนด์ ผูซ่ ึ งได้ออกแบบวิธีการหลักๆ
                                                                                ้
รวมทั้งโครงสร้างข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก

         ต่อ มาก็มี สตีเฟน คูน (Steven Coons, 1966) และ ปิ แอร์ เบเซอร์ (Pierre Bazier , 1972) ซึ่งศึกษา
เกี่ยวกับการสร้างเส้นโค้งและภาพพื้นผิว ทาให้ปัจจุบนเราสามารถสร้างภาพ 3 มิติ ได้สมจริ งสมจังมากขึ้น
                                                    ั

        ในช่วง 10 ปี ต่อมาได้มีการพัฒนาวิธีการสร้างภาพมากมายสาหรับใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก
และปั จจุบนเราก็ได้เห็นผลงานที่สวยงามและแปลกตา ซึ่ งเป็ นผลจากการศึกษาวิจยต่างๆ ในอดีตนันเอง
          ั                                                              ั              ่


คุณลักษณะของระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับงานกราฟิ ก

         ในการสร้างงานกราฟิ กนั้นต้องการอุปกรณ์ที่มีประสิ ทธิ ภาพ โดยเฉพาะระบบคอมพิวเตอร์ซ่ ึงควร
จะมีลกษณะ (specification) ดังนี้
     ั
     1) หน่ วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) ที่ทางานเร็ว เนื่องจากโปรแกรมกราฟิ ก
ต้องการการคานวณจานวนมาก หน่วยประมวลผลกลางที่ทางานเร็ วจะทาให้การตอบสนองคาสั่งเป็ นไป
อย่างรวดเร็ ว
     2) หน่ วยความจาทีมีความจุมาก เนื่ องจากโปรแกรมกราฟิ กทางานกับข้อมูลจานวนมาก ถ้า
                      ่
หน่วยความจามีความจุนอยเกินไปโปรแกรมอาจจะทางานช้าหรื อไม่ทางานเลย
                    ้
     3) แผงวงจรแสดงผลที่มีประสิ ทธิภาพและมีหน่ วยความจาบนแผงวงจรจานวนมาก จาทาให้แสดง
ภาพได้ดวยความละเอียดสู งและมีจานวนสี มาก
       ้
     4) จอภาพทีมีความคมชั ดและมีความละเอียดสู ง จะให้ภาพที่ได้คมชัดและสั่นไหวน้อย ซึ่ งจะช่วย
               ่
รักษาสุ ขภาพทางตาของผูใช้งาน
                      ้

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Da Arsisa
 
กาน๑เบน
กาน๑เบนกาน๑เบน
กาน๑เบนKo Kan
 
ปราการ 3.3.
ปราการ 3.3.ปราการ 3.3.
ปราการ 3.3.naek123
 
สุภาภรณ์ เชื้อหนองทอน เลขที่ 39 ไชยวัฒน์ หาญผล เลขที่ 3 ม.3/1 เรื่องมายแม๊บ...
สุภาภรณ์ เชื้อหนองทอน เลขที่ 39  ไชยวัฒน์ หาญผล เลขที่ 3 ม.3/1  เรื่องมายแม๊บ...สุภาภรณ์ เชื้อหนองทอน เลขที่ 39  ไชยวัฒน์ หาญผล เลขที่ 3 ม.3/1  เรื่องมายแม๊บ...
สุภาภรณ์ เชื้อหนองทอน เลขที่ 39 ไชยวัฒน์ หาญผล เลขที่ 3 ม.3/1 เรื่องมายแม๊บ...Toon Chaiwat
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2Mevenwen Singollo
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Lorpiyanon Krittaya
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Lorpiyanon Krittaya
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)Lorpiyanon Krittaya
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Lorpiyanon Krittaya
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)Nannapatktwrps
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Nannapatktwrps
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Lorpiyanon Krittaya
 
งานๆๆๆๆๆ
งานๆๆๆๆๆงานๆๆๆๆๆ
งานๆๆๆๆๆPa'kane C'ning
 

La actualidad más candente (16)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Ppp.
Ppp.Ppp.
Ppp.
 
กาน๑เบน
กาน๑เบนกาน๑เบน
กาน๑เบน
 
ปราการ 3.3.
ปราการ 3.3.ปราการ 3.3.
ปราการ 3.3.
 
สุภาภรณ์ เชื้อหนองทอน เลขที่ 39 ไชยวัฒน์ หาญผล เลขที่ 3 ม.3/1 เรื่องมายแม๊บ...
สุภาภรณ์ เชื้อหนองทอน เลขที่ 39  ไชยวัฒน์ หาญผล เลขที่ 3 ม.3/1  เรื่องมายแม๊บ...สุภาภรณ์ เชื้อหนองทอน เลขที่ 39  ไชยวัฒน์ หาญผล เลขที่ 3 ม.3/1  เรื่องมายแม๊บ...
สุภาภรณ์ เชื้อหนองทอน เลขที่ 39 ไชยวัฒน์ หาญผล เลขที่ 3 ม.3/1 เรื่องมายแม๊บ...
 
Mindmap2graphic
Mindmap2graphicMindmap2graphic
Mindmap2graphic
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์(PDF)
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
งานๆๆๆๆๆ
งานๆๆๆๆๆงานๆๆๆๆๆ
งานๆๆๆๆๆ
 

Similar a ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกjibbie23
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกprimpatcha
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกprimpatcha
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
งานนำเสนอนะ
งานนำเสนอนะงานนำเสนอนะ
งานนำเสนอนะjongjang
 
งานนำเสนอนะจ๊ะ
งานนำเสนอนะจ๊ะงานนำเสนอนะจ๊ะ
งานนำเสนอนะจ๊ะjongjang
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์Tay Chaloeykrai
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 

Similar a ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก (20)

ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกการสอนครั้งที่ 2   intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
การสอนครั้งที่ 2 intro ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
 
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิกการจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
การจัดห้องปฏิบัติการกราฟิก
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
งานนำเสนอนะ
งานนำเสนอนะงานนำเสนอนะ
งานนำเสนอนะ
 
งานนำเสนอนะจ๊ะ
งานนำเสนอนะจ๊ะงานนำเสนอนะจ๊ะ
งานนำเสนอนะจ๊ะ
 
Storyboard
StoryboardStoryboard
Storyboard
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
08
0808
08
 

Más de วาสนา ใจสุยะ (6)

ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
๊Unit1
๊Unit1๊Unit1
๊Unit1
 

ใบความรุ้ที่ 2ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก

  • 1. หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 ทรัพยากรเพืองานกราฟิ ก ่ ใบความรู้ ที่ 2 เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับงานกราฟิ ก ในอดีตการสร้างภาพกราฟิ กทาได้โดยใช้ดินสอ ปากกา หมึก สี เขียนบนสื่ อ เช่น ผนังถ้ า ไม้ ไผ่ ผ้า หรื อกระดาษ แต่ในปั จจุบนคอมพิวเตอร์ เข้ามามีบทบาทสาคัญในการสร้างภาพกราฟิ ก ทาให้ได้ ั ภาพกราฟิ กที่งดงามมีคุณภาพและทาได้ง่าย จะเห็นได้วา การใช้คอมพิวเตอร์ ทางานกราฟิ กเป็ นไปอย่าง ่ กว้างขวาง เช่น การโฆษณา สิ่ งตีพิมพ์ ภาพยนตร์ เกม การออกแบบผลิตภัณฑ์ การแสดงผลข้อมูล การ แสดงภาพทางการแพทย์ ระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับงานกราฟิ กนั้นสามารถใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลโดย ทัวไป ่ ่ ั ได้ โดยมีการเพิมเติมอุปกรณ์บางประการให้กบระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อเพิม ประสิ ทธิภาพในการ ่ ประมวลผล การนาเข้าข้อมูล การแสดงผลข้อมูลแบบกราฟิ ก ในบทนี้จะกล่าวถึงความหมายของ ่ คอมพิวเตอร์กราฟิ ก ระบบคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ตาง ๆ สาหรับงานกราฟิ ก ความหมายของคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก ถ้าจะให้คาจากัดความง่าย ๆ แล้ว คอมพิวเตอร์กราฟิ ก (computer graphics) คือ การใช้ คอมพิวเตอร์สร้างภาพโดยการวาดภาพกราฟิ กหรื อนาภาพมาจากสื่ ออื่น ๆ เช่น วีดีทศน์ ภาพยนตร์ กล้อง ั ถ่ายรู ป ภาพกราฟิ กเหล่านี้ประกอบด้วย เส้น สี แสง และเงาต่าง ๆ สามารถแสดงออกทางจอภาพหรื อ พิมพ์ออกมาทางอุปกรณ์ เช่น เครื่ องพิมพ์ได้ นอกจากนี้ยงใช้ในความหมายอื่น เช่น คอมพิวเตอร์วาดภาพซึ่งหมายถึง การใช้ซอฟต์แวร์ ั เกี่ยวกับการวาดภาพสาหรับวาดภาพต่าง ๆ ในคอมพิวเตอร์ และหมายถึงวิชาเรขภาพคอมพิวเตอร์ซ่ ึงเป็ น สาขาหนึ่งในวิชาคอมพิวเตอร์ที่เน้น การใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพ และแสดงแผนภูมิที่เกิดจากการป้ อนข้อมูล ให้คอมพิวเตอร์ ในการสร้างภาพด้วยคอมพิวเตอร์ น้ น มีองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น เครื่ อง ั คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับเข้า (input device) ที่จะรับข้อมูลเข้า และอุปกรณ์ส่งออก (output device) สาหรับ แสดงผล ซอฟต์แวร์ และบุคลากรที่จะสร้างภาพกราฟิ กขึ้นมา ่ ปัจจุบนมีการนาไปใช้ในทุก ๆ ด้าน ไม่วาจะเป็ นทางด้านธุ รกิจ โรงงานอุตสาหกรรม งานศิลปะ ั การบันเทิง งานโฆษณา การศึกษา การวิจย การฝึ กอบรม และทางการแพทย์ ั
  • 2. ประวัติของคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก ปี 1940 มีการแสดงภาพกราฟิ กโดยใช้เครื่ องพิมพ์ โดยรู ปภาพที่ได้จะเป็ นการนาตัวอักษรมา ประกอบกัน ปี 1950 สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาซูเซสต์ (Massachusetts Institue Technology : MIT] ได้ พัฒนาคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหลอดภาพ CRT(Cathode Ray Tube) เป็ นส่ วนแสดงผลแทนเครื่ องพิมพ์ เนื่องจากมี ้ ั ความต้องการที่จะให้การติดต่อระหว่างผูใช้กบเครื่ อง คอมพิวเตอร์ มีความเร็ วยิงขึ้น ่ ปี 1950 ระบบ SAGE Semi - Automatic Ground Environment) ของกองทัพอากาศ สหรัฐอเมริ กา สามารถแปลงสัญญาณจากเรดาร์ให้เป็ นภาพบนจอคอมพิวเตอร์ได้ ระบบนี้เป็ นระบบกราฟิ ก เครื่ องแรกที่ใช้ ปากกาแสง (Light Pen : เป็ นอุปกรณ์สาหรับรับข้อมูลชนิดหนึ่ง) สาหรับการเลือกสัญลักษณ์ บนจอภาพได้ ปี 1950-1960 มีการทาวิจยเรื่ องเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ เป็ นจานวนมาก ซึ่ งต่อมาได้กลายเป็ น ั ต้นแบบของระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิ กสมัยใหม่ ตัวอย่างเช่น ค.ศ. 1963 วิทยานิพนธ์ปริ ญญาเอกของ อีวาน ซูเธอร์แลนด์ (Ivan Sutherland)เป็ นการพัฒนาระบบ การวาดเส้น ซึ่ งผูใช้สามารถกาหนดจุดบนจอภาพได้โดยตรงโดยการใช้ปากกาแสง จากนั้นระบบกราฟิ กจะ ้ สามารถลากเส้นเชื่อมจุดต่างๆ เหล่านี้เข้าด้วยกัน กลายเป็ นภาพโครงสร้างรู ปหลายเหลี่ยม ระบบนี้ได้ กลายเป็ นหลักการพื้นฐานของโปรแกรมช่วยในการออกแบบระบบงานต่างๆ เช่น การออกแบบระบบไฟฟ้ า และการออกแบบเครื่ องจักร เป็ นต้น ระบบ หลอดภาพ CRT สมัยแรกนั้น เราสามารถวาดเส้นตรงระหว่างจุดสองจุดบนจอภาพได้ แต่ ภาพเส้นที่วาดจะจางหายไปจากจอภาพอย่างรวดเร็ ว จึงต้องมีการวาดซ้ าลงที่เดิมหลายๆ ครั้งในหนึ่งวินาที เพื่อให้เราสามารถมองเห็นว่าเส้นไม่จางหายไป ซึ่ งระบบแบบนี้มีราคาแพงมากในช่วงต้นปี ค.ศ. 1960 แต่ ต่อมาในปี ค.ศ. 1965 จึงมีราคาถูกลงเนื่องจากบริ ษท ไอบีเอ็ม (IBM) ได้ผลิตออกมาขายเป็ นจานวนมากใน ั ราคาเครื่ องละ 100,000 ดอลลาร์ จากการที่ราคาของจอภาพถูกลงมากนี่เอง ทาให้สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิ ก เริ่ มเป็ นที่สนใจของคนทัวไป ่ ระบบการวาดภาพซ้าในระบบหลอดภาพ CRT ปี 1968 บริ ษท เทคโทรนิกส์ (Tektronix) ได้ผลิตจอภาพแบบเก็บภาพไว้ได้จนกว่าต้องการจะลบ ั (Storage - Tube CRT) ซึ่ งระบบนี้ไม่ตองการหน่วยความจาและระบบการวาดซ้ า จึงทาให้ราคาถูกลงมาก ้ บริ ษทตั้งราคาขายไว้เพียง 15,000 ดอลลาร์ เท่านั้น จอภาพแบบนี้จึงเป็ นที่นิยมกันมากในช่วงเวลา 5 ปี ต่อมา ั
  • 3. ปี 1970 เป็ นช่วงเวลาที่อุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์ เริ่ มมีราคาลดลงมาก ทาให้ฮาร์ดแวร์ของระบบ คอมพิวเตอร์กราฟิ กมีราคาถูกลงตามไปด้วย ผูใช้ทวไปจึงสามารถนามาใช้ในงานของตนได้ ทาให้การใช้ ้ ั่ คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเริ่ มแพร่ หลายไปในงานด้านต่างๆ มากขึ้น สาหรับซอฟต์แวร์ ทางด้านกราฟิ กก็ได้มีการ พัฒนาควบคู่มากับฮาร์ ดแวร์ เช่นกัน ซึ่ งมีการเริ่ มต้นจาก อีวาน ซูเธอร์ แลนด์ ผูซ่ ึ งได้ออกแบบวิธีการหลักๆ ้ รวมทั้งโครงสร้างข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก ต่อ มาก็มี สตีเฟน คูน (Steven Coons, 1966) และ ปิ แอร์ เบเซอร์ (Pierre Bazier , 1972) ซึ่งศึกษา เกี่ยวกับการสร้างเส้นโค้งและภาพพื้นผิว ทาให้ปัจจุบนเราสามารถสร้างภาพ 3 มิติ ได้สมจริ งสมจังมากขึ้น ั ในช่วง 10 ปี ต่อมาได้มีการพัฒนาวิธีการสร้างภาพมากมายสาหรับใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก และปั จจุบนเราก็ได้เห็นผลงานที่สวยงามและแปลกตา ซึ่ งเป็ นผลจากการศึกษาวิจยต่างๆ ในอดีตนันเอง ั ั ่ คุณลักษณะของระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับงานกราฟิ ก ในการสร้างงานกราฟิ กนั้นต้องการอุปกรณ์ที่มีประสิ ทธิ ภาพ โดยเฉพาะระบบคอมพิวเตอร์ซ่ ึงควร จะมีลกษณะ (specification) ดังนี้ ั 1) หน่ วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) ที่ทางานเร็ว เนื่องจากโปรแกรมกราฟิ ก ต้องการการคานวณจานวนมาก หน่วยประมวลผลกลางที่ทางานเร็ วจะทาให้การตอบสนองคาสั่งเป็ นไป อย่างรวดเร็ ว 2) หน่ วยความจาทีมีความจุมาก เนื่ องจากโปรแกรมกราฟิ กทางานกับข้อมูลจานวนมาก ถ้า ่ หน่วยความจามีความจุนอยเกินไปโปรแกรมอาจจะทางานช้าหรื อไม่ทางานเลย ้ 3) แผงวงจรแสดงผลที่มีประสิ ทธิภาพและมีหน่ วยความจาบนแผงวงจรจานวนมาก จาทาให้แสดง ภาพได้ดวยความละเอียดสู งและมีจานวนสี มาก ้ 4) จอภาพทีมีความคมชั ดและมีความละเอียดสู ง จะให้ภาพที่ได้คมชัดและสั่นไหวน้อย ซึ่ งจะช่วย ่ รักษาสุ ขภาพทางตาของผูใช้งาน ้